Main board.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการเลือกตั้งคณะกรรมการสวัสดิการในสถานประกอบกิจการ ประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 22 พฤษภาคม.
Advertisements

การผลิตบ่อพัก ทำเอง ใช้เอง หจก. มภัสกาญ คอนสตรัคชั่น
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
เฉลยใบงานที่ 1 องค์ประกอบและหลักการทำงานของคอมพิวเตอร์
HP- HP Pavilion dv6-3022TX ราคา 59,900 บาท. CPU : Intel Core i7-720QM (1.60GHz/L3 6 MB/QPI) Memory : 8GB DDR3 Harddisk : 640 GB 5400RPM Graphics : ATi.
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทที่2 การวางแผนการผลิตและกำลังการผลิต
กระบวนการของการอธิบาย
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ครั้งที่ 7 รีจิสเตอร์ (REGISTER). รีจิสเตอร์ (Register) รีจิสเตอร์เป็นวงจรความจำที่ใช้ในการเก็บค่า ทางไบนารี่ ใช้ในการเก็บค่าในระหว่างการ ประมวลผลโดยใช้ฟลิป.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
เตชิษฐ์ เรือง ไพศาล.  คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟฟ้า กระแสตรงทำงาน  ข้อมูลภายในเป็นข้อมูลดิจิตอล  …..  แทนข้อมูลเหล่านี้ด้วยแรงดันไฟฟ้า.
วิธีการเลือกซื้อ คอมพิวเตอร์. เนื้อหาในส่วนนี้จะให้รายระเอียดและขั้นตอน ในการเลือกซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เราได้เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ตรงกับความ.
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
การเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่างๆ การเชื่อมต่อเมาส์และ คีย์บอร์ด การเชื่อมต่อจอภาพ 1 2 ช่องเสียบหัวต่อ สายไฟ เข้ากับตัวเครื่อง และสายจอภาพ จอภ าพ คีย์บอ.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
Gas Turbine Power Plant
Content Team: คู่มือการป้องกันสินค้าลอกเลียนแบบ 9 July 2015
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part3.
เคสและเพาเวอร์ซัพพลาย
Information and Communication Technology Lab2
แนวทางการออกแบบโปสเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
การบัญชีต้นทุนช่วง (Process Costing).
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
กลุ่มคำและประโยค ภาษาไทย ม. ๓
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ชุดที่ 1 ไป เมนูรอง.
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
SMS News Distribute Service
บทที่7 ทฤษฎีกราฟเบื้องต้น
สร้างภูมิคุ้มกัน (แสงหิ่งห้อย)
การทดลองหาค่าความแน่นของดินที่มีเม็ดผ่านตะแกรงขนาด 19.0 มม. 1 เติมทรายลงในขวดซึ่งประกอบเข้ากับกรวยเรียบร้อย แล้วให้มีปริมาณเพียงพอสำหรับการใช้งาน.
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
โซ่อุปทานและโลจิสติกส์ ญาลดา พรประเสริฐ คณะวิทยาการจัดการ
Multimedia และระบบความจริงเสมือน Virtual Reality, VR
บทที่ 9 การเรียงลำดับข้อมูล (Sorting)
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
ขดลวดพยุงสายยาง.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
บทที่ 15 การติดตั้งระบบและการทบทวนระบบงาน.
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
เครื่องโทรศัพท์ติดต่อภายใน intercommunication
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
บทที่ 7 การบัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Main board

เมนบอร์ด(MAIN BOARD)  เมนบอร์ด (mainboard) หรือที่เรียกอีกชื่อว่า มาเธอร์บอร์ด (Motherboard)  คือ  แผงวงจรขนาดใหญ่ที่รวบรวมเอาส่วนประกอบหลัก ๆ ที่สำคัญของคอมพิวเตอร์เข้าไว้ด้วยกัน มีลักษณะลักษณะเป็นแผ่น circuit board รูปร่างสีเหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งเต็มไปด้วยวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ซับซ้อน  ดังนั้นเมนบอร์ดจึงเป็นเสมือนกับศูนย์กลางในการทำงานและเป็นศูนย์กลางในการเชื่อมต่อกับอุปกรณ์อื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นซีพียู แรม ฮาร์ดดิสก์ ซีดีรอม ฟล็อปปี้ดิสก์ การ์ดต่าง ๆ

