โดย นางละเอียด เอี่ยมสุวรรณ ผู้อำนวยการกองคลัง ความแตกต่างระหว่าง การประชุมราชการ vs การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม โดย นางละเอียด เอี่ยมสุวรรณ ผู้อำนวยการกองคลัง
ปัญหาที่เกิดขึ้น เข้าใจไม่ถูกต้อง ระหว่างประชุมราชการ กับ ประชุมเชิงปฏิบัติการ เชิญผู้เชี่ยวชาญมาประชุม ต้องจ่ายค่าสมนาคุณวิทยากรให้ ถูกทักท้วงจาก ผู้ตรวจสอบภายใน และกองคลัง บ่อยครั้ง ถูกเรียกคืนเงินค่าวิทยากรและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ มีความขัดแย้งระหว่างผู้รับผิดชอบโครงการ เจ้าหน้าที่การเงิน ผู้ตรวจสอบภายใน ส.ต.ง. ตรวจสอบพบภายหลัง ถูกเรียกคืนเช่นเดียวกัน
สิ่งที่จำเป็นต้องรู้ ระเบียบ หลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนการดำเนินงาน การเบิกค่าใช้จ่าย
ระเบียบ หลักเกณฑ์ ที่เกี่ยวข้อง
ระเบียบฯ และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ พ.ศ.2553 [ข้อ 12 ค่าใช้สอย] ( กค 0406.4/ว 96 ลว 16 ก.ย. 53) 2. หลักเกณฑ์และกรอบอัตราค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน กรมควบคุมโรค [ สธ 0403.1/ว 32 ลว 8 มค. 56] 1. ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ.2549 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
ระเบียบฯ และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม + หนังสือด่วนที่สุด ที่ สธ 0403.1/ว 221 ลว 7 ก.พ.56 เรื่อง การปรับอัตราค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มในการประชุมราชการ และโครงการฝึกอบรมตามมติคณะรัฐมนตรี + หนังสือด่วนที่สุด ที่ สธ 0403.1/ว 143 ลว 25 ม.ค56 เรื่อง ปรับเพิ่มอัตราค่าอาหารและค่าเช่าที่พักในการฝึกอบรมภายในประเทศตามมาตรการบรรเทาผลกระทบจากการปรับอัตราค่าจ้างขั้นต่ำปี 2556
คำนิยามและวัตถุประสงค์ “การประชุมราชการ” หมายความถึง การประชุมในเนื้องานที่เกี่ยวข้องกับส่วนราชการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ นำผลการประชุมไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานของทางราชการ รับทราบนโยบายในการดำเนินงาน ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน ติดตามความก้าวหน้าของการดำเนินงาน รับทราบและรับฟังปัญหา อุปสรรค ร่วมกันหาแนวทางแก้ไขปัญหา
คำนิยามและวัตถุประสงค์ ...[ต่อ]... ตัวอย่างเช่น การประชุมถ่ายทอดตัวชี้วัดตามคำรับรองฯลงสู่กลุ่มงาน/บุคคล การประชุมเพื่อเตรียมความพร้อมในการจัดงานสัมมนาวิชาการ การประชุมเพื่อกำหนดแนวทางและเกณฑ์การประเมินผล การประชุมกลั่นกรองโครงการวิจัย การประชุมจัดทำแผน การประชุมเพื่อจัดทำคู่มือ/แนวทาง/มาตรฐานต่างๆ การประชุมติดตามความก้าวหน้าโครงการ ฯ ล ฯ
