บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของการวิจัย

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
ชื่อเรื่อง : ศึกษาผลการจัดการเรียนรู้ ในรายวิชาการบัญชีบริหาร ด้วยวิธีการเรียนรู้แบบกลุ่มคละผลสัมฤทธิ์ STAD ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สถานการณ์จำลองการวางแผนงบประมาณในธุรกิจการผลิตเฟอร์นิเจอร์
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
ประเภทของการวิจัย. แบ่งตามวัตถุประสงค์ ของการศึกษา การวิจัยเพื่อสำรวจ (Exploratory Research) การวิจัยเพื่อพรรณนา (Descriptive Research) การวิจัยเพื่ออธิบาย.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
กรณีศึกษาของเยาวชนที่กระทำความผิดคดีฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา : สถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน จังหวัดสระบุรี ผู้วิจัย โยธิน จารุจุฑารัตน์ หลักสูตร ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต.
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
ประวัติ ส่วนตัว ชื่อ นางสาวสุภาวรรณ อินสวัสดิ์ อายุ ๒๘ ปี ที่อยู่ บ้านเลขที่ ๑๙ / ๕ หมู่ที่ ๑ ตำบลแสงอรุณ อำเภอทับสะแก จังหวัด ประจวบคีรีขันธ์ การศึกษา.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
เก่ง. ความรู้และทักษะ คุณลักษณะที่เน้น ความรู้ ทักษะเชิง วิชาชีพ และศาสตร์ที่ เกี่ยวข้อง.
ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม. 1 เจตคติต่อการประกอบอาชีพ
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
การศึกษาชีววิทยา.
รูปแบบการเขียนบทที่ 3.
โดย ผศ.ดร.สำราญ กำจัดภัย การจัดประเภทของการวิจัย
การวิจัยเบื้องต้น แนะนำผู้สอน
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
การวิจัยเพื่อพัฒนา การเรียนการสอน
สถานะภาพและลักษณะของวิชารัฐประศาสนศาสตร์
พื้นฐานการวิจัยและสร้างสรรค์ทางศิลปกรรมศาสตร์
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
โครงการจัดทำระบบฐานข้อมูล วัตถุเสพติดของกลาง (ระยะที่1)
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
SMS News Distribute Service
Kerlinger (๑๙๘๘) กล่าวว่า การวิจัย เป็นรูปแบบหนึ่งของการแสวงหาความรู้ ความจริง ที่ถูกต้อง เชื่อถือได้ ตรวจสอบได้ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ต่างๆ ในสังคมด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
ผลการเรียนรู้ 1. สามารถบอกความหมายของการสืบค้นข้อมูลได้ 2. สามารถบอกประเภทของการสืบค้นข้อมูลได้ 3. สามารถตรวจสอบความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้
กระบวนการวิจัย (Research Process)
การนำเสนอผลงานการวิจัย
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
สถานะภาพและลักษณะของวิชารัฐประศาสนศาสตร์
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
จริยธรรม (Ethics) คืออะไร
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ให้นักศึกษาตอบคำถามในตารางที่2 ในใบกิจกรรม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การใช้ระบบสารสนเทศในการวิเคราะห์ข่าว
ใบสำเนางานนำเสนอ:

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของการวิจัย บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นของการวิจัย วิทยาลัยการศึกษา มหาวิทยาลัยพะเยา

เนื้อหาในบทเรียน 1. ความหมายของการวิจัย 2. วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3. จุดมุ่งหมายของการวิจัย 4. ประเภทของการวิจัย 5. ขั้นตอนของการวิจัย 6. ประโยชน์ของการวิจัย 7. จรรยาวิชาชีพวิจัย 8. การประพฤติผิดจรรยาวิชาชีพวิจัย

1.ความหมายของการวิจัย การวิจัย (Research) หมายถึง ? กระบวนการศึกษาหาความรู้ความจริงอย่างมีระบบระเบียบ และมีแบบแผนตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ให้ได้ข้อเท็จจริงที่ถูกต้องและเชื่อถือได้ นำไปสู่การสรุปองค์ความรู้ใหม่ เพื่อใช้ในการทำนายหรือควบคุมพฤติการณ์หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ

2.วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 1.ขั้นปัญหา (Problem) 2.ขั้นสมมติฐาน (Hypothesis) 3.ขั้นรวบรวมข้อมูล (Collecting data) 4.ขั้นวิเคราะห์ข้อมูล(Analysis) 5.ขั้นสรุปผล (Conclusion)

