การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนโครงร่างวิจัย
Advertisements

แบบจำลองฐานข้อมูล คือ เครื่องมือในเชิงแนวคิดที่ใช้ในการอธิบาย ข้อมูล
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
Click Here Click Here. หน้าแรก รายละเอียด LINK Microsoft Word Microsoft Word โปรแกรมการพิมพ์ เอกสาร จดหมายที่มีผู้ใช้งานมากที่สุดใน โลก ! ผมคิดว่ายังงั้น.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
สมาชิกกลุ่ม นายจตุพร ร้องเสียง เลขที่ 5 นายณัฐวัฒน์ เทพวรรณ์ เลขที่ 8
Pro/Desktop.
และสร้างเว็บไซต์ประเภทCMS
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
เรื่อง หลักการเขียนโปรแกรม เบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
ยินดีต้อนรับผู้เข้าอบรมการพัฒนาเว็บไซต์ สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม.
Adaptive Software Development. วงจรชีวิตของการพัฒนาซอฟแวร์ หรือ Software Development Life Cycle (SDLC) เป็นโครง ร่างหรือแนวทางวิธีการ เพื่อใช้ทำความเข้าใจและเพื่อ.
จัดทำโดย นางสาว อุศนันท์หาดรื่น ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีการศึกษา 2557.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
เนื่องจากในปัจจุบันโลกของเรา พืชเป็นสิ่งมีชีวิตที่มี หลากหลายชนิดหลากหลายแบบและมีการทำมาเพาะปลูกทั้ง การเพาะปลูกเพื่อบริโภค การเพาะปลูกเพื่อความสวยงาม.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
Project Management by Gantt Chart & PERT Diagram
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
Introduction to VB2010 EXPRESS
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
Basic Java Programming
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
โครงสร้างภาษา C Arduino
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 12 : การประพันธ์สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia Authoring) สธ212 ระบบสื่อประสมสำหรับธุรกิจ อาจารย์อภิพงศ์
บทที่ 3 การสร้างเว็บไซต์ และการปรับคุณสมบัติของเว็บเพจ
Basic Input Output System
Android Programming Getting Start Prawit Pimpisan Computer Science
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
Chapter 3 Executive Information Systems : EIS
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 5 ภาษาสคริปต์ ที่ใช้สำหรับการผลิตระบบการสอนบนเครือข่าย
ระบบการจัดการคลินิกครบวงจร
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
Object-Oriented Programming Paradigm
Chapter 1 ความรู้เบื้องต้นในเทคโนโลยีอินเตอร์เน็ต Edit
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด
คุณสมบัติเชิงวัตถุ Chapter 6 Edit
บทที่ 9 การใช้โปรแกรมสำเร็จรูป ในการสร้างโลกเสมือนเพื่อการเรียนรู้ “Opensimulator” อาจารย์เทพยพงษ์ เศษคึมบง สาขาวิชาเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา.
ใบความรู้ที่ 5 เรื่อง การเขียน บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
การขอโครงการวิจัย.
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
การเขียนภาษาจาวาเบื้องต้น
SMS News Distribute Service
ผู้ช่วยศาสตราจารย์จุฑาวุฒิ จันทรมาลี
หน่วยการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน เรื่อง โครงสร้างพื้นฐาน HTML 5 รหัส รายวิชา ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (Computer Programming)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
Chapter 10 Exception Handling
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ แบบภาษาเชิงวัตถุ
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด Open Standard System Chapter 1 Edit 10-2016 Asst. Prof. Juthawut Chantharamalee Computer Science @ Suan Dusit University ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts

บทนำ การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด (Open Standard) - ความรู้พื้นฐานการเขียนโปรแกรมภาษาจาวาระดับพื้นฐาน - การติดตั้ง - การเตรียมใช้งานภาษาจาวา - การคอมไพล์ - การรันจาวาแอปพลิเคชัน

บทนำ การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด (Open Standard) - บทบาทของจาวาเวอร์ชวลแมชชิน (Java Virtual Machin) - การใช้เอกสารเพื่อการบันทึกและช่วยเหลือ (API Docs) - รูปแบบการเขียนภาษาจาวา (Syntax) - การใช้การควบคุมด้วยภาษาแบบต่างๆ - การใช้ภาษาจาวาในกรอบการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ (Object Oriented Programming)

บทนำ การเขียนโปรแกรมบนมาตรฐานเปิด (Open Standard) - การสร้างแพ็คเกจ (Package) - คลาส (Class) แบบต่างๆ เช่น Abstract Class Interface Class - การประกาศคุณสมบัติ (Properties) และเมธอด (Method) - การควบคุมการเกิดข้อผิดพลาด (Exception and Handle run time error) - การใช้งานอินพุต-เอาต์พุตคลาส (I/O Class)

