การมีกิจกรรมทางกายและสุขภาพ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โทร. ๐-๔๕๗๙-๕๐๖๑ “ สุขภาพดีวิถีไทย สมุนไพร ได้มาตรฐาน บริการประทับใจ”
Advertisements

นักวิทยาศาสตร์การกีฬา ศูนย์อนามัยที่ 5 นครราชสีมา
การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
GT-1 ENGINE TREATMENT หัวเชื้อสารเพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์ จีที-วัน
บทที่ 1 การรวมธุรกิจ.
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
การคัดเลือกพื้นที่เพื่อการพัฒนาสถานบริการสาธารณสุข ในชายแดนชนบท
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
อิทธิพลของการเกิดฮอร์โมนเพศ
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
นาฏมวยไทย นาฏมวยไทยโครงการ นี้จัดทำขึ้นเพื่อพัฒนาน้อง กลุ่มเสี่ยง ในด้านความรุนแรง การติดเกมส์ นำมาพัฒนา เป็น นักแสดง ในรูปแบบ กิจกรรม นาฏมวยไทย และยังสามารถพัฒนา.
โครเมี่ยม (Cr).
การแต่งกายประดับ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ไทย
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
องุ่น สตอ เบอร์รี่ เชอร์รี่ แอปเปิ้ล แดง แอปเปิ้ล ชมพู แอปเปิ้ล เขียว แอปเปิ้ล เหลือง โกโก้ บลูเบอร์รี่ ส้มเขียวหวาน ส้มมะปิด ( ส้มจิ๊ด ) สับปะรด แตงโม.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่อง การบริหารร่างกายระหว่างการ ทำงาน เพื่อยืดและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
นางสาวศิวพร แพทย์ขิม เอกสุขศึกษา กศ. บ. คณะพลศึกษา.
2. สมรรถภาพทางกายเสื่อม
สมัยกลาง (EARLY MEDIVAL)
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
การจัดพลังงานโดยการควบคุมพลังไฟฟ้า
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การอนุรักษ์พลังงานในระบบอัดอากาศ
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
ความต้องการพลังงานของร่างกาย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
การวิเคราะห์องค์กร รู้จักตนเอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แผ่นดินไหว.
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
เสียงในภาษา วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ครูกิ่งกาญจน์ สมจิตต์
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
บทที่ ๑ การพูดและการนำสนอเพื่องานนิเทศศาสตร์
ภูมิศาสตร์การท่องเที่ยว
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
อวัยวะที่ใช้ในการออกเสียง
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
งานสังคมครั้งที 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน โดย น.ส.อธิชา ฤทธิ์เจริญ ม.4 MEP-A เลขที่ 21.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
ด้วยตัวเอง โดยใช้แรงต้าน
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ทายสิอะไรเอ่ย ? กลม เขียวเปรี้ยว เฉลย ทายสิอะไรเอ่ย ? ขาว มันจืด เฉลย.
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
หน้าที่ของ - ไนโตรเจน (เอ็น) - ฟอสฟอรัส (พี) - โพแทสเซียม (เค)
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การมีกิจกรรมทางกายและสุขภาพ โดย สุพิชชา วงศ์อนุการ

กิจกรรมทางกาย (Physical Activity) การเคลื่อนไหวร่างกายที่เกิดจากการ ทำงานของกล้ามเนื้อลายทำให้มีการ เผาผลาญพลังงานเพิ่มขึ้นจากภาวะปกติ หฟกฟหกฟหก

ประโยชน์ของการมีกิจกรรมทางกาย ลดความเสี่ยงของการเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือด ลดความเสี่ยงจากการเป็นโรคเบาหวาน และช่วยส่งเสริมสุขภาพผู้ที่เป็นเบาหวาน ลดความเสี่ยงจากการเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดความเสี่ยงจากการเป็นโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่

ทำให้กล้ามเนื้อและข้อต่อ เอ็นมีความยืดหยุ่น แข็งแรง และคล่องแคล่ว ลดความวิตกกังวล และอารมณ์ซึมเศร้า ควบคุมน้ำหนัก อารมณ์ และจิตใจที่สบายแจ่มใส

การเคลื่อนไหวร่างกาย การทำงานอาชีพ การเคลื่อนไหวในเวลาว่าง การเดินทาง กิจกรรมนันทนาการ การแข่งขันกีฬา การฝึกฝนออกกำลังกาย

ข้อแนะนำสำหรับการมีกิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาพ PA ควมหนักปานกลาง สะสมอย่างน้อยวันละ 30 นาที หรือ 150 นาที / สัปดาห์ อย่างน้อย 5 วัน) หรือใช้พลังงานประมาณ 1,000 แคลอรี่ต่อสัปดาห์ (150 – 200 Kcalต่อวัน) OR PA ระดับหนัก 75 นาที / สัปดาห์ อย่างน้อย 2 – 3 วันต่อสัปดาห์

ความหนักแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ระดับเบา : การทำกิจกรรมที่น้อยกว่า 3 MET หรือ < 3.5 kcal /นาที เช่น การเดินช้า ยืน ยืดเหยียดกล้ามเนื้อ

ความหนักแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ระดับปานกลาง - การมี PA ที่ระดับการเดินค่อนข้างเร็ว หรือ - ประมาณ 65 – 75 % MHR หรือ - มี PA มีกิจกรรม 3 – 6 MET หรือ 3.5 – 7.0 kcal / นาที เช่น การเดินลงบันได การว่ายน้ำเล่น

ความหนักแบ่งออกเป็น 3 ระดับ ระดับหนัก : การมี PA ที่มีระดับความหนักตั้งแต่ร้อยละ 75 % MHR หรือ มี PA มากกว่า 6 MET หรือ 7 kcal / min เช่น High impact aerobic dance

1. อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด ประเมินความหนัก 1. อัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด 2. การประเมินจาก MET 3. การประเมินจากการพูด 4. ประเมินจาก RPE

Exercise intensities intensity HRR(%) HRmax(%) RPE Very light <20 <50 <10 light 20-39 50-63 10-11 moderate 40-59 64-76 12-13 hard 60-84 77-93 14-16 Very hard ≥85 ≥94 17-19 maximal 100 20

HRmax = 220 – age(years) HRR = HRmax – Resting HR

HR Percent HRmax method target HR = (intensity fraction) (HR max) Percent HRR method (Karvonen method) target HR = (intensity fraction) (HR max-HR REST)+HR rest

HR A 50 yrs, RHR 70 times/min Exercise 40 – 50 % HRmax THR = % (HRmax – Resting HR ) + Resting HR HRmax = 220 – 70 Target HR = (70+40)-(70+50) = 110-120 times/min

RATING PERCEIVED EXERTION (RPE) 6 7 รู้สึกสบาย 8 9 ไม่เหนื่อย 10 เริ่มรู้สึกเหนื่อย 12 ค่อนข้างเหนื่อย เหนื่อย เหนื่อยมาก เหนื่อยที่สุด

METs หน่วยของพลังงานที่ใช้ในมีกิจกรรมทางกาย โดยเปรียบเทียบกับพลังงานที่ใช้ในขณะพักซึ่ง กำหนดให้มีค่าเท่ากับ 1 MET = 1 Kcal / kg / hr

กิจกรรม๑๕๐ แคลอรี่ต่อครั้ง

กิจกรรม๑๕๐ แคลอรี่ต่อครั้ง

กิจกรรม๑๕๐ แคลอรี่ต่อครั้ง

เทียบเท่า เดินวันละ ๑๐,๐๐๐ ก้าว เดินขึ้นบันไดวันละ ๕ เที่ยว เที่ยวละ ๕ ชั้น

การใช้พลังงานของการเดิน ปริมาณพลังงานที่เผาผลาญต่อระยะเวลา 10 นาที ของการเดิน

ตารางการใช้พลังงาน ปริมาณพลังงานที่เผาผลาญต่อระยะเวลา 10 นาที ของกิจกรรม

ตารางการใช้พลังงาน ปริมาณพลังงานที่เผาผลาญต่อระยะเวลา 10 นาที ของกิจกรรม

ตารางการใช้พลังงาน ปริมาณพลังงานที่เผาผลาญต่อระยะเวลา 10 นาที ของกิจกรรม

ตารางการใช้พลังงาน ปริมาณพลังงานที่เผาผลาญต่อระยะเวลา 10 นาที ของกิจกรรม

การออกกำลังกายมี ๓ ประเภท ฝึกความอดทน ฝึกความแข็งแรง ๓. ฝึกความยืดหยุ่น (อ่อนตัว)

ฝึกความอดทน เพื่อพัฒนาสุขภาพ และสมรรถภาพของหัวใจ และปอด ฝึกความแข็งแรง และอดทนของกล้ามเนื้อ ฝึกความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อ และข้อต่อ