3.จุดมุ่งหมายของการวิจัย เพื่ออธิบาย(Explanation) เพื่อบรรยาย(Description) 1 2 4 3 เพื่อการทำนาย (Prediction) เพื่อการควบคุม (Control)

3.จุดมุ่งหมายของการวิจัย 1. เพื่อบรรยาย(Description) มุ่งบรรยายสถานการณ์หรือยืนยันคุณลักษณะของประชากรหรือปรากฏการณ์ที่ทำการศึกษา เพื่อทราบว่ามีอะไรเกิดขึ้นในปรากฏการณ์ 2. เพื่ออธิบาย (Explanation) มุ่งอธิบายถึงความสัมพันธ์ระหว่าง ความแตกต่างในด้านต่าง ๆ ของปรากฏการณ์ที่ศึกษาอย่างมีเหตุและผล และมุ่งอธิบายว่าอะไรเป็นเหตุเป็นผลซึ่งกันและกัน โดยอาศัยแนวคิด ทฤษฎี หรือหลักการเป็นพื้นฐานในการศึกษาวิจัย

3.จุดมุ่งหมายของการวิจัย 3. เพื่อการทำนาย (Prediction) พยากรณ์ผลได้ล่วงหน้า ทราบแนวโน้มของปรากฏการณ์ในอนาคต สามารถแก้ไขสถานการณ์ได้ทัน 4. เพื่อการควบคุม (Control) ถ้ามีการควบคุมเงื่อนไขนั้นเงื่อนไขนี้ในลักษณะต่าง ๆ กันแล้วผลจะเป็นอย่างไร หาทางป้องกันหรือควบคุมเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ หรือหาทางเร่งให้เหตุการณ์พึงประสงค์เกิดขึ้น เร็วกว่าที่ปล่อยตามธรรมชาติได้อย่างไร

4.ประเภทของการวิจัย 1. การใช้เกณฑ์ประโยชน์ของการวิจัย แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 1.1 การวิจัยพื้นฐานหรือการวิจัยบริสุทธิ์ (Basic or pure research) ได้ผลเป็นข้อความรู้ ทฤษฎี เป็นการวิจัยเพื่อสนองความอยากรู้ของมนุษย์หรือเพิ่มพูนความรู้ของมนุษย์ ยังไม่สามารถนำมาใช้ประโยชนได้ในทันทีที่ได้ข้อค้นพบ มักกระทำในห้องปฏิบัติการหรือห้องทดลอง 1.2 การวิจัยประยุกต์ (Applied research) นำผลจากข้อความรู้ ทฤษฎีที่มีผู้ศึกษาไว้แล้วมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์แก่มนุษย์ เพื่อทำให้ชีวิตมีความสุข และความสะดวกสบายยิ่งขึ้น 1.3 การวิจัยปฏิบัติการ (Action research) นำผลที่ได้ใช้แก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรืองานในหน้าที่ของตนเองหรือของทั้งหน่วยงาน

4.ประเภทของการวิจัย 2. การใช้เกณฑ์ระเบียบวิธีวิจัย แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 2.1 การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ (Historical research) ศึกษาข้อเท็จจริงหรือความสัมพันธ์ของข้อเท็จจริงที่เป็นเรื่องราวเกี่ยวกับอดีต มักจะศึกษาจากร่องรอยหลักฐาน เอกสารต่าง ๆ ทางประวัติศาสตร์ 2.2 การวิจัยเชิงบรรยาย (Descriptive research) ศึกษาเพื่อที่จะบรรยายหรืออธิบายปรากฏการณ์ในสภาพปัจจุบัน หรือสภาพเป็นจริงของสังคมใดสังคมหนึ่ง 2.3 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) ศึกษาความสัมพันธ์ในลักษณะของการเป็นเหตุเป็นผลภายใต้สถานการณ์ที่พยายามจัดให้มีการควบคุมแบบต่างๆ เท่าที่สามารถจะจัดกระทำได้

