การจัดบริการในห้องปฏิบัติการ เพื่อสนับสนุนในการให้ยาต้านไวรัส เพื่อการป้องกันก่อนการสัมผัสเชื้อ (PrEP) และให้บริการยาต้านไวรัสโดยไม่คำนึงถึงระดับ ซีดี 4
Outline Diagnosis of HIV HIV Testing Monitoring ARV CD4 Viral Load Acute infection Monitoring ARV CD4 Viral Load Drug Resistance PrEP Service
การส่งเสริมการเข้าถึงการรักษาด้วยยาต้านไวรัส จะไม่ประสบผลสำเร็จถ้าไม่ส่งเสริมให้มีการตรวจแบบทั่วถึง ความครอบคลุมของการเข้าถึงยาต้าน จะไม่สำเร็จ หากไม่มีการส่งเสริมการตรวจให้ครอบคลุม หากไม่พบว่ามีการติดเชื้อ จะไม่สามารถรักษาได้
A dynamic environment: Fast Track Targets for ending the AIDS epidemic have emerged - ART scale-up to > 28 million in 2020 เป้าหมายระดับโลก มุ่งสู่การยุติเอดส์ ซึ่งองค์การอนามัยโลกวางเป้าหมายที่จะขยายการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ ให้ได้ 28 ล้าน คน ในปี พ.ศ.2563 โดยกำหนดเป้าหมายการรักษา เป็น 90-90-90 ในปี พ.ศ.2563 กล่าวคือ ร้อยละ 90 ของผู้ติดเชื้อได้ตรวจเอชไอวี ร้อยละ 90 ของผู้ที่รู้ว่าติดเชื้อฯได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯ และร้อยละ 90 ของผู้ที่ได้รับการรักษาด้วยยาต้านไวรัสฯกดปริมาณไวรัสได้ ซึ่งหากทำได้ตามนี้ คาดว่าจำนวนผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ที่เป็นผู้ใหญ่จะลดลงเหลือ 500,000 ราย ปี พ.ศ.2573 เป้าหมายการรักษาเป็น 95-95-95 ซึ่งจะมีผู้ติดเชื้อฯรายใหม่ลดลงเหลือ 200,000 ราย ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2563 การจะยุติเอดส์ได้ ต้องทำให้ได้ตามเป้าหมาย 90-90-90 ในปี พ.ศ.2563 และ 95-95-95 ในปี พ.ศ.2573 และเป็นบริการที่มีคุณภาพ ทั้งนี้การยุติเอดส์เป็นเป้าหมายหนึ่งของการพัฒนาที่ยั่งยืน และการจัดระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้าเป็นส่วนสำคัญที่นำไปสู่เป้าหมาย
มีทั้งเรื่องการดูแลรักษา ปัองกัน งาน PrEP อยู่ยุทธ1+3
กรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์: ไม่มีผู้ติดเชื้อเอชไอวีรายใหม่ ไม่มีผู้เสียชีวิตที่เกี่ยวเนื่องจากเอดส์ ไม่มีการตีตราและเลือกปฏิบัติ RECRUIT Face-to-face peer outreach online outreach and other new outreach activities TEST Same-Day Result HIV testing Community-based HIV testing HIV testing in friendly facilities TREAT Linking to ART Community-based ART Hospital-based ART RETAIN Regular communication with target populations Enhance adherence (HIV+ and HIV-) National strategies for HIV prevention Recruit-Test-Treat-Retain Cascade ให้ดูกรอบปฏิบัติงานเชิงยุทธศาสตร์อีกครั้ง เน้นย้ำว่า RRTTR ต้องต่อเนื่อง ในการพัฒนาระบบให้เข้มแข็ง มีทั้งส่วนบริการของสถานพยาบาล บริการโดยชุมชน และระบบข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์และการติดตามประเมินผล ที่สำคัญต้องทำให้เรื่องเอชไอวีเป็นเรื่องปกติ และการตรวจเอชไอวีเป็นปกติวิสัย ต่อไปจะได้กล่าวในรายละเอียดของ RRTTR
TEST การตรวจเอชไอวี ผลลัพธ์: ครอบคลุมการตรวจเอชไอวีเพิ่มขึ้น ประชากรหลัก รู้สถานะการติดเชื้อ ของตนเองมากขึ้น คนที่ติดเชื้อฯได้รับการ วินิจฉัยแต่แรกเริ่ม และได้รับการส่งต่อเพื่อการรักษา แนวคิดหลัก: เพิ่ม หน่วยบริการในระดับชุมชน ขยายบริการตรวจเอชไอวีที่สามารถแจ้งผลได้ภายในวันเดียว และมี บริการที่เป็นมิตร ต่อกลุ่มประชากรหลัก นวัตกรรมสำคัญ: บริการตรวจเอชไอวีที่สามารถแจ้งผลได้ในวันเดียวในระดับชุมชนที่ดำเนินการโดยองค์กรชุมชน หน่วยเคลื่อนที่และในสถานบริการ, บริการสายด่วนเพื่อให้คำปรึกษาก่อนการตรวจเอชไอวี, การวิจัยเชิงปฏิบัติการเรื่องการตรวจเอชไอวีด้วยตัวเองที่บ้าน การสร้าง Brand บริการที่มีคุณภาพ และเป็นมิตรต่อประชากรหลัก
