ที่มาของระบบคุณภาพ ISO 9000 ปี ค.ศ. 1978 ( พ.ศ.2521 ) มาตรฐานแห่ง เยอรมนี (DIN) มีแนวคิดว่า ควรมีการนำระบบมาตรฐานของแต่ละประเทศ ที่ไม่เหมือนกัน มารวมกันเป็นมาตรฐานเดียวกัน องค์การมาตรฐานสากล (ISO) มีความคิดเห็นตรงกับ DIN จัดตั้งคณะกรรมการด้านเทคนิค ( Technical Committee )ในนาม ( ISO /TC 176 ) เพื่อพัฒนาระบบคุณภาพสำหรับการพาณิชย์และอุตสาหกรรม
ปี ค.ศ. 1979 ( พ.ศ.2522 ) สถาบันมาตรฐานแห่งอังกฤษ (BSI) ได้พัฒนาระบบประกันคุณภาพให้เหมาะสมกับการใช้ เชิงพาณิชย์ ชื่อว่า (BS 5750) สอดคล้องกับความต้องการของ ISO / TC 176 ปี ค.ศ. 1987 ( พ.ศ. 2530 ) องค์การมาตรฐานสากล (ISO) ตีพิมพ์และประกาศเป็นมาตรฐาน ชื่อ อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 ( ISO 9000 Standard Series)
(ในปี ค.ศ.1994 ( พ.ศ. 2537) เปลี่ยนชื่อเป็น (BS /EN/ISO 9000 ) www.themegallery.com BS 5750 สหราชอาณาจักร (ในปี ค.ศ.1994 ( พ.ศ. 2537) เปลี่ยนชื่อเป็น (BS /EN/ISO 9000 ) Q 90 สหรัฐอเมริกา EN 29000 ตลาดร่วมยุโรป JIS Z 9900 ญี่ปุ่น มอก. ISO 9000 ไทย Company Logo
องค์การมาตรฐานสากล (องค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน) หรือ ISO ก่อตั้งปี ค.ศ. 1946 (พ.ศ. 2489) กรุงเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ISO/TC 176 แบ่งอนุกรมมาตรฐาน ISO 9000 เป็น 5 ชุด จากนั้นมีการปรับปรุง ระบบคุณภาพ ISO 9000 ISO 9001:2000 (ประกาศใช้ 15 ธันวาคม 2543)
ISO 9000 คืออะไร ? ISO 9000 เป็นระบบคุณภาพ ที่ใช้ในการประกันคุณภาพ และการบริหารกระบวนการต่างๆ ในองค์กรของผู้ส่งมอบ (Supplier) หรือผู้ผลิต (Manufacture) หรือ ผู้ให้บริการ ระบบคุณภาพ ISO 9000 ไม่ใช่เป็นระบบที่ใช้ในการรับประกันคุณภาพ ของตัวผลิตภัณฑ์ และไม่สามารถนำเครื่องหมายของการผ่านการรับรองไปประทับลงบนตัวผลิตภัณฑ์ได้
กิจกรรมกระบวนการ INPUTS OUTPUTS เงื่อนไขต่างๆ ที่ใส่เข้าไป ผลลัพธ์ตามที่ลูกค้าต้องการ คน (Man) - ผลิตภัณฑ์ (Product) เครื่องจักร (Machine) - ข่าวสาร (Information) วิธีการ (Method) - ความพึงพอใจของลูกค้า วัสดุ (Material) (Satisfaction) ความต้องการของลูกค้า (Customer Needs) กิจกรรมกระบวนการ
ประโยชน์ที่ได้รับจากการนำระบบคุณภาพ ISO 9001:2000 มาใช้งาน ประหยัดค่าใช้จ่าย จากการที่มีการทำงานเป็นระบบในระยะยาว เพิ่มประสิทธิผลในการทำงาน พนักงานมีจิตสำนึกในเรื่องของคุณภาพมากขึ้นลดข้อร้องเรียนจากลูกค้า สร้างพนักงานให้มีวินัยในการทำงาน ทำให้เกิดพัฒนาการทำงานเป็นทีมหรือเป็นกลุ่ม มีการประสานงานที่ดี และสามารถพัฒนาตนเอง ตลอดจน เกิดทัศนคติที่ดีต่อการทำงาน
การจัดองค์กร การบริหารงาน การผลิต ตลอดจนการให้บริการมีระบบ และมีประสิทธิผล ผลิตภัณฑ์และการบริการ เป็นที่พึงพอใจของลูกค้า หรือผู้รับบริการ ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีแก่องค์กร สร้างโอกาสทางการค้าสำหรับตลาดใหม่ และสามารถเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันกับองค์กรขนาดใหญ่ได้
วัตถุประสงค์ทางด้านคุณภาพ KPI : ดัชนี หรือตัวชี้วัดผลการดำเนินงาน /การปฏิบัติงาน ว่าเป็นไปตามเป้าหมาย /วัตถุประสงค์คุณภาพ ที่กำหนดไว้หรือไม่ วัตถุประสงค์คุณภาพ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ระดับองค์กร (บริษัท) ระดับฝ่าย ระดับแผนก (หน่วยงาน)
ตัวอย่างของวัตถุประสงค์คุณภาพ www.themegallery.com อัตราของเสียจากการผลิตสาร A (สารAที่ผลิตได้ ไม่เป็นไปตามข้อกำหนด /Spec.) ไม่เกิน 3% อัตราการร้องเรียนของลูกค้า ไม่เกิน 5 ครั้ง จำนวนสารB(วัตถุดิบ) ที่ไม่ถูกทำปฏิกิริยาทางเคมี ในการผลิตสารA ไม่เกิน 5% Company Logo
เอกสารที่ใช้ในระบบคุณภาพ ขั้นตอนการดำเนินงาน (QP) วิธีการปฏิบัติงาน (WI) แบบฟอร์ม /บันทึกคุณภาพ (FM) เอกสารสนับสนุน จากภายนอก /ภายใน (SD)
THE END