4.ประเภทของการวิจัย 3. การใช้เกณฑ์ลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูล แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 3.1 การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative research) มุ่งเน้นข้อมูลที่อยู่ในลักษณะตัวเลขหรือกำหนดเป็นปริมาณได้ การวิจัยประเภทนี้ใช้เครื่องมือที่มีความเป็นปรนัยในการเก็บรวบรวมข้อมูล และใช้สถิติเพื่อการวิเคราะห์และแปลความหมายของข้อมูล 3.2 การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) มุ่งเน้นข้อมูลเชิงคุณลักษณะเกี่ยวกับวัฒนธรรม ความเชื่อหรือพฤติกรรมมนุษย์ที่ได้จากการรับรู้ การสังเกตของนักวิจัยที่เข้าไปสัมผัสในเหตุการณ์หรือชุมชน เครื่องมือสำคัญในการเก็บรวบรวมข้อมูลของการวิจัยประเภทนี้คือ นักวิจัย

4.ประเภทของการวิจัย 4. การใช้เกณฑ์จุดมุ่งหมายในการทาวิจัย แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 4.1 การวิจัยเพื่อการสำรวจขั้นต้น (Exploratory research) สำรวจตัวแปรและศึกษาธรรมชาติของตัวแปร เพื่อหาคาตอบว่าในสิ่งที่ผู้วิจัยศึกษานั้นประกอบด้วยอะไรบ้าง การวิจัยประเภทนี้มักไม่มีการตั้งสมมติฐาน 4.2 การวิจัยเพื่อการอธิบาย (Explanatory research) อธิบายถึงสาเหตุ หรือเหตุผลในการเกิดปรากฏการณ์นั้น ๆ เพื่อบอกถึงความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้นว่าเป็นไปในลักษณะใด มีส่วนเกี่ยวข้องมากน้อยเพียงใด 4.3 การวิจัยเพื่อการทำนาย (Prediction research) สร้างทฤษฎี เพื่อที่จะพยากรณ์เหตุการณ์ที่ยังมาไม่ถึง

4.ประเภทของการวิจัย 5. การใช้เกณฑ์ชนิดของข้อมูล แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ 5.1 การวิจัยเชิงประจักษ์ (Empirical research) ค้นหาความรู้ ความจริงจากข้อมูลธรรมชาติหรือข้อมูลปฐมภูมิในสภาพปัจจุบัน มีการเก็บข้อมูลและใช้วิธีการทางสถิติมาช่วยในการวิเคราะห์ข้อมูล 5.2 การวิจัยเชิงวิพากษ์วิจารณ์ หรือการวิจัยเชิงไม่ประจักษ์ (Non-empirical research) ค้นหาความรู้ความจริง โดยอาศัยข้อมูล ที่มีอยู่แล้ว ในเอกสาร จากบทความตำราต่างๆ ที่แสดงข้อคิดเห็นในเรื่องใด เรื่องหนึ่ง โดยไม่ใช้วิธีการทางสถิติมาวิเคราะห์ข้อมูล แต่มักใช้การวิพากษ์วิจารณ์ข้อมูล

4.ประเภทของการวิจัย 6. การใช้เกณฑ์ลักษณะการศึกษากับตัวแปร แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 6.1 การวิจัยเชิงสำรวจ (Survey research) ศึกษาสภาพปัจจุบัน เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรในทางสังคมวิทยาและจิตวิทยา 6.2 การวิจัยเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นแล้วหรือการศึกษาย้อนหลัง (Expostfacto research) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร จากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นอยู่ก่อนแล้วทั้งตัวแปรต้นและตัวแปรตาม โดยผู้วิจัยศึกษาจากตัวแปรตามแล้วพิจารณาย้อนไปค้นหาว่าเกิดจากตัวแปรต้นใดบ้าง 6.3 การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental research) ศึกษาความสัมพันธ์เชิงเหตุผลของตัวแปรในปรากฏการณ์นั้น ๆ โดยมีการจัดกระทำกับตัวแปรตัวหนึ่ง แล้วสังเกตหรือวัดผลที่เกิดขึ้นกับอีกตัวแปรหนึ่ง

4.ประเภทของการวิจัย 7. การใช้เกณฑ์สาขาวิชาหรือศาสตร์ที่ใช้ศึกษา แบ่งเป็น 5 ประเภท คือ 7.1 การวิจัยทางวิทยาศาสตร์กายภาพ (Physical science research) ศึกษาเกี่ยวกับปรากฏการณ์ตามธรรมชาติและสิ่งที่ไม่มีชีวิต 7.2 การวิจัยทางวิทยาศาสตร์ชีวภาพ (Biological science research) ศึกษาเกี่ยวกับโครงการสร้างหลักที่ส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย สิ่งที่มีชีวิต 7.3 การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (Social science research) ศึกษาเกี่ยวกับสังคม การอยู่ร่วมกันในสังคม และปรากฏการณ์ทางสังคม

