การค้าระบบใหม่ กับการเปลี่ยนแปลงของโลก ดร.ทิพย์วรรณ ปริญญาศิริ ผู้อำนวยการสำนักอาหาร สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข
การเปลี่ยนแปลงของโลก การค้าระบบใหม่ ทางรอด และการปรับตัวของ SME ไทย Outline การเปลี่ยนแปลงของโลก การค้าระบบใหม่ ทางรอด และการปรับตัวของ SME ไทย
มิติใหม่ของคำว่า “เวลา” 1 ผู้บริโภคในปัจจุบันมองหาสิ่งใหม่ๆ ตลอดเวลา ผู้บริโภคต่างมองหา"คุณค่า"ของสิ่งของที่มากกว่าการซื้อได้ด้วยเงิน เทคโนโลยีทำให้ระยะเวลาของ "ความใหม่" สั้นลง ผู้บริโภคในปัจจุบันมีสมาธิที่สั้นลง ผู้บริโภคเชื่อการบอกต่อ มากกว่าการโฆษณา
Mega Trend ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงธุรกิจ (10 - 20 ปี) 2.1 การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภค 2.2 การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร 2.3 การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรโลก 2.4 การเปลี่ยนแปลงของฐานอำนาจทางเศรษฐกิจ
การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้บริโภค 2.1 หันมามุ่งเน้นเรื่องสุขภาพ หันมามุ่งเน้นเรื่องคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร หันมาบริโภคอาหารต่างประเทศมากขึ้น เช่น อาหารญี่ปุ่น หันมามุ่งเน้นความสะดวก รวดเร็ว เช่น อาหารแช่แข็ง อาหารพร้อมทาน
การเปลี่ยนแปลงของพฤติกรรมผู้บริโภค 2.1 “สังคมแห่งการสื่อสาร” พาณิชย์อิเล็คทรอนิคส์ (E-Commerce) และการทำธุรกรรมออนไลน์จะเติบโตขึ้นอย่างมากเนื่องจากข้อได้เปรียบเรื่องการประหยัดต้นทุนและสามารถซื้อขายที่ตอบสนองได้ทันที เดิม: การคัดเลือกสินค้าต้องเดินทางไปถึงแหล่งผลิต หรือพึ่งงานแสดงสินค้าเป็นหลัก ปัจจุบัน: ผู้ประกอบการและผู้ค้าหันมาใช้ เว็บไซท์ (E-Marketplace) ซึ่งประหยัดทั้งเวลา & ค่าใช้จ่ายมาก
มือถือ คอมพิวเตอร์
การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร 2.2 1. การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ความก้าวหน้าทางการแพทย์ โภชนาการที่ดี และการเข้าถึงความรู้ด้านสุขภาพ สังคมผู้สูงอายุ (Aging Society) มีกำลังซื้อจากเงินออมและการลงทุน "การออกแบบสินค้าเพื่อมวลชน" (Universal Design)
การเปลี่ยนแปลงของโครงสร้างประชากร (ต่อ) 2.2 2. การเปลี่ยนแปลงเข้าสู่สังคมเมือง อนาคตคนจะอยู่ในเมืองมากกว่า 50% ภายในปี 2015 จะมีประชากรโลกอาศัยอยู่ในเมืองมากถึง 4 พันล้านคน Ref: http://blog.bankinter.com/blogs/bankinter/archive /2015/01/07/megaciudades.aspx, retrieved Oct 28, 2015 “การออกแบบสินค้าเพื่อตอบสนองวิถีชีวิตคนเมือง"
การเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรโลก 2.3 ปัญหาการขาดแคลนอาหารและทรัพยากรธรรมชาติมีความรุนแรงมากขึ้น ไทยอยู่ในกลุ่มประเทศที่มี ความเสี่ยงสูงสุด จากผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในอีก 30 ปีข้างหน้า (ปัจจุบันอยู่ในอันดับที่ 14 จาก 170 ประเทศทั่วโลก) ข้อเรียกร้องขององค์กรสิทธิต่างๆ (เช่น ปัญหาภาวะโลกร้อน) มีผลต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายมากขึ้น การพัฒนากระบวนการผลิตจะคำนึงถึงสภาพแวดล้อมและความสะอาด (Environment Friendly - Green and Clean)
การเปลี่ยนแปลงของฐานอำนาจทางเศรษฐกิจ (Shift in Global Economic Power) 2.4 การเปลี่ยนแปลงของฐานอำนาจทางเศรษฐกิจ (Shift in Global Economic Power) ขั้วอำนาจเดิม กลุ่ม G7 (สหรัฐฯ ญี่ปุ่น เยอรมนี อังกฤษ ฝรั่งเศส อิตาลี และแคนาดา) ขั้วอำนาจใหม่ กลุ่ม E7 (จีน อินเดีย บราซิล รัสเซีย อินโดนีเซีย เม็กซิโก และตุรกี) กลุ่ม ASEAN + 6 (จีน เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ อินเดีย และ อาเซียน 10 ประเทศ) กลุ่ม TPP (Trans-Pacific Strategic Economic Partnership Agreement) (สหรัฐฯ นิวซีแลนด์ ออสเตรเลีย สิงคโปร์ บรูไน เวียดนาม มาเลเซีย เปรู ชิลี) (ประเทศที่อยู่ระหว่างการพิจารณาเข้าร่วม: แคนาดา อินโดนีเซีย เกาหลีใต้)
การเปลี่ยนแปลงของโลก การค้าระบบใหม่ ทางรอด และการปรับตัวของ SME ไทย Outline การเปลี่ยนแปลงของโลก การค้าระบบใหม่ ทางรอด และการปรับตัวของ SME ไทย
ปัญหาปัจจุบันของธุรกิจ SME ไทย สินค้าเหมือนๆ กัน ขายตัดราคา ทำการตลาดไม่เป็น รับจ้างผลิต หาช่องทางการขายไม่ได้ ลดต้นทุนไม่ได้ แรงงานมีจำกัด หาคนเก่งมาช่วยงานไม่ได้ ขาดเงินทุนหมุนเวียน
กลยุทธ์การปรับตัวเชิงรุก ต่อ AEC วัตถุดิบ โรงงาน ขนส่ง ค้าปลีก/ส่ง ผู้บริโภค ศึกษาหาแหล่งวัตถุดิบมีคุณภาพและราคาถูกใน AEC ศึกษาความเป็นไปได้ในการย้ายฐานผลิต เสาะหาแรงงานจากAEC พัฒนาระบบ โลจิสติกส์ ระดับภูมิภาคเพื่อลดต้นทุน &สะดวก เปิดและเจาะตลาดคู่ค้าของอาเซียน เรียนรู้และวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของคู่แข่ง ศึกษารสนิยมความต้องการของผู้บริโภคใน AEC และต่างประเทศ
หนทางรอด SME ไทย ศึกษา เรียนรู้การใช้ช่องทางการตลาดดิจิตัล เรียนรู้คู่แข่ง เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน ผูกมัดใจลูกค้าในทุกรูปแบบ คิดใหม่ ทำใหม่ สร้างความเข้มแข็งด้วยการรวมกลุ่ม ร่วมกันบุกตลาดต่างประเทศ
การวิเคราะห์สินค้าและตลาดเพื่อเพิ่มยอดขาย สินค้าปัจจุบัน สินค้าใหม่ ตลาดใหม่ ตลาดปัจจุบัน พัฒนาสินค้าใหม่ สำหรับลูกค้ากลุ่มเดิมที่มีอยู่ และค้นหาตลาดใหม่ พัฒนาตลาดใหม่ โดยใช้สินค้าปัจจุบัน เพิ่มยอดขายจาก ลูกค้าที่มีอยู่แล้ว ขยายช่องทางการจัดจำหน่าย ขยายกลุ่มลูกค้าใหม่ รูปแบบการใช้งานใหม่ ระดับคุณภาพใหม่ พัฒนารูปแบบการชำระสินค้าใหม่ -เพิ่มความถี่ในการซื้อและการบริโภค
การใช้ช่องทางการตลาดดิจิตัลทำให้ได้ตลาดใหม่ Facebook: เจคิว ปูม้านึ่ง Delivery สดๆ ยอดไลค์ 571,139 คน ยอดขาย ปี 57 10 ล้านบาท/ เดือน
