วิทยาการระบาดและธรรมชาติของโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เขมกร เที่ยงทางธรรม สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ ๑ กรุงเทพฯ
Advertisements

ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา พฤศจิกายน 2557 กลุ่มงานควบคุมโรค.
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดนครปฐม ประจำเดือน กรกฎาคม 2555 ดร.นพ.ถวัลย์ พบลาภ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครปฐม.
สรุปสถานการณ์การ ระบาดเพลี้ยแป้ง ระหว่างวันที่ สิงหาคม 2554.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
ชุมชนปลอดภัย.
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุไทย 2547
นักปรัชญาวิทยาศาสตร์
การศึกษาอุบัติการณ์และปัจจัยเสี่ยงการเกิดพิษต่อตับ ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ที่ได้รับยาต้านไวรัสเอชไอวี โรงพยาบาลวารินชำราบ.
ระดับความเสี่ยง (QQR)
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
การประเมินมาตรฐาน งานระบาดวิทยา ปี 2549
สาธารณสุขยุคใหม่ สร้างสังคมสุขภาพดี วิถีธรรม วิถีไทย
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
ความสำคัญ เหตุผลที่เฝ้าระวัง PM10
Delirium พญ. พอใจ มหาเทพ 22 มีนาคม 2561.
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
คำสำคัญ : ความชุกวัณโรค, ผู้ต้องขังในเรือนจำ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
หลุยส์ ปาสเตอร์.
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
การดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สถานการณ์โรคไข้หวัดใหญ่ ข้อมูล ณ วันที่ 18 ตุลาคม 2559
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
ปัจจัยที่มีผลต่อสุขภาพ และ วิถีชีวิตเพื่อสุขภาพ
Ph.D. (Health MS.Health การประเมินผลการสร้างเสริมสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง The Health Promotion.
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
แผ่นดินไหว เกิดจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลกบริเวณแนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก หรือการปะทุของภูเขาไฟ ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน ซึ่งหากเกิดการสั่นสะเทือนอย่างรุนแรง.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

วิทยาการระบาดและธรรมชาติของโรค อาจารย์ ธรรมศักดิ์ สายแก้ว วิทยาลัยสหเวชศาสตร์ สาขาสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

วิวัฒนาการโรคภัยไข้เจ็บ เกิดจากภูตผีปีศาจ เวทมนต์คาถา หรือการลงโทษจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ กราบไหว้สิ่งสมมติ ยุคสมัย1 เกิดจากการผิดปกติของกฎแห่งธรรมชาติ ( Natural Law ) ดิน น้ำ ลม ไฟ ธาตุต่างๆ ยุคสมัย2 เกิดจากการสัมผัสผู้เป็นโรคและเชื้อโรค Germs ยุคสมัย3

วิวัฒนาการโรคภัยไข้เจ็บ ทฤษฎีเชื้อโรค ( Germ’s Theory) โรคต่างๆเกิดจากเชื้อโรค( germs) ยุคที่4 ( เริ่มตั้งแต่ศตวรรษที่ 19) ความเชื่อสมัยใหม( Modern concepts of disease ) ยุคโรคไร้เชื้อ ยุคที่ 5 (ศตวรรษที่ 20 เป็นต้นไป )

นักคิดชาวกรีกชื่อ เอมพีด็อกเลส (Empedocles) เป็นคนแรกที่จำแนกธาตุมูลฐานออกเป็น ธาตุดิน น้ำ ลม และไฟ ถึงแม้ว่าจะมีแผนภาพบางส่วนของพวกเราชี้ว่าคืออริสโตเติ้ล (Aristotle) ก็ตาม ชาวจีนโบราณเชื่อว่า มีธาตุพื้นฐานอยู่ด้วยกัน 5 ธาตุ ที่เป็นธาตุมูลฐานของจักรวาล คือ ดิน ไม้ โลหะ(ทอง) ไฟ และน้ำ อินเดียเชื่อว่า ธาตุมูลฐานทั้ง 5 นี้คือ ความว่าง ลม ไฟ น้ำ และดิน