ชนิดของเมนบอร์ด แบ่งเป็น 4 ชนิดคือ 1.แบบ AT 2.แบบ ATX 3.micro ATX     ชนิดของเมนบอร์ด แบ่งเป็น 4 ชนิดคือ    1.แบบ AT    2.แบบ   ATX     3.micro ATX     4.แบบ FlexATX

ชนิดของเมนบอร์ด ลักษณะโครงสร้าง AT เป็นเมนบอร์ดที่มีความกว้างและความยาวใกล้เคียงกันคล้ายสี่เหลี่ยมผืนผ้า  ขั้วรับไฟมี 12 ขา การปิด  เครื่องใช้สวิทซ์เป็นตัวควบคุม ATX เป็นเมนบอร์ดมาตรฐานใหม่ ลักษณะคล้ายกับ AT แต่ขนาดเล็กกว่า  เมนบอร์ดรุ่นนี้ได้รับการออกแบบ  ให้ซีพียูและหน่วยความจำอยู่ใกล้กัน ตลอดจนซีพียูถูกวางไว้ใกล้กับพัดลมระบายความร้อน นอกจากนี้ ยังกำหนดตำแหน่งและสีของช่องสำหรับอุปกรณ์ต่อไว้ต่างกันเพื่อให้จดจำง่าย รวมทั้งสามารถสั่งปิด   เครื่องจากระบบปฏิบัติการโดยไม่ต้องกดสวิทซ์มีขนาด 12 นิ้ว x 9.6 นิ้ว Micro ATX ลักษณะคล้ายกับรุ่น ATX แต่ลดจำนวนสล็อตเหลือเพียง 3 – 4 สลอต เพื่อทำให้ราคาจำหน่ายถูกลงมีขนาดเพียง 9.6 นิ้ว คูณ 9.6นิ้ว Flex ATX เป็นเมนบอร์ดแบบ ATX ที่มีขนาดเล็กที่สุด เมนบอร์ดชนิดนี้มักมีอุปกรณ์ Onboard มาด้วยตอนผลิตขนาดเมนบอร์ดเพียง 9 นิ้ว     คูณ 7.5 นิ้ว

ส่วนประกอบของเมนบอร์ด

ชิปเซต ( Shipset ) หากเมนบอร์ดถือเป็นส่วนประกอบสำคัญของเครื่องพีซีแล้วละก็ ชิปเซตก็เปรียบได้กับหัวใจของเมนบอร์ด เพราะชิปเซตเป็นตัวกำหนดว่าอุปกรณ์ต่างๆ ที่ต่ออยู่กับเมนบอร์ดจะต้องมีข้อจำกัดอย่างไร เช่น ชนิดของแรม , ประเภทของฮาร์ดดิสก์ และหารต้องการติดต่อไปยังซีพียู ก็ต้องผ่านการควบคุมและจัดลำดับความสำคัญผ่านทางชิปเซตเหล่านี้ก่อน ซึ่งลักษณะชิปเซตจะเป็นอุปกรณ์อิเลคทรอนิกส์ตัวหนึ่งที่ถูกเชื่อมต่อไว้อย่างถาวรบนเมนบอร์ด ฉะนั้นชิปเซตจึงเป็นตัวที่กำหนดคุณลักษณะที่สำคัฐของเมนบอร์ดในแต่ละรุ่น แต่ละยี่ห้อว่าสามารถใช้งานกับซีพียู และอุปกรณ์รอบข้างอื่นๆ ประเภทใดบ้าง โดยชิปเซตเองก็มีอยู่หลายยี่ห้อด้วยกัน เช่น VIA , Intel , SiS , AMD , nVidia เป็นต้น จะเห็นว่าชิปเซตของทาง Intel และ AMD เป็นชิปเซตที่ถูกผลิตโดยบริษัทเดียวกันกับที่ซีพียู แต่ใช่ว่าชิปเซตยี่ห้อเดียวกันกับซีพียูที่ตนเองผลิตจะทำงานด้วยกันได้ดีเสมอไป

