Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนภูมิที่ 1 แสดงการรักษาโรค Croup
Advertisements

Arterial Blood Gas Interpretation
Risk management รศ.นพ.จรัล กังสนารักษ์.
Adjunctive Pharmacotherapy In Sepsis
Pre hospital and emergency room management of head injury
สุรัตน์ มนต์ประสาธน์ RN ICU
การเตรียมพร้อมผู้ป่วยก่อนการส่งต่อ
Fluid and Electrolyte imbalance
Oxygen Therapy Patchanee Pasitchakrit Department of Anesthesiology
SEPSIS.
ร.ท.นพ.วิศรุต การุญบุญญานันท์ รพ.ภูมิพลอดุลยเดช
Diabetes mellitus By kraisorn inphiban.
Role of nursing care in sepsis
Shock ผศ.พญ.รพีพร โรจน์แสงเรือง ภาควิชาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
1. การแนะแนวและระบบช่วยเหลือ
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
Dr. Wongsakorn Boonkarn Medicine
Facilitator: Pawin Puapornpong
โรคเลปโตสไปโรซีส(ไข้ฉี่หนู) Leptospirosis
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาระบบทางเดินปัสสาวะ ในภาวะฉุกเฉินและเรื้อรัง
Flow chart การบริการคลินิกสุขภาพเด็กดี รพ.สต อ.เมือง จ.ขอนแก่น
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
Antimicrobial Therapy in Adult Patient with Sepsis
การพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วย
งานอุบัติเหตุและฉุกเฉิน โรงพยาบาลสุรินทร์ Emergency Room Surin Hospital
ดร.ฐิตวันต์ หงษ์กิตติยานนท์ ภาควิชาการพยาบาลจิตเวช
จารุพร ตามสัตย์ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ(APN)
Essential nutrition in ICU
การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ
Fluid management in surgical patients: Current controversies.
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
The Child with Respiratory dysfunctionII
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน
คุณภาพแบบเรียบง่าย ผ่อนคลายด้วย SPA
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
การแปลผล ABG ศรีวรรณ เรืองวัฒนา.
สถานการณ์โรคไตเรื้อรัง ทิศทางนโยบาย
Orthopaedic Emergency นงลักษณ์ อนันต์ประดิษฐ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้นวัตกรรม
ยาที่ใช้ในระบบทางเดินหายใจ
ประชุมวิชาการ ระดับ รพ.สต. วันที่ 13 พฤศจิกายน 2560 รพ.สิรินธร ขอนแก่น
The Child with Renal Dysfunction
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
นายแพทย์ไชยนันท์ ทยาวิวัฒน์ สาธารณสุขนิเทศก์ เขตสุขภาพที่ 2
การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560
คณะที่ 2 พัฒนาระบบบริการ (Service plan)
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
โภชนาการ เด็กวัยเรียน สิรภัทร สาระรักษ์ ศูนย์อนามัยที่ 7 อุบลราชธานี
การศึกษาผลการทำแผล BLEB ด้วยวิธีดูดน้ำออกโดยปราศจากเชื้อ
วิชากฎหมายอาญาภาคทั่วไป (177181)
การจัดการโรคไตเรื้อรัง CKD management
แผนงานยุทธศาสตร์บูรณาการระดับประเทศ พัฒนาศักยภาพคนตามช่วงวัย
กายภาพบำบัดใน ผู้ป่วยภาวะวิกฤต รศ.สมชาย รัตนทองคำ
เครือข่ายโภชนาการช่วงแรกของชีวิต ประเทศไทย
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
รายงานความก้าวหน้า คณะทำงานธรรมาภิบาล (CGO) เขตสุขภาพที่ ธันวาคม 2561
อนามัยแม่และเด็กอำเภอ
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
การช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน Basic Life Support
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
ผลการดำเนินงาน ER คุณภาพ
การพยาบาลผู้ป่วยใกล้ถึงแก่กรรม
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (service Plan) แผนงานที่ 3 การพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบการส่งต่อ โรงพยาบาลมหาสารคาม.
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Septic shock เป็นภาวะช็อกที่เกิดจาก systemic inflammatory response ของร่างกาย อันเป็นผลมาจากการติดเชื้อรุนแรง

