การวินิจฉัยอนามัยชุมชน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
โดย นางสาวนิภาพร เถาคำแก้ว วิทยาลัยเทคโนโลยีภาคตะวันออก (อี.เทค.)
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การคลังสุขภาพ การวัดประสิทธิภาพของสถานีอนามัย และเตรียมการถ่ายโอนสถานีอนามัย ให้ท้องถิ่น ดิเรก ปัทมสิริวัฒน์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ การประชุมสัมมนา.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
ชุมชนปลอดภัย.
วิชากฎหมายอาคาร รหัสวิชา ท-ป-น (2-0-2) หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ปวช.2556 ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างก่อสร้าง สาขาวิชาช่างโยธา.
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
การจัดลำดับความสำคัญของโครงการด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
EB9 หน่วยงานของท่านมีการดำเนินการเพื่อป้องกันผลประโยชน์ทับซ้อนในหน่วยงานอย่างไร (1) มีการวิเคราะห์ความเสี่ยงเกี่ยวกับการปฏิบัติงานที่อาจเกิดผลประโยชน์ทับซ้อน.
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
ข้อสังเกตโดยรวมของผลงานที่ได้คะแนน ระดับดีมาก - ดี
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
และ อ.เฉลิมพระเกียรติ จ.สระบุรี ปี 2557
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การปรับปรุงพื้นที่ทุรกันดาร 2559 นายแพทย์สงกรานต์ ไหมชุม
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
พฤติกรรมมนุษย์เพื่อการพัฒนาตน
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การจัดทำแผนการสอบบัญชีโดยรวม
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พลเมืองดี.
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวินิจฉัยอนามัยชุมชน รายวิชา: ระบาดวิทยา (Epidemiology) รหัสวิชา: ๔๑๐๒๗๐๖ อ. กมลวรรณ บุตรประเสริฐ ๑

บทที่ ๑๐ การวินิจฉัยอนามัยชุมชน หัวข้อการบรรยาย ความหมาย วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของการ วินิจฉัยอนามัยชุมชน  ขั้นตอนในการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๒

วัตถุประสงค์  เพื่อให้นักศึกษาอธิบายความหมายและวัตถุประสงค์ของการวินิจฉัยชุมชนได้ ถูกต้อง  เพื่อให้นักศึกษาอธิบายประโยชน์ของการวินิจฉัยอนามัยชุมชนได้ถูกต้อง  เพื่อให้นักศึกษาอธิบายขั้นตอนในการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ได้แก่ ขั้นตอน การเตรียมการ การดำเนินการวินิจฉัยอนามัยชุมชนได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้นักศึกษาสามารถเก็บข้อมูลสุขภาพในชุมชน และจัดลำดับความสำคัญ ของปัญหาในชุมชนได้ถูกต้อง เพื่อให้นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ และสรุปผลในภาพรวมของชุมชนได้ ๓

ความหมายของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน “การวินิจฉัยอนามัยชุมชน” หมายถึง กระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ผลที่บ่งชี้ถึงระดับสุขภาพของประชาชนในชุมชน ปัญหาสุขภาพอนามัยของชุมชนนั้น รวมทั้งปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อสถานภาพของประชาชนในชุมชน เช่น ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมทางกายภาพชีวภาพ และสังคมซึ่งรวมความถึงลักษณะโครงสร้างทางประชากร เศรษฐกิจ และการเมือง ๔

การประเมินผลของการแก้ไขปัญหา ๑ การวินิจฉัยปัญหา อนามัยชุมชน ๒ การวางแผน แก้ไขปัญหา ๔ การประเมินผลของการแก้ไขปัญหา ๓ การดำเนินแก้ไข ปัญหาตามแผนฯ แสดงกระบวนการแก้ไขปัญหาอนามัยชุมชน ที่มา : (ไพบูลย์ โล่ห์สุนทร,๒๕๕๒) ๕

วัตถุประสงค์ของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน เพื่อทราบถึงสภาวะสุขภาพของบุคคลในชุมชนตามปัจจัยด้านบุคคล สถานที่และเวลา เพื่อทราบปัญหาสาธารณสุขและปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหานั้นๆ ในชุมชน เพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาอนามัยชุมชน เพื่อนำผลที่ได้จากการวินิจฉัยอนามัยชุมชนไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ๖