สล็อต ขีดความสามารถของเมนบอร์ดขึ้นอยู่กับการมีสล็อต และลักษณะชนิดของสล็อต เพราะหากมีสล็อตหลายสล็อตก็หมายถึงการขยายหรือ เพิ่มอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์อื่นได้ แต่หากมีจำนวนสล็อตมาก ก็หมายถึงราคาของเมนบอร์ดก็สูงขึ้น ชนิดของสล็อตที่มีกับเมนบอร์ดประกอบด้วย      4.1.PCI เป็นสล็อตที่มีไว้สำหรับเพิ่มฮาร์ดแวร์ต่าง ๆ เช่น เพิ่มการ์ดเชื่อมต่อแลน การ์ดวิดีโอ การ์ดเสียง จำนวนสล็อต PCI มี   แตกต่างกัน โดยทั่วไปจะมีให้ตั้งแต่ 2 ถึง 6 สล็อต

4.2.DIMM เป็นช่องใส่หน่วยความจำ ซึ่งปกติใช้ได้กับ DDRAM แต่ในบางเมนบอร์ดจะมีสล็อตที่เป็น SDRAM โดยเฉพาะนั่น   หมายถึง นำ DDRAM มาใช้ไม่ได้ แต่ถ้าเป็น DIMM สล็อตจะใช้ได้ทั้ง SDRAM และ DDRAM โดยปกติจะมีช่องใส่หน่วยความจำ   แบบนี้อยู่ 2 ถึง 4 ช่อง เพราะหน่วยความจำที่ใช้มีความจุต่อการ์ดสูงขึ้น จึงไม่จำเป็นต้องใช้ช่องมากเหมือนเมื่อก่อน 4.3.AGP ย่อมาจาก Accerelator Graphic Port เป็นสล็อตสำหรับใส่การ์ดจอภาพแสดงผล ซึ่งเน้นในเรื่องความเร็วของการแสดงผลกราฟิกส์ ปัจจุบันมีผู้ผลิตการ์ดแสดงผลที่ต้องการแสดงผลได้เร็ว โดยเฉพาะพวกเกม 3D เทคโนโลยี AGP จึงต้องทำให้การถ่ายโอนข้อมูลแสดงผลเป็นไปอย่างรวดเร็ว ปัจจุบันเป็นเทคโนโลยีที่ทำให้ความเร็วสูงขึ้น โดยวัดความเร็วเป็นจำนวนเท่าของมาตรฐานปกติ    เช่น 4x คือ สี่เท่า

4.4.Ultra DMA/100 DMA ย่อมาจาก Direct Memory Access เป็นช่องทางของการถ่ายโอนหน่วยความจำกับอุปกรณ์อินพุตเอาท์พุตที่มีการโอนย้ายข้อมูลเป็นบล็อก และต้องการความรวดเร็ว พอร์ตที่ใช้ DMA แบบนี้คือ ฮาร์ดดิสค์ ฟลอปปี้ดิสค์ ซีดีและดีวีดี เป็นต้น ช่องทางนี้ จึงเป็นช่องทางเชื่อมกับฮาร์ดดิสค์หรือซีดีรอม ถ้ามี Ultra DMA สองช่องก็หมายถึงมีสายเชื่อมไปยังฮาร์ดดิสค์ที่จะต่อเข้า        เมนบอร์ดได้สอง เส้น แต่ละเส้นต่อได้สองไดร์ฟ นั่นหมายถึงใส่ฮาร์ดดิสค์ได้สี่ไดร์ฟ