วิวัฒนาการของระบาดวิทยา 450 ปีก่อนคริสตกาล Hippocrates สังเกตุพบว่าโรคเกิดจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวเรา ได้เขียนตำราชื่อ On Air, Waters and Place นักระบาดวิทยาคนแรกของโลก(บิดาแห่งวิชาระบาด) ศตวรรษที่ 16 Fracastoro สังเกตุโรคเกิดจากเชื้อโรค มีการถ่ายทอดโรค 3 ทาง คน อากาศและตัวกลาง

วิวัฒนาการของระบาดวิทยา 1747 James Lind สังเกต บันทึกพบว่า Citric acid สามารถรักษาโรค Scurvy 1769 Baker ศึกษาการระบาดของcolic ในกลุ่มคนที่ดื่มน้ำแอบเปิ้ลแล้วมีอาการ Acute lead intoxication 1813-1858 John snow ศึกษาการระบาดของโรคอหิวาต์ด้วยกระบวนการทางระบาดเป็นครั้งแรก

วิวัฒนาการของระบาดวิทยา 1954 Salk Vaccine เริ่มมีการศึกษาวัคซีนป้องกันโรคโปลิโอ ในศตวรรษที่ผ่านมาระบาดวิทยาเริ่มสนใจโรคไร้เชื้อมากขึ้นเนื่องจากมีการระบาดหลายครั้งที่นักระบาดหาคำตอบไม่ได้ เช่น โรค –Diethylstillbestrol on offspring (Thalidomide baby)

- โรค Legionnaires disease ในทหารผ่านศึกหลังมีการประชุม - โรค Tampons and Toxic-Shock

ระบาดวิทยา ( Epidemiology) On,upon ( ข้างบน ) Epi People (ประชาชน) demos The study of Knowledge ( การศึกษา) logos

ความหมาของระบาดวิทยา Epidemiology is the study of patterns of disease and the factors that cause disease in man ระบาดวิทยาเป็นการศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรคและปัจจัยหรือตัวกำหนดที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค ภัย ไข้ เจ็บ ในคน (CDC)

ความหมาของระบาดวิทยา The science of infective diseases, their prime causes, propagation and prevention ศาสตร์ที่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อต่างๆและสาเหตุที่สำคัญของโรค การแพร่กระจายและการป้องกัน (Stallybrass,1931)

ความหมาของระบาดวิทยา Epidemiology is the study of the distribution and determinants of disease frequency in man วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับการกระจายของโรค และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดโรคในมนุษย์(MacMahon & Pugh,1970) **ซึ่งเป็นความหมายของวิทยาการระบาดที่ใช้ในปัจจุบัน**

วิทยาการระบาดกับวิชาแพทย์ วิทยาการระบาดมีความคล้ายคลึงในบางประการกับวิชาแพทย์ โดยเฉพาะวิชาเวชศาสตร์คลินิก (Clinical Medicine) ซึ่งว่าด้วยโรคต่างที่เกิดในมนุษย์ หน่วยที่ทำการศึกษาคือ โรงพยาบาล หอผู้ป่วย แผนกต่างๆ แต่วิทยาการระบาดหน่วยทำการศึกษา คือ ชุมชนซึ่งในการศึกษาจะศึกษาทั้งผู้ป่วยและไม่ป่วย ดังนั้นนักวิทยาการระบาด (EPIDEMIOLOGIST) คือ แพทย์ของชุมชน ความสนใจหน่วยที่ศึกษาอยู่ที่กลุ่มคน (population) ความสนใจของนักระบาดมุ่งไปที่การเกิดและการกระจายของโรคนี้ในประชากร เช่น กลุ่มคน เพศ อายุ หรืออาชีพที่เกิดโรคมาก ระยะเวลา วัน เดือน ปี อุบัติการณ์ต่างๆ สิ่งเหล่านี้นำไปสู่การหาปัจจัยสาเหตุ และมาตรการในการควบคุมหรือป้องกันโรคเกิดขึ้นได้