คำนิยามและวัตถุประสงค์ ...[ต่อ]... “การฝึกอบรม [ตามระเบียบฝึกอบรม]” หมายความว่า การอบรม การประชุมทางวิชาการหรือเชิงปฏิบัติการ การบรรยายพิเศษ การฝึกศึกษา การดูงาน การฝึกงานหรือเรียกชื่ออย่างอื่น ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีโครงการหรือหลักสูตรและช่วงเวลาที่แน่นอน มีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาบุคลากรเพื่อนำความรู้ที่ได้ไปพัฒนางานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เงื่อนไข ไม่มีการรับปริญญา หรือประกาศนียบัตรวิชาชีพ
คำนิยามและวัตถุประสงค์ ...[ต่อ]... “การประชุมเชิงปฏิบัติการ [Workshop]” หมายถึง การประชุมร่วมกันเป็นกลุ่มสำหรับระยะเวลาหนึ่ง เน้นการฝึกหรือลงมือปฏิบัติ เพื่อให้เกิดทักษะ/ความเชี่ยวชาญ ลักษณะการประชุมเชิงปฏิบัติการ ช่วงแรก วิทยากรบรรยาย เกี่ยวกับทฤษฎีต่าง ๆ ช่วงถัดไป มีการฝึกปฏิบัติ โดยนำทฤษฎีที่วิทยากรบรรยาย มาใช้เพื่อให้เกิดความเช้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติได้ การฝึกปฏิบัติ อาจมีการแบ่งกลุ่ม หรือไม่ก็ได้
ตัวอย่าง “การประชุมเชิงปฏิบัติการ” การประชุมเชิงปฏิบัติการ “การประเมินผลโครงการ” ความเป็นมา : บุคลากรขาดความรู้/ทักษะ/ประสบการณ์ วัตถุประสงค์ : เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ด้านการประเมินผลโครงการ ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้เข้าอบรมผ่านการทดสอบหลังการอบรม ผลผลิต : ผู้เข้าอบรมในโครงการ วิธีการ : บรรยาย และ ฝึกปฏิบัติ ผลลัพธ์ : ผู้เข้าอบรมได้รับความรู้และเกิดความเข้าใจ สามารถ ประเมินโครงการที่รับผิดชอบได้
ตัวอย่าง ที่ไม่ใช่“การประชุมเชิงปฏิบัติการ” การประชุม(เชิงปฏิบัติการ) “การประเมินผลโครงการ A” ความเป็นมา : การดำเนินงานโครงการ A สิ้นสุดโครงการแล้วต้องมีการประเมินผล วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อกำหนดแนวทางการประเมินผลโครงการ A 2. เพื่อจัดทำเครื่องมือในการประเมินผลโครงการ A ผลผลิต : แนวทาง/เครื่องมือในการประเมินผลโครงการ A ตัวชี้วัด : 1. แนวทาง/เครื่องมือ 1 ชุด 2. ผู้เข้าอบรมมีความพึงพอใจร้อยละ... วิธีการ 1. บรรยาย ผลการดำเนินงานโครงการ A 2. ฝึกปฏิบัติ(แบ่งกลุ่ม) กำหนดแนวทางการประเมินผล และ การจัดทำแบบสอบถาม เพื่อประเมินผลโครงการ ผลลัพธ์ : สำนักฯ ได้แนวทางและเครื่องมือ เพื่อนำไปใช้ในการประเมินผลโครงการ
วิธีการที่ถูกต้องคือ??? การประชุมคณะทำงานประเมินผลโครงการ A” วิธีการ : จัดประชุมราชการ โดยกำหนดวาระการประชุม ดังนี้ วาระที่ 1 ประธานแจ้งให้ทราบ วาระที่ 2 เพื่อทราบ : รับทราบผลการดำเนินงานโครงการ A วาระที่ 3 เพื่อพิจารณา : กำหนดแนวทางการประเมินผล/เครื่องมือในการประเมินผล วาระที่ 4 เรื่องอื่น ๆ ผลที่ได้จากการประชุม : ได้แนวทางการประเมินผล/เครื่องมือในการประเมินผล ตามมติที่ประชุมที่เห็นชอบร่วมกัน