ซ็อกเก็ตติดตั้งแรม ( RAM Socket ) ซ็อกเก็ตหรือช่องสำหรับติดตั้งแรมหรือหน่วยความจำนั้น จะมีหลายแบบขึ้นอยู่กับว่าเมนบอร์ดแต่ละตัวใช้ชิปเซตที่สนับสนุนแรมชนิดใด ซึ่งในปัจจุบันนี้จะมีทั้ง SDRAM , DDRRAM และ RDRAM โดยแรมแต่ละแบบจะมีลกษณะของซ็อกเก็ตหรือช่องเสียบที่ต่างกัน อย่างเช่นมีรอยบากบนช่องใส่แรมแต่ต่างกันหรือจำนวนขาที่ต่างกัน เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ใช้ใส่แรมผิดประเภทกับที่เมนบอร์ดกำหนดไว้ สำหรับตำแหน่งที่มีการติดตั้งซ็อกเก็ตแรมบนเมนบอร์ด ต้องคำนึงถึงความสะดวกสบายในการถอดเข้า-ออกของแรมด้วย โดยไม่ให้อยู่ใกล้กับฐานสำหรับใส่ซีพียูมากจนเกินไปนัก เพราะถ้ามีการติดตั้งฮีตซิงค์ของซีพียูขนาดใหญ่ลงไป อาจทำให้เราเสียเนื้อที่ของช่องใส่แรมในบางส่วนได้

ซ็อกเก็ตติดตั้งซีพียู ( Socket CPU ) ซ็อกเก็ตเป็นชนิดของฐานที่อยู่บนเมนบอร์ด ( บางครั้งหากซีพียูเป็นแบบการ์ด ก็จะมีช่องใส่แบบสล๊อต ( slot ) ) มีไว้สำหรับติดตั้งซีพียู ซึ่งลักษณะของซ็อกเก็ตบนเมนบอร์ด จะเป็นฐานบางๆ และรอบๆฐานนั้น ก็จะมีรูมากมายตามจำนวนขาของซีพียูที่จะนำมาใส่นั้นดูต่างกัน และวางตำแหน่งแยกโดดเดี่ยวออกมาบนเมนบอร์ด ในยุคแรกนั้น จะมีเฉพาะซีพียูที่มีลักษณะเป็นซ็อกเก็ต ต่อมาทางอินเทลซึ่งถือว่าเป็นผู้นำในการผลิตซีพียูในยุคนั้น ได้มีความคิดที่จะผลิตซีพียูที่มีลักษณะเป็นการ์ดมาเสียบลงบนฐานสล็อตในเมนบอร์ด พอมาถึงในปัจจุบัน หลังจากที่เทคโนโลยีสารกึ่งตัวนำได้พัฒนาไปมากขึ้น และราคาต้นทุนที่ถูกกว่าการผลิตซีพียูแบบสล็อตผู้ผลิตซีพียูจึงกลับมาผลิตซีพียูในลักษณะของซ็อกเก็ตอีกครั้ง

ถ่านซีมอส ( CMOS Battery ) ถ่านหรือแบตเตอรี่สำหรับสำรองข้อมูลของซีมอส ( CMOS : Com;lementaru Metal Oxide Semiconductor ) ในขณะที่เครื่องพีซีถูกปิดอยู่ โดยในส่วนของซีมอสนี้จะใช้เก็บข้อมูลของการตั้งค่าต่างๆ ของอุปกรณ์ที่นำมาต่อกับเมนบอร์ด เช่น ข้อมูลทางกายภาพของฮาร์ดดิสก์ จำนวนแรมที่ติดตั้งลงไปบนเมนบอร์ด หรือแม้แต่สาฬิกาของระบบ