Systemic inflammatory response syndrome -SIRS 1. อุณหภูมิกาย มากกว่า 38oซ. หรือน้อยกว่า 36oซ 2. อัตราเต้นของหัวใจ มากกว่า 90 ครั้ง/นาที (ให้สังเกต ว่าไม่ใช้ 100 ครั้ง/นาที) 3. อัตราการหายใจมากกว่า 20 ครั้ง/นาที หรือ PaCO2 น้อยกว่า 32 มม.ปรอท 4. เม็ดเลือดขาว 12,000 เซลล์/ลบ.มม. หรือน้อยกว่า 4,000 เซลล์/ลบ.มม. หรือมีเม็ดลือดขาวชนิด band form มากกว่า 10%

Sepsis เป็นส่วนหนึ่งของภาวะ SIRS คือจำกัดเฉพาะในกลุ่มที่มีการติดเชื้อเป็นสาเหตุ Severe sepsis เป็นภาวะ sepsis ที่มีอวัยวะต่างๆทำงานผิดปกติ มีเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ลดลง หรือมีความดันโลหิตต่ำ. ในผู้ป่วยกลุ่มนี้ แพทย์อาจพบลักษณะทางคลินิกเช่น lactic acidosis ปัสสาวะ ออกน้อย หรือมีระดับความรู้สติเปลี่ยนแปลงเป็นต้น Septic shock เป็นภาวะ sepsis ที่ผู้ป่วยยังคงมีความดันโลหิตต่ำแม้ได้รับการรักษาด้วยสารน้ำจนพอเพียงแล้ว และยังมีหลักฐานที่บ่งชี้ว่ามีเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ลดลง เช่น lactic acidosis ปัสสาวะออกน้อย หรือมีระดับความรู้สติเปลี่ยนแปลง ผู้ป่วยที่ได้รับยากระตุ้นหัวใจและยาบีบหลอดเลือดอาจมีความดันเลือดเป็นปกติขณะที่มีเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ลดลง

อาการทางคลินิก ประกอบด้วย ไข้, หนาวสั่น, ชีพจรเร็ว, หายใจเร็ว, ความดันเลือดต่ำลง, ระดับความรู้สึกลดลง ร่วมกับอาการและอาการแสดงของการติดเชื้อในแต่ละอวัยวะ อาการทางระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด ในระยะแรกจะเป็นลักษณะ warm shock ซึ่งตรวจพบปลายมือเท้าอุ่น แต่ในผู้ป่วยบางรายอาจมีอาการของ cold shock มีปลายมือเท้าเย็นอาการต่างๆ จะดีขึ้นใน 24-96 ชั่วโมงในผู้ป่วยที่ตอบสนองต่อการรักษา ในผู้ป่วยที่มีอาการหนักอาจพบภาวะช็อกรุนแรงร่วมกับอาการของการทำงานของอวัยวะล้มเหลวมากขึ้น จากเลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆ ลดลง. ลักษณะเช่นนี้อาจปรากฏในระยะเริ่มแรกได้ และจะนำไปสู่การทำงานของหลายอวัยวะล้มเหลว (MODS)

การประเมินความรุนแรงของโรค การใช้ระบบการให้คะแนนเพื่อประเมินความรุนแรง และพยากรณ์โรค การใช้รูปแบบการประเมินอยู่หลายชนิด - ที่นิยมใช้มากที่สุดคือ APACHE II score - SOFA score หรือ Sepsis-related Organ Failure Assessment score11 ซึ่งสามารถบอกภาวะอวัยวะเสื่อมหน้าที่ได้ดี หรือบอก morbidity ได้ดีกว่า mortality นั้นเอง การใช้ SOFA score นี้ประกอบด้วยการประเมินหน้าที่ของอวัยวะ 6 ชนิด.

Evidence based strategies ในการรักษาภาวะ sepsis 1. การกำจัดเชื้อและแหล่งติดเชื้อ 2. ให้ intensive life support 3. การให้การรักษาอื่นๆ ที่มีหลักฐานว่าช่วยทำให้ผลการรักษา septic shock ดีขึ้น

Intensive life support การให้สารน้ำ การใช้ inotrope และ vasopressor แนวทางการรักษา hemodynamic support การใช้ hemodynamic monitoring การให้ pulmonary support และการให้อาหารที่เหมาะสม

ชนิดของสารน้ำ - crystalloid - colloid Fluid Challenge ชนิดของสารน้ำ - crystalloid - colloid

การประเมินการให้สารน้ำ - CVP - PCWP - CO CVPและPCWPไม่มีความแม่นยำถ้าหัวใจทำงานไม่ดี ปัจจุบันใช้ - PPV - PCRT - echocardiography