โรคติดต่อทุกโรคเป็นโรคทางระบาด แต่โรคระบาดบางชนิดไม่ใช้โรคติดต่อ สาระน่ารู่ โรคติดต่อทุกโรคเป็นโรคทางระบาด แต่โรคระบาดบางชนิดไม่ใช้โรคติดต่อ เช่น โรคมะเร็งปอด อุบัติเหตุทางจราจร

ซักซ่อมความเข้าใจระบาดวิทยา กับ โรคระบาด นักศึกษาจะรู้ได้อย่างไรว่าอะไรเป็น วิทยาการระบาด วิทยาการระบาด (Epidemiology) เป็นเครื่องมือที่ทำให้เกิดปัญญาโดยมีกระบวนการศึกษาจากเหตุไปหาผลว่าด้วยการศึกษา การเกิด การกระจาย และสิ่งกำหนด ของโรคและภัยในประชากร ดังนั้นทุกๆเรื่องสามารถนำมาศึกษาด้วยกระบวนการทางวิทยาระบาดแต่ต้องก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพประชาชนตัวอย่างเช่น โรคติดเชื้อ เช่น โรคไข้เลือดออก โรคบิดชิเกลลา โรคไข้หวัด โรคไร้เชื้อ เช่น โรคเบาหวาน โรคความดัน โรคอัมพฤตอัมพาต มะเร็งชนิดต่างๆ

ซักซ่อมความเข้าใจระบาดวิทยา กับ โรคระบาด โรคจากสารเคมี เช่น สีผสมอาหารในขนม ยาฆ่าแมลง ภิบัติภัยๆต่าง อุบัติเหตุจากยานยนต์ อุทุกภัย แผ่น เช่น การเกิดแผ่นดินไหวเป็นการระบาดหรือไม่.....( ไม่เป็น ) แต่เป็นวิทยาการระบาด เพราะสามารถใช้กระบวนการมาศึกษาได้

ซักซ่อมความเข้าใจระบาดวิทยา กับ โรคระบาด โรคระบาดหรือการระบาด (Epidemic) คือ 1. เหตุการณ์ที่มีจำนวนผู้ป่วยมากเกินปกติ ที่ได้คาดหมายในช่วงเวลาเดียวกันในอดีต ดังนั้นการมีจำนวนผู้ป่วยแม้ไม่มากนักในพื้นที่ใดๆซึ่งในอดีตไม่เคยมีผู้ป่วยมาก่อนหรือมีน้อยมากเมื่อเทียบกับปัจจุบันในช่วงเวลาเดียวกัน เช่น เดือนกันยายน 2555 มีผู้ป้วย DHF 50 ราย เดือนกันยายน 2556 มีผู้ป่วย DHF 75 ราย จำนวนผู้ป่วยปี 2556 มากกว่าในช่วงเวลาเดียวกัน ณ. ปี 2555

ซักซ่อมความเข้าใจระบาดวิทยา กับ โรคระบาด หมายเหตุ: มากเกินหมายถึง 1. การเปรียบเทียบความถี่ของโรคที่เกิดขึ้นในปีปัจจุบันเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยในช่วงเดียวกันปีที่ผ่านมา บวก 2 เท่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ถ้ามากกว่าสรุปว่าเกิดการระบาดของโรค หรือ 2.อาจพิจารณาจากค่ามัธยฐาน (Median)ในปีที่ผ่าน ณ.ช่วงเวลาเดียวกัน เช่น Med ปี 2555 เท่ากับ 5 แต่ ปี 2556 เท่ากับ6 ถือว่าระบาด

ซักซ่อมความเข้าใจระบาดวิทยา กับ โรคระบาด 3. หรือพิจารณาจากโดยรวมได้แก่มีองค์ประกอบดังนี้ ชนิดของโรค ความรุนแรง จำนวนผู้ป่วย ระยะเวลาที่เกิดโรค แม้มีผู้ป่วยรายเดียว แต่ไม่เคยปรากฏโรคนี้มาก่อนในชุมชน เช่น ไข้กาฬโรค ไข้เหลือง หรือพิษสุนับบ้าในมนุษย์ ก็ถือว่าชุมชนนั้นเกิดการระบาด