ความเป็นมาและนิยามของระบบมาตรฐานเปิด ระบบมาตรฐานเปิด (Open Standard System) คือ กฎและข้อกำหนดซึ่งรวบรวมคำอธิบายคุณลักษณะของการออกแบบหรือการดำเนินงานของโปรแกรมหรืออุปกรณ์ที่นำไปแสดงผล หรือเพื่อการเผยแพร่ ทำให้ผู้นำไปใช้หรือกลุ่มผู้นำไปใช้มีความอิสระในการนำไปใช้ เช่น ภาษาจาวา (Java Programming Language)

การกำหนดสภาพแวดล้อมในการใช้งานภาษาจาวา 1. เอดิเตอร์ มีหลายโปรแกรมให้เลือกใช้ เช่น 1. โปรแกรมโน๊ตแพ็ด (Notepad) 2. เอดิเตอร์อีคลิปส์ (Eclipse) 2. Java Development Kit (JDK)

การดาว์นโหลดและติดตั้ง Java Development Kit (JDK)

การดาว์นโหลดและติดตั้ง Java Development Kit (JDK) Java Development Kit (JDK) คือ ชุดเครื่องมือที่ใช้ในการพัฒนาภาษาจาวา ประกอบด้วย Java compiler, Java doc และ Java interpreter/Java VM นอกจากนี้จะประกอบด้วย 1. Java SE (Standard Edition) สำหรับพัฒนาโปรแกรมบนคอมพิวเตอร์เดสก์ทอปทั่วไป 2. Java ME (Micro Edition) สำหรับพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์พกพา 3. Java EE (Enterprise Edition) สำหรับพัฒนาโปรแกรมในองค์กรใหญ่ๆ

การดาว์นโหลดและติดตั้งเอดิเตอร์ อีคลิปส์ (Eclipse)

หลักการทำงานพื้นฐานของภาษาจาวา ภาษาจาวา เป็นภาษาที่มีหลักการทำงานที่สามารถนำไปใช้ได้กับทุกระบบปฏิบัติการ หรือ Write-one Run-Anywhere หากระบบปฏิบัติการนั้นๆ มีส่วนของ JVM (Java Virtual Machine) ซึ่งทำหน้าที่ตีความหมายเป็น Native-Code ที่ทำให้ CPU บนระบบปฏิบัติการต่างๆ สามารถทำการประมวลผลได้

การติดตั้งเอติเตอร์อีคลิปส์ อีคลิปส์ (Eclipse) เป็นตัวเอดิเตอร์แบบเฟรมเวิร์ค เป็นเครื่องมือสำหรับเขียนโปรแกรม การคอมไพล์โปรแกรมและสั่งให้โปรแกรมทำงาน (run) ได้ และยังติดตั้งเครื่องมือเสริมได้หลายชนิดตามจุดประสงค์ที่แตกต่างกันของผู้ใช้งาน -Java Development Kit (JDK)/ Java Runtime Envelopment (JRE) เป็นสภาพแวดล้อมที่ต้องมีในการรันเอดิเตอร์ -Java Virtual Machine Kit (JVM) เพื่อให้สามารถเอกซิคิวส์โปรแกรมที่พัฒนาจากภาษาจาวาได้

การติดตั้งเอติเตอร์อีคลิปส์

การติดตั้งเอติเตอร์อีคลิปส์ สภาพแวดล้อมต่างๆ ของอีคลิปส์ (Eclipse) ประกอบด้วย - การกำหนดเส้นทาง (Path) - การกำหนดพื้นที่ทำงาน (Workspace) - ดูลักษณะความสามารถ (Overview) - สอนการใช้งาน (Tutorial) - ตัวอย่าง (Example) - สิ่งใหม่ของโปรแกรม (What’s New?)

การติดตั้งเอติเตอร์อีคลิปส์ การกำหนดพื้นที่การทำงาน

การแบ่งหน้าจอหลักตามมุมมองของโปรเจคที่ต้องการพัฒนาโดยการกำหนด มุมมองโดยเลือกที่ Windows-> Open Perspective แล้วเลือกมุมมองการกำหนดพื้นที่ได้เอง แต่ในที่นี้จะพบมุมมองที่ระบบกำหนดให้เป็น Java EE ซึ่งเป็นมุมมองกำหนดเริ่มต้น แสดงมุมมอง Java EE