ประโยชน์ของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ประโยชน์ต่องานด้านบริหารสาธารณสุข  ทราบสภาพความเป็นจริงเกี่ยวกับองค์ประกอบพื้นฐานในด้านต่างๆของชุมชน  ทราบสถานการณ์การเจ็บป่วยด้วยสาเหตุต่างๆ ของประชากรในชุมชนและการกระจายของโรคภัยไข้เจ็บ  ทำให้สามารถระบุลำดับความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขในชุมชนนั้นได้อย่างถูกต้อง  จัดทำแผนงานโครงการแก้ไขปัญหา ๗

ประโยชน์ของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๒. ประโยชน์ต่องานด้านสาธารณสุข การวินิจฉัยอนามัยชุมชนจะทำให้ทราบว่าประชาชนในชุมชนพอใจต่อการให้บริการสาธารณสุขมากน้อยเพียงใด บริการสาธารณสุขที่มีอยู่ในปัจจุบันเป็นการเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการของประชาชนหรือไม่ ๘

ประโยชน์ของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๓. ประโยชน์ต่อการศึกษาวิจัย  ทำให้ทราบถึงสถานการณ์สุขภาพของชุมชนตามสภาพความเป็นจริง  ปัญหาสาธารณสุขหรือการเจ็บป่วยที่เกิดในประชากรบางกลุ่ม มีการเปลี่ยนแปลง ไปจากเดิม  เป็นข้อมูลที่บ่งชี้ถึงกลุ่มประชากรที่ควรคัดเลือกเป็นกลุ่มศึกษาวิจัย  เป็นข้อมูลพื้นฐานในการกำหนดและพัฒนารูปแบบในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับปัญหาสาธารณสุขในชุมชนได้ ๙

ประโยชน์ของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๔. ผลกระทบต่อประชาชน ประชาชนเข้าใจถึงสภาพของปัญหาสาธารณสุขที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง ประชาชนได้รับความรู้เกี่ยวกับกระบวนการแก้ไขปัญหาโดยเฉพาะขั้นตอนใน การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ประชาชนสามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัย และปรับปรุงการสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในชุมชนของตนเอง ประชากรได้รับบริการด้านสุขภาพอนามัยตรงตามสภาพปัญหาและความต้องการเร่งด่วนของแต่ละปัญหา ๑๐

ขั้นตอนการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ขั้นตอนการเตรียมการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๑.๑ การศึกษาข้อมูลเบื้องต้นของชุมชน และการทำแผนที่ ๑.๒ การกำหนดข้อมูลทั่วไปที่จำเป็นในการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๑.๓ การเลือกดัชนีในการวินิจฉัยอนามัยชุมชนและแหล่งข้อมูล ๑๑

ขั้นตอนการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๒. ขั้นตอนในการดำเนินการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๒.๑ การเก็บรวบรวมข้อมูล ๒.๒ การวิเคราะห์ข้อมูล ๑๒

๑๓

๒.๓ การกำหนดปัญหาอนามัยชุมชน  ปัญหาสาธารณสุขเกี่ยวข้องกับประชากร  ปัญหาสาธารณสุขเป็นปัญหาอนามัยหรือไม่นั้น จำเป็นจะต้องอาศัยดัชนีอนามัยเป็นเครื่องชี้บ่ง ๑๔

๒.๔ การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาอนามัยชุมชน  วิธีการให้น้ำหนักเกณฑ์ (Criteria Weighting Method)  วิธีของแฮนลอน (Hanlon method)  วิธีการขององค์การอนามัยโลก (WHO Priorities Setting Method) ๑๕