ขอบเขตการศึกษาทางระบาดวิทยา ความหมายของระบาดวิทยา หมายถึงการศึกษาที่ครอบคลุมประเด็นสำคัญๆดังนี้ คือ 1. การกระจายของโรค (Distribution) 2. ปัจจัยหรือตัวกำหนดที่มีผลต่อการกระจายของโรค (Determinant or Etiology) 3. การเปลี่ยนแปลงของโรค ( Dynamic of disease )

องค์ประกอบทางระบาดวิทยา 4. ภาวะที่เป็นโรคและไม่ใช่โรคDisease and non-disease condition 5. กลุ่มประชากร Population 6. Prevention and control 7. โรคติดเชื้อและโรคไร้เชื้อInfections and non-infections disease

วัตถุประสงค์ของการศึกษาทางระบาดวิทยา เพื่อทราบขนาดและการกระจาย ของโรคในชุมชนในด้านที่เกี่ยวกับ บุคคล (Person) เวลา (Time) และสถานที่ (Place) เพื่อทราบสาเหตุหรือปัจจัยเกิดโรค เพื่ออธิบายธรรมชาติของการเกิด โรค ปัจจัยที่ทำให้เกิดโรค และวิธี ถ่ายทอดโรค

วัตถุประสงค์ของการศึกษาทางระบาดวิทยา เพื่อเป็นแนวทางการป้องกันและ ควบคุมโรค เพื่อการวิจัย

ประโยชน์ของการศึกษาทางระบาดวิทยา 1.ศึกษาการเปลี่ยนแปลงในการเกิดและการกระจายของโรคในชุมชนหรือคาดคะเนแนวโน้มของการเกิดโรค 2. ใช้ในการวินิจฉัยชุมชน (Community diagnosis) 3. ใช้ในการรักษาและป้องกันโรค (Curative & Preventive aspect) 4. การค้นพบโรคในระยะเริ่มแรก (Early detection of diseases)

ประโยชน์ของการศึกษาทางระบาดวิทยา 5. การใช้ในการควบคุมโรค ( Disease control ) 6. ใช้วางแผนงานด้านบริการการแพทย์และสาธารณสุข 7. ใช้จำแนกชนิดของโรคต่างๆ 8. ประเมินผลการรักษาพยาบาลและโครงการสาธารณสุขต่างๆ 9. การวิจัยในสาขาต่างๆ 10. ประโยชน์ในการวางแผนเพื่อพัฒนาประเทศ

EHA ปัจจัยของการเกิดโรค สิ่งก่อโรค (Agent) คน (Host) สิ่งแวดล้อม (Environment)

Host ในทางระบาดวิทยา หมายถึง มนุษย์ เรือนร่าง สังขาร ปัจจัยที่มีผลกับ Host ได้แก่ ☻อายุและเพศ ☻พันธุกรรมและเชื้อชาติ ☻ปัจจัยทางด้านจิตใจ

ในทางระบาดวิทยา หมายถึง มนุษย์ เรือนร่าง สังขาร ปัจจัยที่มีผลกับ Host ได้แก่ ☻การที่มีภูมิคุ้มกันของโรคมาก่อน ☻การที่เคยป่วยเป็นโรคหรือได้รับการรักษาโรคนั้นมาก่อน ☻พฤติกรรมด้านสุขภาพและอนามัย

Agent หมายถึง สิ่งที่เป็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดโรค อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ เรียกว่า ตัวก่อโรค ได้แก่ ♣ สิ่งที่ทำให้เกิดโรคทางชีวภาพ (Biological agent) ♣ สิ่งที่ทำให้เกิดโรคทางเคมี (Chemical agent) ♣ สิ่งที่ทำให้เกิดโรคทางกายภาพ (Physical agent)

Agent หมายถึง สิ่งที่เป็นต้นเหตุที่ทำให้เกิดโรค อาจเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ เรียกว่า ตัวก่อโรค ♣ สิ่งที่ทำให้เกิดโรคทางจิตใจ/สังคม (Psychosocial agent) ♣ สิ่งที่ทำให้เกิดโรคเนื่องจากขาดสารนั้น (Absence of a factor necessary to health)