ขั้นตอนการดำเนินงาน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม ขั้นตอนการดำเนินงาน การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม ขั้นเตรียมการ กลุ่มงาน/ฝ่าย/ผู้รับผิดชอบการจัดประชุม จัดทำหนังสือเสนอผู้อำนวยการฯ ขออนุมัติ จัดประชุม โดยระบุวัตถุประสงค์/เหตุผลที่ ต้องจัดประชุม/หัวข้อที่จะจัดประชุม วัน เวลา และสถานที่ที่จะจัดประชุม พร้อมทั้ง ระบุวงเงินค่าใช้จ่ายในที่ต้องการใช้ในการจัด ประชุม ** ไม่ต้องจัดทำโครงการประชุม กลุ่มงาน/ฝ่าย/ผู้รับผิดชอบจัดการฝึกอบรม เขียนโครงการที่ระบุความเป็นมา วัตถุประสงค์ วิธีการดำเนินงาน ระยะเวลา งบประมาณ กลุ่มเป้าหมาย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ การประเมินผล บุคลากรที่เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบ พร้อมทั้งกำหนดการประชุม [Agenda] เสนอผู้อำนวยการฯ เพื่อพิจารณา อนุมัติโครงการ
ขั้นตอนการดำเนินงาน ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม ขั้นดำเนินการ [เมื่อได้รับอนุมัติให้จัดประชุม] กลุ่มงาน/ฝ่าย/ผู้รับผิดชอบการจัดประชุมจัดทำหนังสือเชิญประชุม พร้อมทั้งแนบวาระการประชุม จัดประชุมตามวัน เวลา และสถานที่ตามที่ได้รับอนุมัติ ผู้เข้าประชุมลงลายมือชื่อเข้าประชุม [เมื่อโครงการได้รับอนุมัติให้ดำเนินการ] กรณีที่โครงการมิได้ระบุวัน เวลา และสถานที่ที่ชัดเจน ให้ผู้รับผิดชอบโครงการจัดทำหนังสือขออนุมัติจัดประชุม ที่ระบุวัน เวลา และสถานที่อีกครั้ง ผู้รับผิดชอบโครงการ จัดทำหนังสือเชิญกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมการประชุม อบรม พร้อมทั้งแนบกำหนดการประชุม [Agenda] จัดประชุมอบรมตามวัน เวลา และสถานที่ตามที่ได้รับอนุมัติ
ขั้นตอนการดำเนินงาน ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม สิ้นสุดการดำเนินการ กลุ่มงาน/ฝ่าย/ผู้รับผิดชอบการจัดประชุม จัดทำรายงานผลการประชุมส่งให้แก่ผู้เข้าร่วม ประชุมทุกคน ผู้รับผิดชอบโครงการ ทำการประเมินผลการ ฝึกอบรมและรายงานผลต่อผู้อำนวยการฯ ภายใน 60 วันนับแต่สิ้นสุดการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรม จัดทำรายงานผลการเข้า รับการฝึกอบรมเสนอผู้อำนวยการฯ ต้นสังกัด ภายใน 60 วันนับแต่วันเดินทางกลับถึงสถานที่ ปฏิบัติงาน
การเบิกค่าใช้จ่าย
รายการค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกจ่ายได้ตามระเบียบ การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม รายการค่าใช้จ่าย 1. ค่าอาหาร 2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 3. ค่าเช่าสถานที่ 4. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้เข้าร่วมประชุม [ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าที่พัก ค่าพาหนะ] 5. ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็นในการจัดประชุม เช่น ค่าถ่ายเอกสาร ค่าวัสดุ เป็นต้น 1. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และการตกแต่งสถานที่ 2. ค่าใช้จ่ายในพิธีเปิด – ปิดการฝึกอบรม 3. ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ 4. ค่าประกาศนียบัตร 5. ค่าถ่ายเอกสาร ค่าพิมพ์เอกสาร และสิ่งพิมพ์