วิธีการให้น้ำหนักเกณฑ์ (Criteria Weighting Method) ๑. ขั้นตอน การจัดลำดับความสำคัญของปัญหาด้วยการกำหนดหลักเกณฑ์ในการให้คะแนนไว้ล่วงหน้าโดยมีขั้นตอนต่อไปนี้  ทีมสุขภาพร่วมกันกำหนดหลักเกณฑ์ว่าจะพิจารณาจัดลำดับความสำคัญของปัญหาโดยใช้องค์ประกอบใดบ้าง พิจารณาความสำคัญของแต่ละองค์ประกอบ และกำหนดน้ำหนัก รวมทั้งช่วงคะแนน ประเมินปัญหาสาธารณสุขตามเกณฑ์ นำเอาคะแนนที่ได้มาคูณกับน้ำหนักของแต่ละองค์ประกอบแล้วจึงรวมคะแนนที่แต่ละปัญหา เปรียบเทียบคะแนนที่แต่ละปัญหาได้รับ ๑๖

๒. องค์ประกอบสำคัญ การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชากรในชุมชน ความยากง่ายในการแก้ปัญหา ๑๗

๓. เกณฑ์การให้คะแนน พิจารณาด้านผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชากรในชุมชน - ขนาดของปัญหา (size of problem or prevalence) - ความร้ายแรงของปัญหา (severity of problem) พิจารณาด้านความยากง่ายในการแก้ปัญหา (feasibility) - ทางด้านความรู้ ความก้าวหน้าทางด้านวิชาการ หรือเทคโนโลยี - ทางด้านบริหาร - ทางด้านระยะเวลา - ทางด้านกฎหมาย - ทางด้านศีลธรรม  พิจารณาด้านความร่วมมือของชุมชนต่อปัญหานี้ (community Concern) ๑๘

๔. การรวมคะแนนเพื่อพิจารณาความสำคัญปัญหา การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา วิธีบวก นำคะแนนแต่ละหัวข้อมาบวกกัน วิธีคูณ นำคะแนนแต่ละหัวข้อมาคูณกัน ๑๙

วิธีของแฮนลอน (Hanlon method)  คณะจัดทำ ฯ ร่วมกันพิจารณากำหนดเกณฑ์ในการให้คะแนนแต่ละองค์ประกอบโดยคำนึงถึงข้อมูลที่มีอยู่เป็นสำคัญ  ประเมินปัญหาสาธารณสุขที่ต้องการจัดลำดับความสำคัญตามเกณฑ์และให้คะแนนตามที่กำหนดไว้  เมื่อรวมคะแนนของแต่ละองค์ประกอบแล้วนำมาคำนวณคะแนนรวมตามสูตรที่กำหนดไว้  เปรียบเทียบคะแนนที่แต่ละปัญหาได้รับ และจัดลำดับความสำคัญโดยปัญหาที่มีคะแนนสูงสุด จะมีความสำคัญเป็นอันดับแรก ๒๐

องค์ประกอบที่สำคัญ การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา องค์ประกอบขนาดของปัญหาหรือ “ก” ให้ ๐-๑๐ คะแนน  องค์ประกอบความรุนแรงของปัญหาหรือ “ข” ให้ ๐-๑๐ คะแนน  องค์ประกอบการคาดคะเนถึงประสิทธิผลของแนวทางแก้ปัญหาหรือ “ค” ให้ ๐-๑๐ คะแนน  องค์ประกอบความยากง่ายในการแก้ปัญหาหรือ “ง” ให้ ๐-๕ คะแนน ๒๑

องค์ประกอบ ก ขนาดของปัญหา เกณฑ์การให้คะแนน องค์ประกอบ ก ขนาดของปัญหา องค์ประกอบ ข ความรุนแรงของปัญหาพิจารณาจากปัจจัย ๔ ประการ คือ ความ เร่งด่วนของปัญหา ความร้ายแรงของปัญหา ความสูญเสียทางเศรษฐกิจ และความเกี่ยวข้องของประชาชนกับ องค์ประกอบ ค ประสิทธิผลของโครงการที่จะนำเข้าไปแก้ปัญหาจะพิจารณาถึงเทคโนโลยีหรือวิธีการที่มีอยู่ในปัจจุบัน องค์ประกอบ ง ความยากง่ายในการแก้ปัญหา ๒๒