Environment หมายถึง สิ่งต่างๆทิ่อยู่รอบตัวมนุษย์ อาจเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ ได้แก่ ♣ สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ (Physical environment) ♣ สิ่งแวดล้อมทางเคมี (Chemical environment)

Environment หมายถึง สิ่งต่างๆทิ่อยู่รอบตัวมนุษย์ อาจเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิตก็ได้ ได้แก่ ♣ สิ่งแวดล้อมทางชีวภาพ (Biological environment) ♣ สิ่งแวดล้อมทางเศรษฐกิจและสังคม (Socio-economic environment)

ระบบนิเวศวิทยาของการเกิดโรค สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม สิ่งก่อโรค คน สิ่งแวดล้อม

ปัจจัยสามทางวิทยาการระบาด (Epidemiologic triad) โดย ดร.จอห์น กอร์ดอน (John Gordon) A E ภาวะที่มีความสมดุล (Stage of equilibrium)

ความสามารถในการแพร่เชื้อของสิ่งที่ทำให้เกิดโรคเพิ่มขึ้น H A E ความสามารถในการแพร่เชื้อของสิ่งที่ทำให้เกิดโรคเพิ่มขึ้น

A H E คนที่มีความไวในการเกิดโรคเพิ่มขึ้นในประชากร ได้แก่ คนอ่อนแอ คนไม่รับวัคซีน คนสูงอายุ หรือเด็กอ่อนเพิ่มขึ้น

H A E การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมช่วยสนับสนุนการแพร่กระจายของเชื้อ ได้แก่ ฝนตก น้ำท่วมขังเป็นการส่งเสริมการแพร่พันธุ์ยุงลาย ยุงก้นปล่อง

A H E การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมทำให้ความไวของการติดเชื้อของสังขารเพิ่มขึ้น ได้แก่ ฤดูฝนทำให้คนไม่สามารถออกไปนอกบ้านได้ ต้องอยู่รวมกันหนาแน่น เป็นการเพิ่มโอกาสในการแพร่โรค

โยงใยการปฏิบัติงานทางระบาดวิทยา (Web of Practical Epidemiology) การเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา (Epidemiology surveillance) ข้อมูล (Data) นำเสนอ (Data presentation) วิเคราะห์ข้อมูล (Data analysis) รายงาน (Report) จัดลำดับความสำคัญของปัญหา (Priority setting) โรค - โรคติดเชื้อ - โรคไม่ติดเชื้อ ภัย การเกิด (Occurrence) What When Where Who (Data ana. Presen.) นำเสนอผล ผิดปกติ ไม่ผิดปกติ ระบาดวิทยา เชิงพรรณนา(Descriptive epidemiology) ประเมินผลการปฏิบัติงาน (Evaluation) ระบาดวิทยา (Epidemiology) เวลา (Time) สถานที่ (Place) บุคคล (Person) การกระจาย (Distribution) การสอบสวนทางระบาดวิทยา (Investigation) สิ่งกำหนด (Determinace) บันทึกข้อมูล (Record) A เปลี่ยนแปลง H เปลี่ยนแปลง E เปลี่ยนแปลง Why How รายงานการระบาดนอกระบบ ระบาดวิทยาเชิงวิเคราะห์/ทดลอง (Analytical/Experimental epidemiology) ควบคุมกำกับ (Monitoring) ดำเนินการแก้ไขปัญหา (Implementation) วางแผนแก้ไขปัญหา (Planning) องค์ความรู้ (Body of knowledge) ทบทวนวรรณกรรม (Literature review) วิเคราะห์ปัญหา (Problem analysis)

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค มี 4 ปัจจัย ได้แก่ ☻ Predisposing factor เช่น อายุ เพศ และประวัติเคยมีการเจ็บป่วยมาก่อน ☻Enabling factor เช่น ฐานะยากจน รวยได้ต่ำ ความรู้น้อย ขาดสารอาหาร สภาพแวดล้อมไม่ดี การดูแลทางการแพทย์ไม่ทั่วถึง