Hemodynamic monitoring - MAP >65mmHg - HR < 100 - CVP 8-12ในผู้ป่วยหายใจเอง, ไม่เกิน 15 ที่ใส่ ET - Organ Perfusion - urine 0.5 cc/kg/hr - lactate 1-2 m mol/l เป็น marker ของ hypoxia

Hemodynamic monitoring - O2 Transport ScvO2 มากกว่าหรือเท่ากับ 70ถ้าไม่ได้ควรพิจารณาให้ Hct>30% หรืออาจให้ dobutamine เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของหัวใจ ในEGDT ( early goal direct therapy)แนะนำให้ทำการรักษาเพื่อให้CVP, MAP ,Urine, ScvO2 ได้เป้าหมาย ภายใน 6 ชั่วโมง ถ้าผู้ป่วยได้น้ำเพียงพอแต่ยังไม่ดีขึ้นแพทย์จะพิจารณาให้ยากระตุ้นหัวใจและหลอดเลือด

Pulmonary support ผู้ป่วยเกือบทุกรายจะมีปอดบาดเจ็บเฉียบพลัน หรือ acute respiratory distress syndrome (ARDS) จากกลไกของ septic shock และในบางรายอาจมีการติดเชื้อที่ปอดตั้งแต่เริ่มต้น แพทย์ควรให้ออกซิเจนในรายที่หายใจได้ ในผู้ป่วยที่มีอาการของการหายใจล้มเหลว ควรได้รับการช่วยหายใจ เพื่อลดภาระของระบบหายใจและเพิ่มออกซิเจนให้เนื้อเยื่อ.  -TV 6 cc/kg,PEEP, FiO2<0.6 - plateau pressure30-35 cmH2O รักษาระดับ O2sat 88-95%,PaO255-80

Renal support ผู้ป่วยที่ช็อกอยู่นานอาจมีภาวะไตวาย ภาวะนี้ร่วมกับ hyper catabolic state จาก septic shock ทำให้มีของเสียคั่งมากและเร็ว. แพทย์ควรแก้ไขภาวะช็อกโดยเร็ว ติดตามว่าผู้ป่วยมีข้อบ่งชี้ที่จะทำ renal replacement therapy

การให้อาหาร การให้อาหารที่พอเหมาะมีความสำคัญทั้งใน แง่การรักษาและการป้องกันภาวะ sepsis โดยทั่วไป วิธีการให้ enteral nutrition เป็นวิธีที่เหมาะสมที่สุด แต่ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับ enteral nutrition ได้ ควรให้อาหารทางหลอดเลือด โดยกำหนดให้ได้พลังงาน 25-30 Kcal/กก./วัน ซึ่งประกอบด้วยโปรตีน 1.3-2.0 ก./กก./วัน และให้ glucose 30-70% ของ total non-protein calories โดยรักษาระดับน้ำตาลในเลือดให้ต่ำกว่า 150 มก./ดล. ให้ lipid 15-30% ของ total non-protein calories

Innovative treatment ความก้าวหน้าในปัจจุบันของการรักษา sepsis ที่ควรทราบ - การใช้ low dose ของ corticosteroid - การใช้ intensive insulin therapy รักษาระดับไว้ที่ 80-110 มก./ดล. - ได้มีความพยายามใช้มาตรการต่างๆ ขึ้นมาเพื่อตรวจและรักษาภาวะนี้ การรวบรวมมาตรการเหล่านี้อาจเรียกว่า sepsis bundles มาตรการเหล่านี้มักจำแนกเป็น resuscitation bundle และ management bundle35 ซึ่งทำให้การักษาครบถ้วนสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

สรุป Septic shock เป็นภาวะวิกฤตที่มีความสำคัญและพบบ่อยในหอผู้ป่วยหนัก บทความข้างต้นได้กล่าวโดยย่อถึงกลไกการเกิดโรค อันนำไปสู่ความเข้าใจในการปฏิบัติรักษา ซึ่งจะต้องครอบคลุมทั้งการกำจัดแหล่งการติดเชื้อหรืออักเสบรวมทั้งการประคับประคองอวัยวะต่างๆ ให้อยู่รอดในช่วงวิกฤตในหอผู้ป่วยหนัก ความเข้าใจในสิ่งต่างๆ จะส่งผลให้อัตรารอดของผู้ป่วยสูงขึ้น มีภาวะแทรกซ้อนลดลง เวลา ในการอยู่ในโรงพยาบาลสั้นลง และลดค่าใช้จ่าย