ชิปรอมไบออส ( ROM BIOS ) รอมไบออส ( BIOS : Basic Input/Output System ) เป็นส่วนที่บรรจุคำสั่งควบคุมการบู๊ตเครื่องในช่วงเปิดเครื่องครั้งแรก และควบคุมการรับส่งข้อมูลของอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ต่างๆ ที่ต่ออยู่กับเครื่องพีซี ให้สามารถทำงานได้โดยปกติไม่ติดขัด ซึ่งคำสั่งของการควบคุมและตรวจสอบอุปกรณ์เหล่านี้ ได้ถูกบรรจุอยู่ในหน่วยความจำประเภทหนึ่งซึ่งเรียกว่า " Flash Memory " โปรแกรมไบออสจะถูกเรียกขึ้นมาทำงานหลังจากที่เปิดเครื่องคอมฯ ขึ้นมา โดยทำการตรวจสอบอุปกรณ์ฮาร์ดแวร์ที่ต่ออยู่กับเมนบอร์ด ว่ายังสามารถทำงานได้ถูกต้องอยู่หรือไม่ อย่างเช่น ฮาร์ดดิสก์ , คีย์บอร์ด , ซีดีรอม หรือ แหล่งจ่ายไฟจนกระทั่งไปออสได้ ส่วนการทงานต่าฃอไปยังระบบปฏิบัติการพวก Windows หรือ Linux เพื่อเข้าสู่การทำงานต่อไป ซึ่งไปออสนี้สามารุอัพเดตให้ทันสมัยได้ เพื่อจะได้รู้จักกับอุปกรณ์รุ่นใหม่ๆ ที่นำมาต่อกับเมนบอร์ดได้

พอร์ตเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อพ่วง ( Peripheral Ports ) พอร์ตเชื่อมต่ออุปกรณ์ต่อพ่วง เป็นส่วนที่ใช้เชื่อมต่อกับอุปกรณ์ภาพนอก เพื่อนำข้อมูลหรือส่งข้อมูลออกจากเครื่อง ซึ่งพอร์ตต่างๆ ที่ควรรู้จักมีดังนี้

PS/2 Port เป็นช่องที่ใช้ต่อกับคีย์บอร์ดและเมาส์ USB Port เป็นช่องที่ใช้ต่อกับอุปกรณ์ที่สนับสนุนการเชื่อมโยงแบบ USB เช่น กล้องดิจิตอล กล้องถ่ายวิดีโอดิจิตอล เครื่องสแกนเนอร์ ฯลฯ ซึ่งได้รับความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน RJ-45 LAN Port ช่องนี้พบได้บนเมนบอร์ดที่สนับสนุนการเชื่อมต่อเครือข่าย ซึ่งเมนบอร์ดที่มีพอร์ตดังกล่าวก็ไม่จำเป็นที่ต้องซื้อการ์ดแลดมาติดตั้ง Parallel Port หรือ LPT Port เมื่อก่อนจะใช้ช่องนี้ต่อเข้ากับเครื่องพริ้นเตอร์ จนทำให้หลายคนเรียกพอร์ตนี้ว่า " Printer Port " แต่ในปัจจุบันเริ่มมีการใช้งานน้อยลง เพราะพรินเตอร์ส่วนใหญ่จะมีช่อง USB ซึ่งเร็วกว่ามาให้แทน Serial Port หรือ COM Port เป็นช่องที่ใช้สำหรับเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ที่มีการรับส่งข้อมูลแบบอนุกรม เช่น โมเด็ม หรือ ใช้เชื่อมโยงระหว่างพีซี 2 เครื่อง เป็นต้น MIDI/Game Port & Sound Connector เป็นช่องที่จะพบได้เฉพาะเมนบอร์ดแบบที่มี Sound on Board ทำให้ประหยัดเงินในการซื้อ Sound Card

ที่มา http://kroo.ipst.ac.th/wkv/mainboard.html http://www.expert2you.com/view_question2.php?q_id=6871 http://www.mwk.ac.th/data/com%2032162/com_part1/mainboard/mainboard.htm http://www.cmct.ac.th/wp/sedtaphop470911/main_2.html