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค ☻Precipitating factor เช่น การอยู่ใก้ลชิดผู้ป่วย การสัมผัสผู้ป่วย ☻Reinforceing factor เช่น การสัมผัสกับผู้ป่วยซ้ำ และการทำงานหนักเกินไปทำให้สุขภาพเสื่อมโทรม อาจกระตุ้นให้เกิดเจ็บป่วยได้

ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค พันธุ์กรรม ทุพโภชนาการ แทรกซึมเนื้อเยื่อ การได้รับเชื้อแบคทีเรีย สังขารที่อ่อนแอ การอยู่อาศัยแออัด ป่วย การติดเชื้อ ความยากจน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดโรค

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคติดเชื้อ 1. ตัวเชื้อโรค ( Agent) ☻ Pathogenicity หมายถึง ความสามารถของเชื้อโรคในการทำให้เกิดโรค ซึ่งดูได้จากสัดส่วนของจำนวนคนที่เกิดโรคต่อจำนวนคนที่สัมผัสโรค ☻Virulance หรือความรุนแรงของโรค หมายถึง ความสามารถในการที่เชื้อโรคสามารถแทรกซึมและทำให้เกิดโรคแก่ Host ได้ ซึ่งขึ้นกับ Infectivity

ปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดโรคติดเชื้อ ☻ Infective dose ของเชื้อโรค หมายถึง ปริมาณเชื้อโรคที่สามารถทำให้เกิดโรคในสังขารที่มีไวรับได้ ☻Reservoir หรือ รังโรค หมายถึง ที่อยู่เพื่อการเจริญเติบโตของเชื้อโรคที่มีทั้งในคน สัตว์ และสิ่งแวดล้อม ☻Source หรือแหล่งโรค คือ คนหรือวัตถุที่สังขารไปรับเชื้อมา ☻Carrier หรือพาหะ คือ ผู้ที่เคยป่วยเป็นโรคติดเชื้อแล้วหายแต่ยังคงมีเชื้อในร่างกาย หรือผู้ที่ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการ สามารถแพร่เชื้อต่อไปได้

การถ่ายทอดโรค (Transmission) การแพร่เชื้อจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง หรือจากคนหนึ่งไปสู่อีกคนหนึ่ง ซึ่งร่ายกายถ่ายทอดโรคได้ 2 วิธี ☻ถ่ายทอดโดยตรง (Direct Transmission) หมายถึง การถ่ายทอดเชื้อจากสังขารที่ติดเชื้อ หรือรังโรคไปอีกสังขารหนึ่งโดยตรงผ่านทางเข้าที่เหมาะสม ได้แก่ 1.ทางการสัมผัส เช่น การจูบ การมีเพศสัมพันธุ์ 2. การแพร่ดดยตรงจาก Droplets โดยการ ไอ จาม จากการถ่ายทอดเลือด หรือผ่านรก

2.การถ่ายทอดโรค (Transmission) ☻ถ่ายทอดทางอ้อม (Indirect Transmission) ได้แก่ 1.นำโดยวัตถุ ได้แก่ (Vehicle) ได้แก่อาหาร น้ำ เสื้อผ้า เครื่องนอน เครื่องครัว เครื่องมือทำสวนไร่ 2. นำโดยแมลง Vector – borne โดยการกัด การดูด ของแมลง เชื้ออาจจะเพิ่มหรือไม่เพิ่มจำนวนในแมลงก็ได้ 3. นำโดยอากาศในระยะไกล ( Long distance air borme transmission) ได้แก่ ละอองน้ำที่มีขนาดเล็กมาก ฝุ่นหรือสปอร์ของเชื้อรา

วิธีการถ่ายทอดโรค Direct Indirect Direct contact Droplet spread Airborne Vehicle borne Vector borne Mechanical Biologic

