(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
49% 30-40ปี ชำนาญการ ปี
Advertisements

CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
ทิศทางการพัฒนา พฤติกรรมสุขภาพ 4.0
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
การประชุมพิจารณาแผนปฏิบัติการ ปี 2561 เขตสุขภาพที่ 2
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ความเชื่อมโยงนโยบาย ยุทธศาสตร์ และแผนงานควบคุมโรคติดต่อ
การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 คพสอ
การดำเนินงาน คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
Cluster วัยทำงาน Cluster วัยผู้สูงอายุ
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์ กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของหน่วยงานในสังกัดกรมอนามัย
คำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
การขับเคลื่อน บริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล : Governance Excellence
วัฒนธรรมองค์กร กรมอนามัย
Individual Scorecard ระดับความสำเร็จของการถ่ายทอดตัวชี้วัดและเป้าหมายของระดับองค์กรสู่ระดับบุคคล
เขตสุขภาพ ที่11.
ตำบลจัดการสุขภาพ.
สงัด เชื้อลิ้นฟ้า (BPH, MPH, PhD) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.สามโก้ รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 12 มกราคม 2561
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.โพธิ์ทอง รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 4 มกราคม 2561
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
แผนยุทธศาสตร์สุขภาพ 20 ปี จังหวัดสระแก้ว ( )
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.เมืองอ่างทอง รอบที่ 1 ปี วันที่ 11 มกราคม 2561
(Promotion and Prevention Excellence) นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
ระบบการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายสำคัญ ที่ทุกหน่วยงานต้องดำเนินงานที่เป็นคำรับรองการปฏิบัติราชการของปลัดกระทรวงสาธารณสุข และผู้ตรวจราชการในปี 2561 มี 12 ประเด็นคือ 1. District Health.
ความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์และการถ่ายระดับตัวชี้วัด สู่เป้าหมายการลดโรค
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ ปี 2560 กรมอนามัย : ระดับหน่วยงาน
P eople centered approach M astery Retreat MOPH เป็นองค์กรหลักด้านสุขภาพ ที่รวมพลังสังคม เพื่อประชาชนสุขภาพดี พัฒนาและอภิบาลระบบสุขภาพ อย่างมีส่วนร่วมและยั่งยืน.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การบริหารและขับเคลื่อน
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2/2561
แผนยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี(ด้านสาธารณสุข) และการตรวจราชการประจำปี ๒๕๖๐
แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561
วันที่ 29 สิงหาคม 2562 นายบรรเจิด เดชาศิลปชัยกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
การประชุมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ service plan จังหวัดพิษณุโลก
ยินดีต้อนรับ ทีมเยี่ยมเสริมพลัง พชอ. (AI)
สรุปผลการตรวจราชการฯ
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
ยินดีต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์
Fully Participation ส่วนกลาง และ ศูนย์อนามัยเขต
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
คปสจ.เดือนสิงหาคม สิงหาคม 59.
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ใบสำเนางานนำเสนอ:

PSPG20@BSH (P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ โรงพยาบาลพุทธโสธร ประจำปีงบประมาณ 2560 PSPG20@BSH (P7S10P1G2) วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 พญ. รุจิรัตน์ ปุณยลิขิต รองผู้อำนวยการกลุ่มภารกิจด้านบริการปฐมภูมิ

จากครรภ์มารดาสู่สูงวัยสุขภาพดี Region 6 จากครรภ์มารดาสู่สูงวัยสุขภาพดี ประชาชนสุขภาพดี P : Promotion & Prevention Excellence CHACHOENGSAO

Chachoengsao Health Systems Management Health Status & Health Resource 1 2 3 4 5 LE Health Problem Health Resource Mortality Morbidity เขตสุขภาพที่ 6 ปี 2557 เบาหวาน/ ความดัน โลหิตสูง อุบัติเหตุ จราจร ไข้เลือดออก ผู้สูงอายุ หลอดเลือดสมอง มะเร็ง A 1 แห่ง M2 1 แห่ง F1 3 แห่ง F2 5 แห่ง F3 1 แห่ง รพ.สต. 118 แห่ง ศสม. 2 แห่ง ชาย 68.5 ปี หญิง 73.7 ปี เฉลี่ย 71.0 ปี เนื้องอกร้าย ปอดบวม โลหิตเป็นพิษ หลอดเลือด สมอง หัวใจ อุบัติเหตุ ความดัน โลหิตสูง โรคติดเชื้อ ทางเดินหายใจ ส่วนบน เบาหวาน เนื้อเยื่อผิดปกติ คออักเสบ เฉียบพลันฯ ทีมา : รง.ประจำปี สสจ.ฉช. 2558