เพื่อสุขภาพหรือป้องกันโรคของหัวใจ และปอด เน้นปริมาณ กิจกรรม - การเคลื่อนไหวร่างกายทุกประเภท ความหนัก - เหนื่อยกำลังดี 65- 75 % ของ MHR หรือใช้พลังงาน ๑๕๐ แคลอรี่ต่อครั้ง ความบ่อย - ทุกวัน หรืออย่างน้อย ๕ วันต่อสัปดาห์ ความนาน - สะสมให้ได้อย่างน้อย ๓๐ นาทีต่อวันเป็นช่วง ๆ ช่วงละ ๑๐ นาทีได้

เพื่อสมรรถภาพของหัวใจและปอด (ออกกำลังกายแบบแอโรบิก) เน้นความหนัก/ความแรง กิจกรรม - เคลื่อนไหวร่างกายต่อเนื่องเป็นจังหวะซ้ำ ๆ ของ แขน ขา ลำตัว ความหนัก - ๖๐ – ๙๐ % ของอัตราการเต้นของหัวใจสูงสุด ความบ่อย - ๓ – ๕ วันต่อสัปดาห์ ความนาน - อย่างน้อย ๒๐ นาทีต่อวัน

เพื่อความแข็งแรง และอดทนของกล้ามเนื้อ กิจกรรม - ออกแรงต้านแบบเคลื่อนที่ ประมาณ ๘ - ๑๐ เท่า ความหนัก - น้ำหนักตนเอง หรือน้ำหนักภายนอก ปานกลาง (๕๐ – ๖๙ %ของน้ำหนักสูงสุดที่ยกได้) จำนวนชุดและครั้ง - ท่าละ 3 ชุด ยกขึ้นลง ชุดละ ๘ – ๑๒ ครั้ง ความบ่อย - ๒ – ๓ วันต่อสัปดาห์ ระยะเวลา - ๒๐ – ๓๐ นาทีต่อวัน

ถ้าเป็นไปได้การฝึกยกน้ำหนัก ควรฝึกกับผู้รู้ ฝึกกล้ามเนื้อใหญ่ก่อน แล้วไปเล็ก ฝึกสลับระหว่างกล้ามเนื้อส่วนบน ส่วนล่าง และลำตัว หยุดพักผ่อนอย่างน้อย ๑ วัน อย่ากลั้นหายใจ ให้หายใจเข้า - ออกปกติ

เพื่อความยืดหยุ่นของกล้ามเนื้อและข้อต่อ กิจกรรม - ยืดเหยียดกล้ามเนื้อแบบหยุดค้างไว้ จำนวนท่า - ๑๐ – ๑๒ ท่า จำนวนชุดและครั้ง - อย่างน้อย ๔ ครั้งต่อท่า ระยะเวลาเหยียดค้างไว้ - ๑๐ – ๓๐ วินาที ความหนัก - ยืดเหยียดจนถึงจุดที่รู้สึกว่าตึง หรือหนักแต่ไม่เจ็บ ความบ่อย - ๓ – ๗ วันต่อสัปดาห์ ระยะเวลา - ๑๕ – ๓๐ นาทีต่อวัน

อบอุ่นร่างกายก่อน ทำแบบนุ่มนวล และค่อย ๆ เพิ่มขึ้น อย่ากระตุก หรือกระชาก หลีกเลี่ยงบริเวณข้อที่บวม หรือเข้าเฝือก หรืออ่อนแรง อย่ากลั้นหายใจ ให้หายใจเข้า – ออกตามปกติช้า ๆ และผ่อนคลาย

ยืดเหยียดกล้ามเนื้อคอ

ยืดเหยียดกล้ามเนื้อหลัง ยืดเหยียดกล้ามเนื้อน่อง

หลักการพื้นฐานของการออกกำลังกาย อบอุ่นร่างกาย ๓ – ๕ นาที เสริมด้วยยืดเหยียด ออกกำลังกายแบบแอโรบิก หรือฝึกความแข็งแรง ผ่อนหยุด ๓ – ๕ นาที เสริมด้วยยืดเหยียด

เคลื่อนไหวดีกว่าไม่เคลื่อนไหว เคลื่อนไหวมากขึ้น ยิ่งได้รับประโยชน์เพิ่มพูน ไม่จำเป็นต้องหนัก เพียงแค่ปานกลางก็พอเพียง ไม่มีวิธีการออกกำลังประเภทเดียวที่จะให้ประโยชน์ครบถ้วน ออกกำลังให้หลากหลายเพื่อกล้ามเนื้อทุกมัดได้ใช้งาน