4.ประเภทของการวิจัย 7.4 การวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (Behavioral science research) ศึกษาเกี่ยวกับพฤติกรรมของมนุษย์ 7.5 การวิจัยแบบสหวิทยาการ (interdisciplinary research) ใช้ความรู้จากศาสตร์หลายสาขาบูรณาการเข้าด้วยกัน

4.ประเภทของการวิจัย 8. การใช้เกณฑ์ของลักษณะธรรมชาติวิชา แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 8.1 การวิจัยเชิงประเมิน (Evaluation research) ศึกษาหาสารสนเทศเชิงคุณค่า (information) เกี่ยวกับสิ่งที่ต้องการศึกษาหรือประเมินเพื่อการตัดสินใจ ปรับปรุง พัฒนา หรือยุติสิ่งที่ต้องการศึกษานั้น 8.2 การวิจัยเชิงนโยบาย (Policy research) มุ่งศึกษาเพื่อให้ได้สารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดทาหรือพัฒนานโยบายขององค์การ 8.3 การวิจัยประวัติศาสตร์ (Historical research) มุ่งศึกษาข้อเท็จจริง ที่เป็นเรื่องราวในอดีต

4.ประเภทของการวิจัย 9. การใช้เกณฑ์ระดับความเข้มของการควบคุมตัวแปร แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ 9.1 การวิจัยในห้องปฏิบัติการ (Laboratory research) จัดกระทำในห้องปฏิบัติการซึ่งอยู่ในเงือนไขที่สามารถควบคุมตัวแปรได้มากที่สุด 9.2 การวิจัยสนาม (Field research) ออกไปเก็บรวบรวมข้อมูลในสถานที่ที่ข้อมูลที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติ 9.3 การวิจัยเอกสาร (Documentory research) ศึกษาค้นคว้ารวบรวมข้อมูลจากการอ่านเอกสารต่าง ๆ

5.ขั้นตอนของการวิจัย

6.ประโยชน์ของการวิจัย นักวิจัย องค์กร วงวิชาการ สังคม ประเทศชาติ

7.จรรยาวิชาชีพวิจัย จรรยาวิชาชีพวิจัย หมายถึง ? ประมวลหลักความประพฤติปฏิบัติที่แสดงถึง – มาตรฐานการปฏิบัติงาน(Standards of work performance) – และความมีจริยธรรมการวิจัย(Research ethics) เพื่อรักษาและส่งเสริมเกียรติคุณ ชื่อเสียง และฐานะของความเป็นนักวิจัยในสาขาวิชาชีพของตน•ซึ่งจรรยาวิชาชีพวิจัยและแนวทางปฏิบัติสรุปได้ 4 ข้อ

7.จรรยาวิชาชีพวิจัย 1.นักวิจัยพึงมีจริยธรรม และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ร่วมงานและบุคคลทั่วไป 2. นักวิจัยพึงทาวิจัยอย่างเต็มความสามารถด้วยความเสียสละ ขยัน และอดทน 3. นักวิจัยต้องมีอิสระทางวิชาการ โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทาวิจัย 4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย

8.การประพฤติผิดจรรยาวิชาชีพวิจัย 1.การคัดลอกงานหรือผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน 2.การคัดลอกผลงานของตนเอง 3.การปกปิด บิดเบือน แก้ไขข้อมูล ข้อความ หรือกระทาการใดๆ ในกระบวนการวิจัยและการรายงานผลการวิจัยที่ทาให้ผิดไปจากความเป็นจริง 4.การสร้างข้อมูลเท็จ หรือจงใจปั้นแต่งข้อมูลให้ผิดไปจากความเป็นจริง 5.การเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวหรือความลับของผู้รับการวิจัย โดยไม่ได้รับคายินยอมเป็นลายลักษณ์อักษร

Thank You!

Workshop 1 นิสิตแบ่งกลุ่มละ 5 คน สืบค้นชื่อเรื่องงานวิจัยที่สอดคล้อง กับแต่ละประเภทของงานวิจัยมา 10 ประเภท โดยชื่อเรื่องงานวิจัยไม่ซ้ำกัน