การรวมคะแนนเพื่อพิจารณาความสำคัญปัญหา basic priority rating (B.P.R) = (ก+ข) ค ๓ overall priority rating (O.P.R) = (ก+ข) ค X ง ๓ ๒๓

วิธีการขององค์การอนามัยโลก (WHO Priorities Setting Method) ๑. การประเมินความสำคัญของปัญหาสาธารณสุขแต่ละปัญหา โดยจะประเมินเป็น ๓ ระดับ คือ มีความสำคัญสูง ปานกลาง และต่ำ ทั้งนี้จะพิจารณาเปรียบเทียบกับปัญหาอื่นๆ ใน ๓ ปัจจัย ดังนี้ อัตราอุบัติเหตุของโรคหรือปัญหา (incidence rate) อัตราตาย (mortality) อัตราความพิการหรือไร้สมรรถภาพ (disability rate) ๒๔

๒. การประเมินความเป็นไปได้ของมาตรการในการแก้ไขปัญหา ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค การประเมินความเป็นไปได้ทางด้านงบประมาณ การประเมินความเป็นไปได้ในการให้ความร่วมมือของชุมชน ๒๕

๓. การพิจารณาระดับความสำคัญของปัญหา ถ้าความสำคัญอยู่ในระดับสูง หรือปานกลาง หรือต่ำ ทั้ง ๒ ด้านระดับความสำคัญของปัญหา คือ ระดับสูงหรือปานกลางหรือต่ำตามลำดับ ถ้ากรณีความสำคัญอยู่ในระดับที่แตกต่างกัน เช่น สูง กับปานกลางหรือควบคุมโรคที่เหมาะสมที่สุด ๒๖

สรุป การวินิจฉัยอนามัยชุมชน หมายถึง กระบวนการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้ได้ผลที่บ่งชี้ถึงระดับสุขภาพของประชาชนในชุมชน ปัญหาสุขภาพอนามัยของชุมชนนั้น รวมทั้งปัจจัยต่างๆ ที่มีผลกระทบต่อสถานภาพของประชาชนในชุมชน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงสภาวะสุขภาพของบุคคลในชุมชนตามปัจจัยด้านบุคคล สถานที่และเวลา เพื่อทราบปัญหาสาธารณสุขและปัจจัยที่ทำให้เกิดปัญหานั้นๆ ในชุมชน เพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหาอนามัยชุมชน และเพื่อนำผลที่ได้จากการวินิจฉัยอนามัยชุมชนไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผนแก้ไขปัญหาสาธารณสุข ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่องานด้านบริหารสาธารณสุข งานด้านสาธารณสุข การศึกษาวิจัย ประชาชน ขั้นตอนในการเตรียมการวินิจฉัยอนามัยชุมชนประกอบด้วย ๒ ขั้นตอนคือ ขั้นตอนการเตรียมการวินิจฉัยอนามัยชุมชน และขั้นตอนในการดำเนินการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๒๗

คำถามทบทวน ๑. ให้นักศึกษาอธิบายความหมายและวัตถุประสงค์ของการวินิจฉัยชุมชน ๒. ให้นักศึกษาอธิบายประโยชน์ของการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๓. ให้นักศึกษาอธิบายขั้นตอนในการวินิจฉัยอนามัยชุมชน ๔ ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่มอธิปรายประเด็นปัญหาในชุมชนที่สนใจ พร้อมทั้งดำเนินการวินิจฉัยชุมชนโดยละเอียด ๒๘

เอกสารอ้างอิง ไพบูลย์ โล่ห์สุนทร.(๒๕๕๒) ระบาดวิทยา พิมพ์ครั้งที่ ๗. กรุงเทพ : โรงพิมพ์แห่ง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. เสาวลักษณ์ ลักษมีจรัลกุล. (๒๕๕๐). เอกสารประกอบการสอน รหัสวิชา PB ๓๐๕๓ เรื่องการวินิจฉัยอนามัยชุมชน. สมุทรปราการ:สาขาวิชาอาชีวอนามัย และความปลอดภัย คณะสาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัว เฉียวเฉลิมพระเกียรติ. (ไม่ได้ตีพิมพ์) ๒๙