Updated HIV testing Algorithm (Thailand) การตรวจในไทยเป็น VCT
เพิ่มการตรวจที่แรกคลอด-7วัน เพื่อให้เด็กได้กินยาและรับการรักษาได้เร็วขึ้น แต่ยังไงต้องตรวจที่ 24 เดือนอีกครั้ง
HIV testing Technology จากอดีตถึงปัจจุบัน มีการผลิตน้ำยาที่ใช้ตรวจหาแอนติบอดีได้ มาแล้ว 4 รุ่น เรียกว่า generation หรือที่หลายคนอาจเคยได้ยินว่า 1st 2nd 3rd หรือ 4th gen แต่ละรุ่นก็แตกต่าง กัน ระยะเวลาที่ตรวจเจอการติดเชื้อก็แตกต่าง กัน โดยรุ่น 1 ก็จะตรวจเจอได้ช้าหน่อย รุ่น 2ก็ดีขึ้น รุ่น 3 ดีขึ้นอีกนิด ปัจจุบัน รุ่น 4 ก็จะตรวจหาได้เร็วสุด เพราะมีการเพิ่มนอกจากตรวจแอนติบอดีแล้ว ก็สามารถตรวจ แอนติเจนได้ด้วย ในเวลาเดียวกัน
Symptoms Laboratory marker Frequency % Fever 96 Enlarged lymph nodes 74 Sore throat 70 Rash Sore muscles or joints 54 Low platelets 45 Low WBC 38 Diarrhea 32 Headache Nausea/vomiting 27 Elevated liver enzymes 21 Enlarged liver/spleen 14 Thrush 12 Neuropathy 6 Encephalopathy Lab test Result HIV RNA (PCR) Positive P24 Ag 4th generation EIA 3rd generation EIA Negative HIV Acute infection Accute infection
Laboratory for Monitoring ARV ก่อนรับยาต้านไวรัส หลังรับยาต้านไวรัส เมื่อทราบว่าติดเชื้อครั้งแรก ขณะยังไม่รับยาต้านไวรัส ก่อนเริ่มยา 3 เดือน ทุก 6 เดือน ทุก 12 เดือน เมื่อการรักษาล้มเหลว หรือเปลี่ยนสูตรยา 1 เมื่อมีอาการทางคลินิก CD4 count HIV Viral load หลังเริ่มยาใหม่ Drug Resistance test Hepatitis B and C Basic Chemistry 3 ALT CBC Lipid profile (TC TG LDL HDL) Fasting glucose Urinalysis Pap Smear Pregnancy test
การส่งตรวจต่างๆ ทางห้องปฏิบัติการ การทดสอบ หลักการ ชนิดตัวอย่างตรวจ ปริมาณตัวอย่าง การนำส่งตัวอย่างตรวจ การเก็บรักษาตัวอย่างตรวจ Anti-HIV testing ELISA, Agglutination Test, Dot/Line Test Clotted blood Serum หรือ Plasma 5 mL 1 mL นำส่งห้องปฏิบัติการภายใน 24 ชม. 2 – 8 ºC HIV viral testing (1) Nucleic acid amplification testing (NAT) EDTA blood EDTA Plasma Dried Blood Spot 2-3 mL ภายใน 1 สัปดาห์ อุณหภูมิห้อง CD4+ T-cell count Flow cytometry นำส่งห้องปฏิบัติการภายใน 6 ชม. (อุณหภูมิ 18-25 ºC ห้ามแช่แข็ง) (18-25 ºC) Viral load testing (HIV-1 RNA) RT-PCR, NASBA และ Real Time PCR 6-9 mL จำนวน 2 หลอด หลอดละ 1.5 mL หากไม่สามารถปั่นแยกพลาสมาได้ ให้นำส่งห้องปฏิบัติการภายใน 6 ชม. (แช่เย็น 4 ºC) ปั่นแยกพลาสมาเก็บที่ 4-8 ºC ภายใน 24 ชม.?? หรือแช่แข็งตลอดเวลาก่อนตรวจ และนำส่งในน้ำแข็งแห้ง Genotypic Drug Resistance testing Sequencing Analysis 6-9 mL จำนวน 2 หลอด หลอดละ1.5 mL หากไม่สามารถปั่นแยกพลาสมาได้ ให้นำส่งห้องปฏิบัติการภายใน 6 ชม. ปั่นแยกพลาสมาภายใน 6 ชม. เก็บที่ 4-8 ºC ภายใน 24 ชม.หรือแช่แข็งตลอดเวลาก่อนตรวจและนำส่งในน้ำแข็งแห้ง
การส่งตรวจเพื่อติดตามผลการรักษา CD4 มีความสำคัญในการตรวจน้อยลง VL มีเป็น Marker ที่ดีและไวกว่าในการติดตามผลของการรักษาด้วยยาต้าน ส่งตรวจ HIV DR ทันทีเมื่อ VL หลังกินยาแล้วกลับขึ้นมาสูงอีก ขยากการครอบคลุมการส่งตรวจ VL