ธรรมชาติของการเกิดโรค (The natural history of disease) นิยายโรค หาย ระยะเวลา ร่างกาย สิ่งที่ทำให้เกิดโรค โรค พิการ ตาย

กรณีที่ไม่ได้รับการป้องกันหรือ รักษาโรค วงจรการเกิดโรคตามธรรมชาติ กรณีที่ไม่ได้รับการป้องกันหรือ รักษาโรค ระยะมีภูมิไวรับ (STAGE OF SUSCEPTIBILITY) ระยะเกิดโรคแต่ไม่มีอาการ SUBCLINICAL DISEASE) ระยะป่วยมีอาการ CLINICAL DISEASE) ระยะหายจากโรค พิการ หรือตาย (STAGE OF RECOVERY, DISABILITY AND DEATH) เกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย (PATHOLOGIC CHANGES) สัมผัสสาเหตุ (EXPOSURE) เริ่มมีอาการ (ONSET OF SYMPTOMS) วินิจัยโรคได้โดยการตรวจปกติ (USUAL TIME OF DIAGNOSIS)

ธรรมชาติของการเกิดโรค สุขภาพดี (Healthy) การส่งเสริมสุขภาพ (Health promotion) การป้องกันขั้น 1 (1o prevention) ระยะมีความไวต่อการเกิดโรค (Stage of susceptibility) การป้องกันเฉพาะโรค (Specific protection) ระยะก่อนมีอาการของโรค (Stage of preclinical disease) วินิจฉัยแต่แรกและรักษาทันที (Early diagnosis/prompt treatment) การป้องกันขั้น 2 (2o prevention) ระยะมีอาการของโรค (Stage of clinical disease) การจำกัดความพิการ (Disability limitation) การป้องกันขั้น 3 (3o prevention) ระยะมีความพิการ (Stage of disability) การฟื้นฟูสภาพ (Rehabilitation) หายหรือตาย (Recovery or death)

ระยะที่สำคัญเกี่ยวกับการติดเชื้อ ระยะไวต่อการรับเชื้อ ( Stage of Susceptibility) หมายถึง เป็นระยะที่ยังไม่ปรากฏอาการ แต่มีปัจจัยเสี่ยงที่จะเพิ่มโอกาสที่จะเกิดโรค ระยะก่อนเกิดอาการ (Stage of Presymptomatic Disease) ระยะนี้ยังไม่มีอาการแสดงของโรค แต่ผ่านระยะปฏิกิริยาของการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพแล้ว ตัวอย่าง เช่น เริ่มมีเส้นเลือดหัวใจตีบแต่ยังไม่มีอาการใดๆ

ระยะที่สำคัญเกี่ยวกับการติดเชื้อ ระยะเกิดอาการ ( Stage of Clinical Disease) หมายถึง ระยะนี้มีการเปลี่ยนแปลงที่อวัยวะแล้วและพบว่ามีอาการและอาการแสดง ระยะพิการ (Stage of Disability) ระยะนี้เกิดจากโรคที่ได้ดำเนินการมาจนถึงระยะสุดท้าย โดยอาจจะฟื้นหมดหรือมีความพิการหลงเหลืออยู่

ระยะที่สำคัญเกี่ยวกับการติดเชื้อ ระยะพัก ( Latent period) ในกรณีโรคติดเชื้อ หมายถึง ระยะที่เริ่มติดเชื้อจนกระทั่งสามารถเริ่มแพร่เชื้อได้ ระยะติดต่อ (Infectious period) ระยะเวลาที่ผู้ป่วยสามารถแพร่โรคให้กับคนอื่นได้ ระยะฟักตัว ( Incubation period ) กรณีโรคติดเชื้อ หมายถึง ระยะเวลาที่เริ่มติดเชื้อจนกระทั่งเริ่มมีอาการของโรค

ระยะที่สำคัญเกี่ยวกับการติดเชื้อ ระยะฟักตัว ( Incubation period ) กรณีโรคติดเชื้อ หมายถึง ระยะเวลาที่เริ่มติดเชื้อจนกระทั่งเริ่มมีอาการของโรค กรณีโรคไร้เชื้อ หมายถึง ระยะเหนี่ยวนำ ( induction ) ร่วมกับระยะพัก (latent) ดังนั้น Latent period กรณีโรคไร้เชื้อ หมายถึง ระยะเวลาตั้งแต่ไม่มีอาการจนกระทั่งมีอาการ