“ไม่มีที่ยืนสำหรับสินค้าที่อยู่ในระดับราคาและคุณภาพกลางๆ อีกต่อไป” 3 ทางรอดของการวางตำแหน่งทางธุรกิจ 1) สินค้าระดับพรีเมียม ที่วางตำแหน่ง “ราคาแพงและดีมาก” 2) สินค้าที่ไม่ประนีประนอมทั้งในแง่คุณภาพและราคา และยังนำเสนอความหลากหลาย ที่วางตำแหน่ง “ถูกและคุณภาพพอใช้” 3) สินค้าชุมชนที่ผลิตอย่างประณีต พิถีพิถันที่สร้างความสุขจากเรื่องเล่าในวัฒนธรรม ภูมิปัญญาและธรรมชาติ รวมถึงวิถีการผลิตที่แนบอิงธรรมชาติในท้องถิ่น สร้างความยั่งยืนให้แก่ผู้ผลิต ผู้บริโภค และสิ่งแวดล้อม วางตำแหน่ง “ราคาแพงและมีคุณค่าทางจิตใจ” “คนตัวเล็กก็ทำได้ แต่ต้องประณีต”
นวัตกรรมเพื่อการแข่งขันและการเพิ่มยอดขาย Product Innovation การเปลี่ยนแปลงในสินค้า/ บริการ Process Innovation การเปลี่ยนแปลงกระบวนการผลิตหรือ กระบวนการนำเสนอผลิตภัณฑ์ Position Innovation การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของสินค้า/ บริการ เป็นการเปลี่ยนตำแหน่งของผลิตภัณฑ์ โดยการสร้างการรับรู้และความเข้าใจในผลิตภัณฑ์ต่อลูกค้า 4. Paradigm Innovation การสร้างให้เกิดนวัตกรรมโดยการเปลี่ยนแปลงกรอบความคิด “คนตัวเล็ก ไม่มีทุน ก็ทำได้”
การสร้างให้เกิดนวัตกรรมโดยการเปลี่ยนแปลงกรอบความคิด (Paradigm Innovation) เป็นการหาช่องว่างของธุรกิจ โดยการใช้ Key Word สองคำขึ้นไป จากธุรกิจเดิม บวกกับธุรกิจที่ดูเหมือนไม่เกี่ยวข้องกัน เพื่อให้ทลายกรอบความคิดเดิม สร้างธุรกิจในรูปแบบใหม่ เป้าหมาย: ผู้บริโภคมีความสะดวกยิ่งขึ้น มีความตื่นเต้น สนุกสนาน และพร้อมที่จะจ่ายเพื่อซื้อประสบการณ์ที่แตกต่าง
โดยการผสมผสานความคิดใหม่ระหว่างช่องทาง คู่แข่งของเราไม่ใช่จีน เวียดนาม อินเดีย แต่คือ “ผู้ประกอบการรุ่นใหม่” ที่มีการสร้างให้เกิดนวัตกรรมโดยการเปลี่ยนแปลงกรอบความคิด (Paradigm Innovation) โดยการผสมผสานความคิดใหม่ระหว่างช่องทาง การตลาดดิจิตัล & สินค้าชุมชนระดับพรีเมียม "2010 mavericks competition" by Shalom Jacobovitz - SJ1_8558. Licensed under CC BY-SA 2.0 via Commons
ผู้บริโภคกลายเป็นผู้ผลิต “Maker Movement” ก้าวไปสู่การเปลี่ยนแปลงกรอบความคิด โดยคนรุ่นใหม่ (Paradigm Innovation) ฐานการผลิตจะกลับไปสู่ประเทศพัฒนาแล้ว (อเมริกา/ ยุโรป/ ญี่ปุ่น)
Food Travel อาหาร ท่องเที่ยว แบรนด์สินค้า
“คนตัวเล็ก ไม่มีทุน ก็ทำได้ ผ่านการตลาดดิจิตัล” Kat from Russia David from France ธุรกิจที่เริ่มมาจากคนสองคนที่ชอบการท่องเที่ยวเป็นชีวิตจิตใจ พบกันเมื่อปี 2013 ที่งานอาหารไทยในนิวยอร์ค ผัดไทย นำพาให้คนสองคนมาพบกัน และเริ่มธุรกิจแนวคิดใหม่ “Try The World” กล่องอาหารจากทั่วโลกส่งตรงถึงบ้าน
การตลาดดิจิตัลโดย “คนรุ่นใหม่” อาหาร + วัฒนธรรมต่างถิ่น = ความตื่นเต้น สินค้าอาหารจากทั่วโลกส่งตรงถึงบ้านในรูปแบบ ของสมาชิก ทุก ๆ 2 เดือน
Paris Box
Japan Box Surprises Culture How-to ทุกเรื่องราว ทุกมิติของ “ชาเขียว” อาหารที่คัดเลือกโดยเชฟชื่อดัง หนังสือเล่มเล็ก ๆ ที่เป็นเรื่องวัฒนธรรมอาหาร สูตรที่จะนำชาเขียวไปประกอบอาหาร เรื่องราวและขั้นตอนในพิธีชงชา