สร้างโปรเจค (Project) การสร้างโปรเจค (Project) คือ การกำหนดค่าเชื่อมโยงแฟ้มต่างๆ ภายในโปรเจคที่กำหนดโดยมีการรวบรวมทั้งแพ็คเกจ (Package) แฟ้มต้นฉบับ (.java) รวมถึงแฟ้มที่ทำการคอมไพล์แล้ว (.class) แต่ส่วนนี้ระบบจะซ่อนไว้ไม่ปรากฏให้เห็นโครงสร้างของโปรเจคดังตัวอย่างเลือก File->New->Java Project หลังจากนั้นจะพบชื่อโปรเจคที่กำหนดขึ้นเป็นระดับชั้นแรก (Top Hierarchy) โดยจะปรากฏ src รวมทั้ง JRE Library เป็นโครงสร้างภายใต้โปรเจคทำให้สามารถใช้รันโปรแกรมได้ดังรูป

แสดงโครงสร้างหลังจากมีการกำหนดชื่อโปรเจค

สร้างโครงสร้างแพ็คเกจ (Package) การสร้างแพ็คเกจ (Package)โดยการคลิกเลือก src คลิกขวา (Right Click)-> Package แล้วกำหนดชื่อโดยการใส่จุดขั้นระหว่างชื่อ ซึ่งในความเป็นจริงแล้วก็คือ แหล่งที่เก็บแฟ้ม .java ในโฟลเดอร์ที่เป็นสัดส่วนเพื่อความสะดวกในการจัดโครงสร้างให้เป็นระบบ

แสดงโครงสร้างของแพ็คเกจที่กำหนดโดยผู้พัฒนาโปรแกรม

หน้าจอแสดงการสร้างคลาสจากอีคลิปส์ สร้างคลาส (Class) หลังจากกำหนดโครงสร้างแล้วจะทำการคลิกเลือก src คลิกขวา (Right Click)-> Package ที่กำหนดชื่อคลาส (.java) ดังรูป ในที่นี้จะกำหนด Modifier และส่วนต่างๆ ดังรูป หน้าจอแสดงการสร้างคลาสจากอีคลิปส์

แสดงผลการสร้างคลาส Hello World

แสดงผลลัพธ์การรันโปรแกรม

แสดงภาพรวมของเอดิเตอร์อีคลิปส์

การเขียนและแก้ไขข้อผิดพลาดเบื้องต้น เอดิเตอร์อีคลิปส์นั้นสามารถตรวจสอบกฎและข้อผิดพลาดได้เป็นอย่างดี - หากสิ่งใดผิดพลาดตามหลักสากล (Warning) จะมีเส้นใต้สีเหลืองขีดบริเวณที่ผิดพลาดนั้น โดยที่โปรแกรมยังคงทำงานได้แต่หากสิ่งใดผิดที่ร้ายแรง (Error) จะมีเส้นใต้สีเหลืองแดงบริเวณที่ผิดพลาดนั้น และโปรแกรมจะไม่สามารถทำการรันเพื่อแสดงผลออกมาได้ ดังรูป แสดงข้อผิดพลาดในการเขียนโปรแกรมจาวา

ทำความเข้าใจเกี่ยวกับ system.out.println() ภาษาจาวาระบบจำทำการอ้างอิงไปยังคลาสที่อยู่ในแพ็คเกจ java.lang.System โปรแกรมจะใช้ดอท (.) เป็นตัวบ่งบองถึงตำแหน่ง (path) แสดงดังตัวอย่าง

การใช้เอกสารเพื่อการบันทึกและช่วยเหลือ (API Doc) ภาษาจาวาจะมีกลไกในการสร้างคลาสและอินเตอร์เฟสเพื่อจัดทำเอกสาร (Javadoc) เพียงแต่ผู้ใช้ทำการบันทึกข้อความในเครื่องหมาย /** java document */ ซึ่งส่วนที่สร้างขึ้นจะมีลักษณะคล้ายกับคอมเม้นต์โปรแกรม แต่ถูกนำไปใช้สร้างเอกสารเพื่อทำการอธิบายความเป็นมาของคลาสต่างๆ ในลักษณะของเอกสารบันทึก และช่วยเหลือสำหรับนักพัฒนาโปรแกรมต่อไป

The End Chapter 1

Work-1 (งานชิ้นที่ 1) ให้นักศึกษาทำแบบฝึกหัดบทที่ 1 (ลงในสมุดเท่านั้น) ตอนที่ 1 (ให้ลอกโจทย์ด้วย) ตอนที่ 2 การจับคู่ (ให้ลอกโจทย์ด้วย) หมายเหตุ ให้ขีดเส้นใต้คำตอบด้วยปากกาสีแดงเท่านั้น เมื่อทำจบในแต่ละข้อย่อยให้ขีดเส้นใต้คำตอบด้วยปากกาสีแดงด้วย