รายการค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกจ่ายได้ตามระเบียบ ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม รายการค่าใช้จ่าย 6. ค่าหนังสือสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 7. ค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสาร 8. ค่าเช่าอุปกรณ์ต่างๆ ในการฝึกอบรม 9. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 10. ค่ากระเป๋าหรือสิ่งที่ใช้บรรจุเอกสารสำหรับผู้เข้ารับการฝึกอบรม 11. ค่าของสมนาคุณในการดูงาน
รายการค่าใช้จ่ายที่สามารถเบิกจ่ายได้ตามระเบียบ ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม รายการค่าใช้จ่าย 12. ค่าสมนาคุณวิทยากร 13. ค่าอาหาร 14. ค่าเช่าที่พัก 15. ค่ายานพาหนะ 16. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางฯ [ค่าเบี้ยเลี้ยง]
รายการค่าใช้จ่ายที่เหมือนกัน แต่อัตราการเบิกจ่ายแตกต่างกัน ค่าเช่าห้องประชุม/ค่าเช่าสถานที่ ค่าอาหาร ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ค่าที่พัก ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้เข้าประชุม/อบรม
1. ค่าเช่าห้องประชุม/ค่าเช่าสถานที่ การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 1. ค่าเช่าห้องประชุม/ค่าเช่าสถานที่ อัตราการเบิกจ่าย สถานที่ราชการ : ไม่เกิน 2,000 บาท/วัน สถานที่เอกชน : ไม่เกิน 10,000 บาท/วัน 1. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการใช้และตกแต่งสถานที่ฝึกอบรม ให้เบิกจ่ายได้เท่าที่จ่ายจริง ตามความจำเป็นเหมาะสมและประหยัด
การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 2. ค่าอาหาร การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 2. ค่าอาหาร อัตราการเบิกจ่าย สถานที่ราชการ : 80 บาท/มื้อ/คน สถานที่เอกชน : 1 มื้อ ไม่เกิน 400 บาท/คน 2 มื้อ ไม่เกิน 600บาท/คน ครบมื้อไม่เกิน 800 บาท/คน สถานที่ราชการ : ประเภท ก 1 มื้อ ไม่เกิน 300 บาท 2 มื้อ ไม่เกิน 600 บาท ครบทุกมื้อ ไม่เกิน 850 บาท สถานที่ราชการ : ประเภท ข 1 มื้อ ไม่เกิน 200 บาท 2 มื้อ ไม่เกิน 400 บาท ครบทุกมื้อ ไม่เกิน 600 บาท
การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 2. ค่าอาหาร ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม อัตราการเบิกจ่าย สถานที่เอกชน : ประเภท ก 1 มื้อ ไม่เกิน 500 บาท 2 มื้อ ไม่เกิน 850 บาท ครบทุกมื้อ ไม่เกิน 1,200 บาท สถานที่เอกชน : ประเภท ข 1 มื้อ ไม่เกิน 450 บาท 2 มื้อ ไม่เกิน 700 บาท ครบทุกมื้อ ไม่เกิน 950 บาท
3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม อัตราการเบิกจ่าย สถานที่ราชการ : 35 บาท/คน สถานที่เอกชน : 50 บาท/คน ประเภท ก ประเภท ข
การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 4. ค่าที่พัก การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 4. ค่าที่พัก ระเบียบฯ/หลักเกณฑ์ พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดิน ทางไปราชการ พ.ศ.2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หลักเกณฑ์ค่าใช้จ่ายในการบริหารงานกรมควบคุมโรค พ.ศ.2556 ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ.2549 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
4. ค่าที่พัก ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม อัตราการเบิกจ่าย กรณีจ่ายจริง [ใช้ใบเสร็จรับเงิน/Folio] ทั่วไป : ปฏิบัติงาน, ชำนาญงาน และอาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ, ชำนาญการ และชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ระดับต้น พักเดี่ยวไม่เกิน 1,500 บาท/วัน/คน พักคู่ไม่เกิน 850 บาท/วัน/คน เบิกได้เท่าที่จ่ายจริงในอัตราไม่เกิน ประเภท ก พักคนเดียว : ไม่เกิน 2,400 บาท พักคู่ : ไม่เกิน 1,300 บาท/คน ประเภท ข พักคนเดียว : ไม่เกิน 1,450 บาท พักคู่ : ไม่เกิน 900 บาท/คน โดยใช้ใบเสร็จรับเงิน/Folio แนบประกอบ การเบิกจ่าย
4. ค่าที่พัก ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ อำนวยการ : ระดับสูง บริหาร : ระดับต้น พักเดี่ยวไม่เกิน 2,200 บาท/วัน/คน พักคู่ไม่เกิน 1,200 บาท/วัน/คน วิชาการ : ทรงคุณวุฒิ บริหาร : ระดับสูง พักเดี่ยวไม่เกิน 2,500 บาท/วัน/คน พักคู่ไม่เกิน 1,400 บาท/วัน/คน สำหรับการจัดที่พัก มีหลักเกณฑ์ ดังนี้ ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ประเภท ก ระเบียบไม่ได้กำหนด ให้จัดที่พักได้ตามความเหมาะสม ผู้เข้ารับการฝึกอบรม ประเภท ข ให้พักรวมกันตั้งแต่ 2 คน ขึ้นไป โดยให้พักห้องคู่ เว้นแต่เป็นกรณีที่ไม่เหมาะสมหรือมีเหตุจำเป็นไม่อาจพักรวมกับผู้อื่นได้ ผู้จัดอาจให้พักคนเดียวได้
การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม โดยไม่ต้องพิจารณาว่าจะพักคนเดียว 4. ค่าที่พัก ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม กรณีเหมาจ่าย ทั่วไป : ปฏิบัติงาน, ชำนาญงาน และอาวุโส วิชาการ : ปฏิบัติการ, ชำนาญการ และชำนาญการพิเศษ อำนวยการ : ระดับต้น อ้ตรา 800 บาท/คน/วัน โดยไม่ต้องพิจารณาว่าจะพักคนเดียว หรือพักคู่ ผู้สังเกตการณ์หรือเจ้าหน้าที่ [คณะทำงาน] ให้พักคู่ อำนวยการ : ระดับต้น หรือเทียบเท่า
การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 4. ค่าที่พัก ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม กรณีเหมาจ่าย ทั่วไป : ทักษะพิเศษ วิชาการ : เชี่ยวชาญ, ทรงคุณวุฒิ อำนวยการ : ระดับสูง บริหาร : ระดับต้นและระดับสูง ไม่เกิน 1,200 บาท/คน/วัน ผู้สังเกตการณ์หรือเจ้าหน้าที่ [คณะทำงาน] ให้พักเดี่ยวได้ อำนวยการระดับสูง : ประเภทบริหารระดับต้น ระดับสูงหรือเทียบเท่า