ระยะที่สำคัญเกี่ยวกับการติดเชื้อ Incubation period ระยะฟักตัวของโรค Period of communicability ระยะติดต่อของโรค Latent period Patent period ระยะเชื้อ ไม่ปรากฏ ระยะเชื้อปรากฏ ได้รับเชื้อ โรคปรากฏ การติดเชื้อยุติ การติดเชื้อปรากฏ เชื้อโรคหยุดออกจากร่างกาย

ระยะฟักตัว (Incubation period) ระยะมีภูมิไวรับ (STAGE OF SUSCEPTIBILITY) ระยะเกิดโรคแต่ไม่มีอาการ SUBCLINICAL DISEASE) ระยะป่วยมีอาการ CLINICAL DISEASE) ระยะหายจากโรค พิการ หรือตาย (STAGE OF RECOVERY, DISABILITY AND DEATH) เกิดการเปลี่ยนแปลงในร่างกาย (PATHOLOGIC CHANGES) สัมผัสสาเหตุ (EXPOSURE) เริ่มมีอาการ (ONSET OF SYMPTOMS) วินิจัยโรคได้โดยการตรวจปกติ (USUAL TIME OF DIAGNOSIS) ระยะเวลานับจากเชื้อเข้าสู่ร่างกายจนกระทั่งถึงวันเริ่มป่วย

ระยะฟักตัว (Incubation period) ไข้หวัดใหญ่มีระยะฟักตัว 1-3 วัน หมายความว่า ถ้าได้รับเชื้อไข้หวัดใหญ่ (ในปริมาณที่เพียงพอ) จะเริ่มมีอาการป่วยภายในอีก 1-3 วันหลังจากนั้น รับเชื้อไข้หวัดใหญ่ เริ่มมีอาการป่วย 1-3 วัน

ระดับของการระบาดของโรค Endemic: a low to moderate persistent disease level Sporadic: irregular occurrence with occasional cases Epidemic: outbreak Pandemic: epidemic that spreads over many countries

รูปแบบการระบาด (Epidemic patterns) แหล่งโรคร่วม (Common source outbreak) แหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source outbreak)

แหล่งโรคร่วม (Common source outbreak)

แหล่งโรคแพร่กระจาย (Propagated source outbreak)

ธรรมชาติของการเกิดโรคขาดสารอาหาร A : สารอาหาร H : อายุ เพศ สรีรวิทยา นิสัย ... E : ประชากร เศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ พิการ เรื้อรัง โรคขาดสารอาหาร เริ่มมีอาการ ขาดสารอาหาร ผิดปกติ ของการทำงาน ดึงสารอาหารสะสม ได้รับสารอาหารไม่พอทำงานปกติ ระยะก่อนเกิด ระยะเกิดโรค

ธรรมชาติของการเกิดโรคไข้เลือดออก A : ไวรัสเดงกี H : คนทุกกลุ่ม อายุ เพศ E : แมลงนำ โรค (ยุงลาย) ช็อก ตาย ซึม กระสับกระส่าย เลือดออก อวัยวะภายใน จุดเลือดออก ไข้สูง ปวดศีรษะ ได้รับเชื้อไวรัสเดงกี่ ระยะก่อนเกิด ระยะเกิดโรค

ธรรมชาติของการเกิดโรคเบาหวาน A : อินซูลิน H : อายุ เพศ น้ำหนักตัว กรรมพันธุ์ โรคประจำ E : เศรษฐกิจ สังคม ฯลฯ หัวใจ ตาย อวัยวะบกพร่อง ตามัว แผลหายช้า อาการ ; หิวบ่อย ปัสสาวะบ่อย .. เริ่มมีระดับน้ำตาล ในเลือดสูง อาการปกติ ระยะก่อนเกิด ระยะเกิดโรค