การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิธีตรวจสอบข้อมูล 21 แฟ้ม ก่อนอัพโหลด ด้วยโปรแกรม สปสช. OPPP NHSO 2556.
Advertisements

ประชุมเชิงปฏิบัติการ การใช้โปรแกรม R506 เวอร์ชั่น 3.10
ประเด็นในการนำเสนอระบบข้อมูลสารสนเทศของ รพ.สต.
ผลการตรวจสอบคุณภาพฐานข้อมูล อำเภอเมืองลำปาง ครั้งที่ 1/2554
ในแต่ละเดือนเมื่อตรวจสอบข้อมูลจนมีผลงานผ่านร้อยละ 100 หรือสูงกว่า 95 ขอให้จัดเก็บแฟ้ม chronic และ person ลงฐานข้อมูลด้วย เพื่อใช้ในการตรวจสอบความ ซ้ำซ้อนของข้อมูลที่ส่งในเดือนถัดไป.
43 แฟ้ม HDC Datacenter ข้อมูลและรายงาน EPI.
ระบบที่พัฒนาสำเร็จแล้ว 1) ระบบการลาออนไลน์ 2) ระบบสายตรง 3) ระบบเอกสารอ้างอิง 4) ระบบ TOR 5) ระบบ e-Project 6) ระบบแจ้งเตือน e- Manage 7) ระบบ e-Meeting.
1. แนวทางการดำเนินงาน OPPP individual ในปี 2559  ระยะเวลาการรับข้อมูล การดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2559  มาตรฐานโครงสร้างแฟ้มข้อมูล และแฟ้มที่จะรับ  รูปแบบ.
บทบาทภารกิจที่ เปลี่ยนแปลงของ สสจ. หลัง ยกเลิกการเป็น สปสช. สาขาจังหวัด นางประภาพร บรรยงค์ หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ. ขอนแก่น.
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.
การติดตั้งโปรแกรม.
การเลื่อน Cell และคำสั่งใน Macro
การพัฒนาระบบการจัดเก็บฐานข้อมูล สุขภาพจิต
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
SP Palliative เขต 3 พญ.กมลทิพย์ ประสพสุข.
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จังหวัดกาญจนบุรี
CLT วัยทำงานและผู้สูงอายุ
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
เมื่อเข้าสู่โปรแกรมจะแสดงหน้าจอสำหรับตรวจสอบสิทธิผู้ปฏิบัติงาน รหัสที่ใช้ต้องเป็นรหัสนายทะเบียนหรือผู้ช่วยนายทะเบียน และต้องมีสิทธิในการใช้งานฐานข้อมูลทะเบียนราษฎร.
การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดศรีสะเกษ
การประชุมชี้แจงการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรคไม่ติดต่อและการบาดเจ็บ
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
การพัฒนางานเภสัชกรรม
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.วิเศษชัยชาญ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 8 มกราคม 2561
โครงสร้างอัตรากำลังของสำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย
ประชุมหารือการตามจ่าย เงินกันและOP Refer
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
ระเบียบวาระการประชุม
การพัฒนาระบบ การวินิจฉัยโรคจากการทำงาน รพ.ระยอง
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมการฝึกอบรมครู
เกณฑ์คะแนน รพ.สต.ติดดาว ปี2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
การประชุมคณะกรรมการโครงการ DHS South phase 2 ครั้งที่ 1/2560
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
ปัญหาการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
HDC CVD Risk.
ค่าใช้จ่ายในการฝึกอบรม,การจัดงาน
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
ประชุมสายงานบริการ ครั้งที่ 3/2562
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
ฐานข้อมูลโครงสร้างพื้นฐานภาครัฐทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี Science and Technology Infrastructure Databank (STDB)
สิ่งที่พูดถึง การดำเนินงานกลุ่มวัยทำงาน DM HT DPAC องค์กรไร้พุง
โรงพยาบาลคุณธรรม โรงพยาบาลชะอำ
กลุ่มงานประกันสุขภาพ / สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดศรีสะเกษ
นโยบายการดำเนินงาน กรมควบคุมโรค
นางเกษรา อุ่นใจ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ อำเภอลับแล จังหวัดอุตรดิตถ์
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
ประกันสุขภาพคนต่างด้าว/แรงงานต่างด้าว
ชื่อผลงาน:การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วย HIV/TB แบบบูรณาการ
ประชุมเครือข่าย COPD จังหวัดเชียงใหม่
ข้อมูลทั่วไป สถานะสุขภาพ ทรัพยากรสาธารณสุข การบริหารจัดการ.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
รายงานความก้าวหน้าคณะอนุกรรมการด้านการสนับสนุนทรัพยากร (Chiang Mai Provincial Resource Supportive Board) 31 สิงหาคม 2560.
การประชุม พบส.ทันตสาธารณสุข
เป็นปัญหาสาธารณสุข อันดับ ๓ ของจังหวัด
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
แผนงานบูรณาการพัฒนาระบบการให้บริการประชาชนของหน่วยงานภาครัฐ
โครงการปรับปรุงระบบ Oracle Financial มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2562 ตุลาคม 2561 – มิถุนายน 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล การบันทึกรหัสการคัดกรองบุหรี่ ปี 2560 จังหวัดสตูล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร กลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์สาธารณสุข และ กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ และยาเสพติด สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดสตูล

ทำไมต้องคัดกรองบุหรี่ นำไปสู่ การบำบัด การ DX COPD การคัดกรอง CVD Risk ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

ใครทำ - OPD มีมากมาย ?????? ใครบันทึก ????? ในคลินิก ---ผู้รับผิดชอบงาน

เป้าหมายการคัดกรองบุหรี่ - ประชาชน อายุ 15 ปี ขึ้นไป - ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (โรคเบาหวาน โรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหืด โรคถุงลมโป่งพอง) ทุกราย

ตัวชี้วัดกระทรวง (23) ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป ตัวชี้วัดจังหวัด 23.1 ความชุกของผู้สูบบุหรี่ของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป 23.3 ร้อยละของผู้ติดบุหรี่ สุราที่ได้รับการบำบัดตามเกณฑ์ 23.3.1 ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีประวัติสูบบุหรี่เข้ารับการรักษาในคลินิกอดบุหรี่ 23.3.2 ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีประวัติสูบบุหรี่เข้ารับการรักษาในคลินิกอดบุหรี่และเลิกได้สำเร็จ 23.3.3 ร้อยละผู้มีประวัติสูบบุหรี่เข้ารับการรักษาในคลินิกอดบุหรี่ 23.3.4 ร้อยละผู้มีประวัติสูบบุหรี่เข้ารับการรักษาในคลินิกอดบุหรี่และเลิกได้สำเร็จ ตัวชี้วัดจังหวัด 23.2 ความชุกของผู้ดื่มสุราของประชากรไทย อายุ 15 ปีขึ้นไป 23.3.5 ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีประวัติดื่มสุราเข้ารับการรักษาในคลินิกบำบัดสุรา 23.3.6 ร้อยละผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีประวัติดื่มสุราเข้ารับการรักษาในคลินิกบำบัดสุราและเลิกได้สำเร็จ 23.3.7 ร้อยละผู้มีประวัติดื่มสุราเข้ารับการรักษาในคลินิกบำบัดสุรา 23.3.8 ร้อยละผู้มีประวัติดื่มสุราเข้ารับการรักษาในคลินิกบำบัดสุราและเลิกได้สำเร็จ

การใช้รหัสในการลงข้อมูล สนย.ได้กำหนดรหัส 1B5 ในการคัดกรองและติดตามผู้ที่บำบัดเลิกบุหรี่ จำนวน 21 รหัส เริ่มใช้ได้ตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ 2560 เป็นต้นไป ส่งออกข้อมูลมาในแฟ้ม Special PP ถ้ามาคัดกรองและติดตามการบำบัดเลิกบุหรี่เท่านั้น ไม่ต้องใส่รหัส ICD10 โรคหลัก

การลงข้อมูลใน JHCIS โปรแกรม JHCIS Version วันที่ 18 มกราคม 2560 จะให้มีการกรอกข้อมูลการคัดกรองบุหรี่และติดตามผู้ที่บำบัดเลิกบุหรี่ ใน Special PP

สอบถามประวัติการสูบ (การคัดกรองบุหรี่ใน spacialPP) รหัส คำอธิบาย 1B501 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ 1-10 มวนต่อวัน 1B502 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ 11-19 มวนต่อวัน 1B503 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ 20 มวนขึ้นไปต่อวัน 1B504 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอน น้อยกว่า 30 นาที 1B505 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอน มากกว่า 30 นาที แต่น้อยกว่า 1 ชั่วโมง 1B506 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่มวนแรกหลังตื่นนอน 1 ชั่วโมง หรือมากกว่า 1B509 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมสูบบุหรี่ ไม่ระบุรายละเอียด 1B51 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมเคยสูบบุหรี่แต่เลิกแล้ว 1B52 ผู้มารับบริการมีพฤติกรรมไม่เคยสูบบุหรี่

การให้บริการผู้ที่มารับบริการ รหัส คำอธิบาย 1B530 การให้คำแนะนำผู้ติดบุหรี่แบบสั้น (Brief Advice) 1B531 การให้คำปรึกษาเพื่อการเลิกบุหรี่ (Counseling Advice) 1B532 การให้คำปรึกษาและให้ยาเพื่อเลิกบุหรี่ (Counseling Advice + Medicine)