5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้เข้าประชุม การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้เข้าประชุม ระเบียบฯ/หลักเกณฑ์ พระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2526 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ.2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม การจัดงาน และการประชุมระหว่างประเทศ พ.ศ.2549 และที่แก้ไขเพิ่มเติม หลักเกณฑ์และกรอบอัตราค่าใช้จ่ายในการบริหารงาน กรมควบคุมโรค พ.ศ.2556 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้เข้าประชุม ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม อัตราการเบิกจ่าย ค่าเบี้ยเลี้ยง เริ่มนับเวลาตั้งแต่ออกจากสถานที่พักหรือสถานที่ปฏิบัติงาน จนกลับถึงสถานที่พักหรือสถานที่ปฏิบัติงาน โดยนับ 24 ชั่วโมงเป็น 1 วัน เศษที่เกิน 12 ชั่วโมงนับเป็น 1 วัน หากเป็นการเดินทางไปราชการวันเดียว ถ้านับเวลาไม่เกิน 12 ชั่วโมง แต่เกิน 6 ชั่วโมง ให้คิดเป็นครึ่งวัน *ไม่มีการหักเบี้ยเลี้ยงตามจำนวนมื้ออาหาร* 1. เริ่มนับเวลาตั้งแต่ออกจากสถานที่พักหรือสถานที่ปฏิบัติงาน จนกลับถึงสถานที่พักหรือสถานที่ปฏิบัติงาน โดยนับ 24 ชั่วโมงเป็น 1วัน เศษที่เกิน 12 ชั่วโมงนับเป็น 1 วัน **ไม่มีเบี้ยเลี้ยงครึ่งวัน** 2. ให้หักจำนวนมื้ออาหารที่ผู้จัดเลี้ยง เช่น คำนวณเบี้ยเลี้ยงได้ 2 วัน ผู้จัดเลี้ยงอาหาร 3 มื้อ จะได้เบี้ยเลี้ยง 480 – (80 × 3) = 240 บาท
5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้เข้าประชุม ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม ค่าพาหนะ เบิกค่าใช้จ่ายได้ตามมาตรา 22 1. กรณีการจัดประชุม/อบรมมากกว่า วันและผู้จัดการอบรมจัดที่พักให้แล้ว ห้ามเบิกค่าพาหนะรับจ้างสำหรับการเดินทางไป – กลับระหว่างสถานที่อยู่ ที่พัก ที่ทำงานไปยังสถานที่จัดประชุมอบรม 2. กรณีการจัดประชุม/อบรม 1 วัน 2.1 บุคคลภายนอก และไม่ได้สังกัดกรมควบคุมโรค ให้เบิกค่ารถรับจ้างไป - กลับได้ตามที่จ่ายจริง
5. ค่าใช้จ่ายในการเดินทางของผู้เข้าประชุม ...[ต่อ]... การประชุมราชการ การประชุมเชิงปฏิบัติการ/การฝึกอบรม 2.2 บุคคลในสังกัดกรมควบคุมโรค หากเดินทางจากสถานที่ทำงาน ให้หน่วยงานจัดรถราชการให้ ถ้าไม่สามารถจัดรถให้ได้ ให้เบิกรถรับจ้างได้โดยเดินทางไปพร้อมเป็นคณะ แต่หากเดินทางจากบ้านพักให้เบิกค่ารถรับจ้างได้ตามที่จ่ายจริงทั้งไป – กลับโดยประหยัด ทั้งนี้ ผู้มีสิทธิเบิกรถรับจ้างได้ให้เป็นไปตามพระราชกฤษฎีกาค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 2.3 กรณีที่วิทยากรมีที่อยู่ในท้องที่เดียวกับสถานที่จัดฝึกอบรม ผู้จัดการฝึกอบรมจะเบิกจ่ายเงินค่าพาหนะรับจ้างไป - กลับให้แก่วิทยากรแทนการจัดรถรับส่งวิทยากรได้
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] กำหนดไว้ ดังนี้ - การเดินทางโดยปกติให้ใช้พาหนะประจำทาง และให้เบิกค่าพาหนะโดยประหยัด - ในกรณีที่ไม่สามารถเดินทางด้วยพาหนะประจำทางหรือต้องการความรวดเร็วเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ ก็ให้เดินทางโดยใช้พาหนะอื่นได้ แต่ต้องชี้แจงเหตุผลประกอบในรายงานการเดินทาง ค่าพาหนะ แบ่งเป็น 3 ลักษณะ คือ 1. พาหนะรับจ้าง เช่น รถแท๊กซี่ รถจักรยานยนต์รับจ้าง ให้เบิกได้ตามที่จ่ายจริงโดยประหยัด ภายใต้หลักเกณฑ์ ดังนี้