Argentina Box
วิธีการสั่งซื้อผ่านเครือข่ายสมาชิกออนไลน์ สมาชิก 6 เดือน (3 กล่อง) 1,050 บาท/ กล่อง สมาชิก 1 ปี (6 กล่อง) 990 บาท/ กล่อง 1,170 บาท/ กล่อง
Gift Assemble ของขวัญ ประดิษฐ์ แบรนด์สินค้า
“ส่งความสุขที่สร้างความทรงจำให้แก่ผู้รับได้ตราตรึง” ธุรกิจแนวใหม่จากญี่ปุ่น ในสังคมญี่ปุ่นที่การให้ของขวัญเป็นวัฒนธรรม มีของล้นเหลือและส่วนใหญ่คนหนึ่ง ๆ จะได้รับของเป็นจำนวนมากจนจดจำไม่ได้ว่าใครเป็นผู้ให้ โจทย์ คือ ความสุขที่มอบให้ผ่านของขวัญที่ผู้รับได้มีประสบการณ์ใน การประดิษฐ์สิ่งของ มีความสุขการการรอคอย และการลงมือทำ “ส่งความสุขที่สร้างความทรงจำให้แก่ผู้รับได้ตราตรึง”
ของขวัญ +การรอคอย = ความสุข “ส่งความสุขที่สร้างความทรงจำให้แก่ผู้รับได้ตราตรึง” ของขวัญ +การรอคอย = ความสุข ชุดของขวัญที่ผู้รับจะได้มีส่วนในการผลิตเพื่อให้ได้มีความสุขในการผลิต และมีความหวังในการรอคอยที่จะลิ้มรส ช่วยต่ออายุของขวัญชิ้นนั้นให้ระลึกถึงผู้ให้ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ที่ต้องหมักผลไม้ เพื่อให้ได้ดื่ม และในระหว่างที่รอให้พร้อมก็สามารถเพลิดเพลินกับกิจกรรมที่ชื่นชอบได้
“ส่งความสุขที่สร้างความทรงจำให้แก่ผู้รับได้ตราตรึง” ชุดของขวัญ ที่ให้ได้มีส่วนร่วมในการปลูกถั่วแระด้วยตัวเองไว้รับประทาน
ผู้บริโภคกลายเป็นผู้ผลิต “Maker Movement” ก้าวไปสู่การเปลี่ยนแปลงกรอบความคิด โดยคนรุ่นใหม่ (Paradigm Innovation) ฐานการผลิตจะกลับไปสู่ประเทศพัฒนาแล้ว (อเมริกา/ ยุโรป/ ญี่ปุ่น)
“Cluster Management: การบริหารแบบรวมกลุ่ม” โจทย์? สร้างความเข้มแข็งด้วยการรวมกลุ่ม ร่วมกันบุก ตลาดต่างประเทศ เรียนรู้คู่แข่ง เร่งเสริมจุดแข็ง ลดจุดอ่อน “Cluster Management: การบริหารแบบรวมกลุ่ม” “Model 5Ps”
นโยบายความร่วมมือสร้างความเข้มแข็ง SME โครงสร้าง Public Private Professional People Partnership : (5Ps) เรียนรู้คู่แข่ง เสริมจุดแข็ง นโยบาย สร้างความเข้มแข็ง SME ตลาดต่างประเทศ CLUSTER มาตรฐาน ผู้ผลิตภาค อุตสาหกรรม ค้าปลีก/ ส่ง ผู้ผลิต วัตถุดิบ LAB ตรวจรับรอง ขนส่ง บริโภค เครื่องจักร วิจัยและพัฒนา นวัตกรรม ความรู้ คลังข้อมูลการค้า ศึกษารสนิยมความต้องการของผู้บริโภคใน AEC และต่างประเทศ เทคโนโลยี
สร้างความเข้มแข็งด้วยการรวมกลุ่ม ร่วมกันบุกตลาดต่างประเทศ คลังข้อมูลทางการค้าของไทย (Thailand National Trade Repository) สิ่งที่ SME ต้องรู้ อยู่ที่นี่ !! www.thailandntr.com
บทสรุป 2. ความสามารถในการนำเอาสิ่งที่เรียนรู้นั้น ไปปฏิบัติจริง” “ที่มาของความได้เปรียบในการแข่งขัน มีสองทาง คือ ความสามารถในการเรียนรู้เกี่ยวกับลูกค้าของเราที่ ต้องรวดเร็วกว่าการแข่งขันและคู่แข่งในตลาด 2. ความสามารถในการนำเอาสิ่งที่เรียนรู้นั้น ไปปฏิบัติจริง” -Jack Welch, former chairman and CEO of บริษัท GE
.....สวัสดี........