การติดตาม รหัส คำอธิบาย 1B540 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 1 เดือน ผลยังสูบอยู่ปริมาณ/จำนวนมวน เท่าเดิม 1B541 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 1 เดือน ผลลดปริมาณ/จำนวนมวนที่สูบลงได้ 1B542 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 1 เดือน ผลไม่สูบแล้ว 1B550 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 3 เดือน ผลยังสูบบุหรี่อยู่ปริมาณ/จำนวนมวนเท่าเดิม 1B551 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 3 เดือน ผลลดปริมาณ/จำนวนมวนที่สูบลงได้ 1B552 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 3 เดือน ผลไม่สูบแล้ว 1B560 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 6 เดือน ผลยังสูบบุหรี่อยู่ปริมาณ/จำนวนมวนเท่าเดิม 1B561 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 6 เดือน ผลลดปริมาณ/จำนวนมวนที่สูบลงได้ 1B562 การติดตามผู้ติดบุหรี่ ระยะเวลา 6 เดือน ผลไม่สูบแล้ว

การบันทึกการการคัดกรองบุหรี่ บันทึกโดยใช้ ICD 10 Z 72.0 ยังไม่ได้ประเมิน Nicotine Score Z 72.0 ได้รับการประเมิน Nicotine Score ผลค่อนข้างต่ำ F 17.2 – F 17.26 ได้รับการประเมิน Nicotine Score ผลปานกลางถึงสูง

การบันทึกการบำบัดบุหรี่ในคลินิกอดบุหรี่ โดยใช้รหัส icd 10 การบำบัดต่อเนื่อง = Z508+Z 716+Z720 = Z508 + Z716+ F17.2 –F17.26

ความเชื่อมโยงการคัดกรองบุหรี่ การวินิจฉัย COPD พบผู้สูบบุหรี่ เป่า Peak Flow :8937 ค่า Peak Flow น้อยกว่า 62 ส่งตรวจ Spiro:8938

ความเชื่อมโยงการคัดกรองบุหรี่ การประเมิน CVD Risk ผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่สูบบุหรี่ (ต้องมีรหัสสูบบุหรี่) ใช้เป็นสูตรการคำนวณ การประเมิน CVD Risk

สุรา เป้าหมาย ลดนักสูบนักดื่มหน้าใหม่ (อายุ ................. ปี) เป้าหมาย ลดนักสูบนักดื่มหน้าใหม่ (อายุ ................. ปี) Z71.4 การให้คำปรึกษาและเฝ้าระวังผู้ติดสุราไม่รวม: หัตถการฟื้นฟูสภาพผู้ติดสุรา (Z50.2) Z72.1 การใช้แอลกอฮอล์ ไม่รวม: การติดแอลกอฮอล์ (F10.2)

สุรากับ มะเร็งตับ เป็นผู้ป่วยกลุ่มพิษสุราเรื้อรัง หรือ ตับแข็งใช้รหัส - F10.0 (เมาสุรา), F10.2 : พิษสุราเรื้อรัง หรือ - K70.3 : ตับแข็งจากแอลกอฮอล์

1.เข้าโปรแกรม JHCIS คลิกที่ปุ่ม “การให้บริการ ( OP / PP Service )”

2.คลิกที่ปุ่ม “ค้นหา” เลือกวันที่ให้บริการ คลิก OK

3.พิมพ์ชื่อที่ต้องการค้นหา และ เลือกคนที่จะลงข้อมูล แล้วคลิก OK

4.กรอกข้อมูลต่างๆ ดังนี้ อาการสำคัญ , ความดัน , น้ำหนัก , ส่วนสูง , รอบเอว , ชีพจร , หายใจ แล้วคลิก Special PP

5.คลิกที่ช่อง “บุหรี่” และคลิกที่เครื่องหมายสามเหลี่ยมในช่อง “บริการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเฉพาะ” แล้วคลิกเลือก “รหัสการคัดกรองและการติดตาม” โดยเลือกได้ทีละรหัส

6.คลิกเลือก “ใน/นอกสถานบริการ” แล้วปิดหน้าต่างนี้ 6.คลิกเลือก “ใน/นอกสถานบริการ” แล้วปิดหน้าต่างนี้

การส่งออกและตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 1.เลือกรายการ “รายงานและสอบถามข้อมูล”

2.คลิกเลือกรายการ “ส่งออกชุดข้อมูล 21 / 43+7+2 ++ แฟ้ม”