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... ประเภท ระดับ - ทั่วไป - วิชาการ - อำนวยการ - บริหาร - ชำนาญงาน - ทักษะพิเศษ - ชำนาญการ - ทรงคุณวุฒิ - ระดับต้น - สูง 1. ไป – กลับระหว่างที่พักหรือที่ปฏิบัติราชการถึงสถานีรถประจำทาง/สถานที่จัดยานพาหนะเพื่อเดินทางไปราชการภายในจังหวัดเดียวกัน ถ้าข้ามเขตจังหวัด - เขตติดต่อหรือผ่าน กทม. เท่าที่จ่ายจริง เที่ยวละไม่เกิน 600 บาท - เขตติดต่อจังหวัดอื่น เท่าที่จ่ายจริง เที่ยวละไม่เกิน 500 บาท 2. การเดินทางไป – กลับระหว่างที่อยู่ ที่พักกับสถานที่ปฏิบัติราชการในจังหวัดเดียวกัน ไม่เกินวันละ 2 เที่ยว 3. การเดินทางไปราชการในเขตกรุงเทพมหานคร
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... ประเภท ระดับ - ทั่วไป - วิชาการ - ปฏิบัติงาน - ปฏิบัติการ 1. เบิกได้เมื่อไม่มีรถประจำทาง 2. กรณีมีรถประจำทาง แต่มีความจำเป็นต้องใช้รถรับจ้าง เช่น กรณีมีสัมภาระ เดินทางเช้าตรู่ หรือเดินทางยามค่ำคืนให้ชี้แจงเหตุผลเพื่อขออนุมัติและใช้หลักเกณฑ์เดียวกันกับระดับ 6 ขึ้นไปได้ * การเดินทางไปสอบคัดเลือก/รับการคัดเลือก เบิกค่าพาหนะรับจ้างไม่ได้ * กรณีมีความจำเป็นต้องเดินทางล่วงหน้า หรือไม่สามารถเดินทางกลับที่ตั้งสำนักงานเมื่อปฏิบัติราชการเสร็จ เพราะเหตส่วนตัว เบิกค่าพาหนะเท่าที่จ่ายจริงตามเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้ไปราชการ * กรณีมีการเดินทางนอกเส้นทางระหว่างการลา ให้เบิกค่าพาหนะเท่าที่จ่ายจริงโดยไม่เกินอัตราตามเส้นทางที่ได้รับคำสั่งให้ไปรับราชการ
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... 2. พาหนะประจำทาง หมายความถึง รถไฟ รถโดยสารประจำทาง เรือ เครื่องบิน และยานพาหนะอื่นใดที่ให้บริการขนส่งแก่บุคคลทั่วไปเป็นประจำโดยมีเส้นทาง อัตราค่าโดยสารและค่าระวางที่แน่นอน หลักเกณฑ์การเบิกค่าพาหนะประจำทางให้เบิกได้ตามจริงแต่ไม่เกินสิทธิ ดังนี้
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... ประเภท ผู้มีสิทธิ สิทธิการเบิก หมายเหตุ รถโดยสารประจำทาง รถไฟ เครื่องบิน - ทั่วไป - วิชาการ ข้าราชการ - ปฏิบัติงาน - ปฎิบัติการ พนักงานราชการ - ยกเว้นกลุ่มเชี่ยวชาญ ลูกจ้างทุกประเภท ตามจ่ายจริง ตั้งแต่ชั้นที่ 2 นั่ง นอนปรับอากาศลงมา ไม่มีสิทธิ ยกเว้น กรณีมีความจำเป็นเร่งด่วนเพื่อประโยชน์แก่ทางราชการ และได้รับอนุมัติจากอธิบดี กรมฯ มอบอำนาจให้ผู้อำนวยการกอง/สำนัก/สถาบัน/สคร. เป็นผู้อนุมัติแทนอธิบดีได้