Chachoengsao Health Strategy Plan 2016-2035 ปี 2560-2564 ปี 2565-2569 ปี 2570-2574 ปี 2575-2579 ปฏิรูป (เร่งรัดพัฒนา) เข้มแข็ง (ครอบครัว/ชุมชน/ภาคี) ยั่งยืน (Individual Self care) เป็นเลิศ (Top 5 Thailand) PSPG-20 Social Support Health Literacy Role Model อายุขัยเฉลี่ย 74.5 ปี อายุขัยเฉลี่ย 78 ปี อายุขัยเฉลี่ย 81.5 ปี อายุขัยเฉลี่ย 85 ปี Start 2560 เฉลี่ย 71.0 Systems CQI PIRAB Six Building Block MOPH Core Value PMQA & SMS PSPG-20 : P7 S10 P1 G2 PCC โครงการหมอครอบครัว รพ.สต.ติดดาว CVD/CKD โครงการแปดริ้ว รักษ์ไต EOC/ECS โครงการลดอุบัติเหตู ด้วยนโยบายสาธารณะ Food Safety โครงการผักปลอดภัยสูง เบอร์ 8 Etc.

ยุทธศาสตร์ และกลยุทธ์มุ่งเน้น การปฏิบัติราชการ ปี 2560 ของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดฉะเชิงเทรา “เป็นองค์กรบริหารจัดการระบบสุขภาพต้นแบบสถานบริการได้คุณภาพมาตรฐาน บุคลากรมีสมรรถนะและความสุข ประชาชนมีสุขภาวะ” "ซื่อสัตย์สามัคคี มีมนุษยสัมพันธ์ ริเริ่มสร้างสรรค์ จรรโลงวินัย " Vision Motto 5P MODEL PASSION PLANNING PEOPLE Strategy PROCESS PERFORMANCE ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ Promotion & Prevention Excellence Strategy PSPG ยุทธศาสตร์ บริการ เป็นเลิศ Service Excellence บุคลากร People Excellence บริหารเป็นเลิศ ด้วยธรรมาภิบาล Governance Excellence P S G PSPG-20 18. HR System -HRP, HRM, HRD -Happinometer -Happy work Life Index 8. Primary Care Cluster (PCC ) -DHS, Family Medicine 9. Control DM/HT 10. CVD Risk 11. COPD 12. RDU 13. คลินิกแพทย์แผนไทย -Thai traditional massage 14. อัตราตายโรคหลอดเลือดหัวใจ 15. ลดระยะเวลารอคอย Rx CA 16. CKD 17. Quality Health System -รพ.สต.ติดดาว/คป.สอ.ติดดาว -HA -R2R, KM P - 1 G - 2 19. Information System 20. Finance 1. Maternal & Child - พัฒนาการเด็กสมวัย -Teenage Pregnancy 3. Long term care ผู้สูงอายุ 4. TB 5. RTI 6. Food Safety 7. Green & Clean Hospital, P - 7 S - 10 กลยุทธ์ มุ่งเน้น : PSPG20 Performance Agreement ของท่านปลัด กสธ. บวก บริบทพื้นที่จังหวัดฉะเชิงเทรา

สรุปตัวชี้วัด P&P Excellence ปี 2560 แผนยุทธศาสตร์ สธ. 20 ปี PA ปลัดกระทรวง สธ. ปี 2560 สตป. ตรวจราชการ ปี 2560 นพ.สสจ.ฉช. ปี 2560 PA ผอ.รพ./ สสอ. ปี 2560 = 29 KPIs = 12 KPIs = 17 KPIs = 7 KPIs PA ปลัด สธ. 17 KPIs ร่วม 11 KPIs แผนฯ 20 ปี 29 KPIs นพ.สสจ.ฉช. 14 KPIs สตป. 12 KPIs PA ผอ.รพ./ สสอ. 7 KPIs