3.เลือกช่วงวันที่ที่ต้องการส่งออกข้อมูล คลิกรายการ “ประมวลผลและส่งออก 43+7+++ แฟ้มมาตรฐาน” จะได้ไฟล์อยู่ที่ C:\JHCIS_export

การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 43 แฟ้ม ก่อนส่งข้อมูลให้สสจ การตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล 43 แฟ้ม ก่อนส่งข้อมูลให้สสจ. หรือ กระทรวง 1.เปิดโปรแกรม OP-PP2010 FOR 2558 เพื่อใช้ในการตรวจสอบคุณภาพข้อมูลก่อนส่ง คลิกรายการ “ตรวจสอบ 43 แฟ้ม”

2.คลิกที่รายการ “1.เลือกแฟ้ม” เลือกที่อยู่ของไฟล์ 43 แฟ้ม คือ C:\JHCIS_export และคลิกเลือกไฟล์ 43 แฟ้มที่ต้องการตรวจสอบคุณภาพข้อมูล

3.คลิกรายการ “2.รับข้อมูล” จะแสดงรายชื่อแฟ้มต่างๆ ในตารางด้านซ้ายมือ 3.คลิกรายการ “2.รับข้อมูล” จะแสดงรายชื่อแฟ้มต่างๆ ในตารางด้านซ้ายมือ

4.คลิกเลือกรายการ “3.ตรวจสอบแบบละเอียด” แล้วคลิก YES

5.คลิกรายการ “ประมวลผลข้อมูล” ก็จะแสดงจำนวน RECORD , ERROR และ ผ่านร้อยละ ในรายการแฟ้มข้อมูลที่ประมวลผล แล้วคลิก OK

6.คลิกเลือกแฟ้มที่มีข้อมูล ERROR ก็จะแสดงข้อมูลที่ ERROR ในตาราง รายการตรวจสอบที่ไม่ผ่าน แล้วคลิกก็จะแสดงรายละเอียดข้อมูลที่ ERROR ในตารางด้านล่างขวา และสามารถส่งไฟล์ข้อมูลที่ ERROR เป็นไฟล์ Excel ได้

การลงบันทึกข้อมูลการคัดกรองบุหรี่และติดตาม ผู้ที่บำบัดเลิกบุหรี่ ในโปรแกรม HospXP การ update รหัสลงในโปรแกรม 1.Rename ไฟล์ตาราง pp_special_type เป็น pp_special_type1 หรือจะลบตารางนี้ก็ได้ (แนะนำว่าให้ rename จะดีกว่า)

2.นำเข้าไฟล์ pp_special_type.cds ใส่ไว้ในโปรแกรม

3.นำเข้าตาราง

การกรอกข้อมูลในโปรแกรม HospXP 1 การกรอกข้อมูลในโปรแกรม HospXP 1.เข้าโปรแกรม HospXP คลิกที่รายการ “เข้าเมนูระบบผู้ป่วยนอก” คลิกเลือกรายการ “One Stop Service”

2.เลือกวันที่ให้บริการ และ ดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อผู้ป่วย 2.เลือกวันที่ให้บริการ และ ดับเบิ้ลคลิกที่ชื่อผู้ป่วย

3.หน้าประวัติผู้ป่วย มุมด้านล่างขวา เลือก “ปุ่มงานอื่นๆ” ตรงที่มีเครื่องหมายสามเหลี่ยม เลือก Special Project

4. คลิกเพิ่มกิจกรรม

5. คลิกเลือก “ใน/นอกสถานที่” เลือกเจ้าหน้าที่ ที่ให้บริการ และเลือกรหัสในการคัดกรองหรือติดตามบุหรี่ ในช่อง “งานที่ให้บริการ” แล้วคลิก บันทึก (เลือกได้ทีละ 1 รหัส)

6. ถ้าหากต้องการเลือกรหัสเพิ่มอีก ให้ไปเริ่มที่ข้อ 4 และข้อ 5 ต่อ จนครบ ถ้าเลือกครบแล้ว คลิก บันทึก

ข้อมูลอื่นๆ ที่ควรเตรียมไว้บ้าง ข้อมูลพื้นฐานในแต่ละอำเภอ ข้อมูลระบบติดตามการดำเนินงานจังหวัดปลอดบุหรี่

การติดตามงานโครงการสามล้านสามปี

เราจะทำงานได้อย่างไร...........ดี เข้าใจธรรมชาติของงานเราก่อน มองเห็นวิธีการทำงานมากกว่าจะมองว่าเป็นปัญหา ต้องสร้างโอกาส ฉวยโอกาส มากกว่ารอโอกาส ถึงลูกถึงคน พร้อมที่จะเผชิญกับทุกเรื่อง เหนื่อยท้อได้ แต่เดี๋ยวก็กลับมาทำใหม่ คิดเชิงบวก

สวัสดี