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... ประเภท ผู้มีสิทธิ สิทธิการเบิก หมายเหตุ รถโดยสารประจำทาง รถไฟ เครื่องบิน - ทั่วไป - วิชาการ อำนวยการ ข้าราชการ - ชำนาญงาน - ชำนาญการ - ชำนาญการพิเศษ - เขี่ยวชาญ - ระดับต้น - สูง พนักงานราชการ - กลุ่มเชี่ยวชาญพิเศษ ลูกจ้างทุกประเภท ตามจ่ายจริง ชั้นประหยัด มาตรการประหยัด ตามมติคณะ รัฐมนตรี
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... ประเภท ผู้มีสิทธิ สิทธิการเบิก หมายเหตุ รถโดยสารประจำทาง รถไฟ เครื่องบิน - บริหาร - อธิบดี - รองอธิบดี - ผู้ทรงคุณวุฒิ ตามจ่ายจริง ชั้นธุรกิจหรือต่ำกว่า มาตรการประหยัด ตามมติคณะ รัฐมนตรี ** กรณีจำเป็นต้องโดยสารเครื่องบินในชั้นที่สูงกว่าสิทธิที่กระทรวงการคลังกำหนด ต้องได้ รับอนุมัติจากกระทรวงการคลังก่อน จึงจะสามารถเบิกค่าโดยสารเครื่องบินในชั้นดังกล่าว ได้
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... 3. พาหนะส่วนตัว หมายความถึง รถยนต์ส่วนบุคคล หรือรถจักรยานยนต์ส่วนบุคคลซึ่งมิใช่ของทางราชการ ทั้งนี้ ไม่ว่าจะเป็นกรรมสิทธิของผู้เดินทางไปราชการหรือไม่ก็ตาม ให้เบิกชดเชยในลักษณะเหมาจ่ายตามหลักเกณฑ์ ดังนี้
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... หลักเกณฑ์(เดินทางโดยรถส่วนตัว) อัตรา 1. ต้องได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจให้เดินทางไปราชการโดยพาหนะส่วนตัว และต้องเป็นการเดินทางที่สะดวกและปลอดภัย - รถยนต์ส่วนบุคคล กิโลเมตรละ 4 บาท - รถจักรยานยนต์ กิโลเมตรละ 2 บาท [อ้างถึงหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว 42 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2550] 2. การคำนวณระยะทางให้ใช้ระยะทางตามเส้นทางของกรมทางหลวง ในเส้นทางที่สั้นและตรง ถ้าไม่มีเส้นทางของกรมทางหลวงและของหน่วยงานอื่น ให้ผู้เดินทางเป็นผู้รับรองระยะทางในการเดินทาง
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... 4. ค่าใช้จ่ายอื่น ผู้เดินทางสามารถเบิกค่าใช้จ่ายอื่นที่จำเป็นในการเดินทางได้ โดยประหยัดและต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ [หนังสือด่วนที่สุด ที่ กค 0409.6/ว 42 ลงวันที่ 26 กรกฎาคม 2550] 1. เป็นค่าใช้จ่ายที่จำเป็นต้องจ่าย หากไม่จ่ายก็ไม่สามารถเดินทางให้ถึงจุดหมายปลายทางได้ เช่น ค่าผ่านทางด่วน [เฉพาะรถราชการ] ค่าธรรมเนียมหนังสือเดินทาง ค่าปะยางรถยนต์ เป็นต้น 2. ต้องไม่เป็นค่าใช้จ่ายที่มีกฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์ ข้อบังคับหรือหนังสือสั่งการของกระทรวงการคลังกำหนดไว้เป็นการเฉพาะ
ค่าพาหนะ [มาตรา 22] ...[ต่อ]... 3. ต้องไม่ใช่ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับเนื้องานที่ไปปฏิบัติราชการ ซึ่งถือเป็นค่าใช้จ่ายในการบริหารงานของส่วนราชการ เช่น ค่าถ่ายเอกสาร ค่าวัสดุที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
ตัวอย่าง ระเบียบวาระของการจัดประชุมราชการ
ตัวอย่างกำหนดการของ โครงการฝึกอบรม/ประชุมเชิงปฏิบัติการ
Thank you for your attention