P 7 P1 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย (ร้อยละ 85) P3 : ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) ในชุมชน ผ่านเกณฑ์ (ร้อยละ 50) P4 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับ เป็นซ้ำ(ร้อยละ 85) P5 : อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน (18 ต่อ พัน) P6 : ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย (ร้อยละ 80) P7 : ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN&CLEAN Hospital (ร้อยละ 75 )

PIRAB Systems CQI CHACHOENGSAO Health Strategy Plan 2016-2025 ปี 2560-2564 ปี 2565-2569 ปี 2570-2574 ปี 2575-2579 ปฏิรูป (เร่งรัดพัฒนา) เข้มแข็ง (ครอบครัว/ชุมชน/ภาคี) ยั่งยืน (Individual Self care) เป็นเลิศ (Top 3 Thailand) PSPG 20 Social Support Health Literacy Role Model อายุขัยเฉลี่ย 74.5 ปี อายุขัยเฉลี่ย 78 ปี อายุขัยเฉลี่ย 81.5 ปี อายุขัยเฉลี่ย 85 ปี กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย กลุ่มวัยเรียน กลุ่มวัยรุ่น กลุ่มวัยทำงาน Systems CQI กลุ่มผู้สูงอายุ ANC ตามเกณฑ์ (33.58 %)/ พัฒนาการเด็ก(82%) DHF(49.89:แสน ปชก)/ ภาวะโภชนาการ(เด็กอ้วน 15%) LTC(ระบบการดูแลยังไม่ครอบคลุม) NCD(ควบคุม DM(23.39%)/HT(29.28%)CKD(คัดกรองุ56.16%)/G&C hospital RTI(37:แสน ปชก) PIRAB Teenage preg.(61:พัน) รพ.สต.ติดดาว/ PCC(พัฒนาและประเมินระบบคุณภาพบริการปฐมภูมิ)

P : Promotion & Prevention Excellence Quick Win , 2560 P : Promotion & Prevention Excellence 3M 6M 9M 12M Policy Setting : 5P Model Strategic Formulation : PSPG 20 (P7S10P1G2),Action Plan Strategic Deployment : PA Strategic Evaluation : SMS, M&E เด็กพัฒนาการ สมวัย 85% Food Safety 60% LTC 100% ติดตามYFHSและ อำเภอการเจริญพันธุ์ ผ่านเกณฑ์ 75% ค้นหา TB > 171 ต่อแสน ปชก. ประเมิน G&C Hospital 100% G&C Hospital ขั้นพื้นฐาน 60 % อัตรารักษา TB รายใหม่ > 85% G&C Hospital ขั้นพื้นฐาน 75% YFHS ผ่านเกณฑ์ 75% ติดตามเด็กพัฒนาการเด็ก ล่าช้า 100 % สรุป/เวทีการ แลกเปลี่ยน เรียนรู้/ขยายผล ต่อยอด(YFHS และอำเภอ การเจริญพันธุ์) คัดกรองพัฒนาการเด็ก 80 %

P : Promotion & Prevention Excellence One page presentation P : Promotion & Prevention Excellence ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ PA.1 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย

Now Strategy Excellence PSPG Action Plan PA.1 : ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย Now จังหวัด ฉช. มีคณะกรรมการ MCH board และพัฒนาการเด็กปฐมวัย เด็กกลุ่มเป้าหมาย มีพัฒนาการสมวัย ต่ำกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ มี MCH board คุณภาพ เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า ได้รับการกระตุ้นทุกคน สนับสนุนให้มีการดำเนินการคัดกรองพัฒนาการเด็กอายุ 9,18,30และ42 เดือน เชิงรุก เด็กอายุ 9,18,30และ42 ด. มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 82.23 ปัญหา : บางสถานบริการไม่ให้การบริการคัดกรองพัฒนาการเชิงรุก และการบันทึกข้อมูลใน HDC ได้น้อย KSF : การให้บริการคัดกรองพัฒนาการเด็กเชิงรุก และ เร่งรัดในการบันทึกข้อมูลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก ใน HDC ปัญหา : เด็กที่สงสัยล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ตามเป้าหมายที่กระทรวงกำหนด เด็กที่สงสัยล่าช้า ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการ ทุกคน Strategy Excellence PSPG ยุทธศาสตร์ ความเป็นเลิศ 4 ด้าน ส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคเป็นเลิศ KPI : ร้อยละ 85 ของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย(DSPM) P : Promotion & Prevention Excellence Action Plan 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 70 ร้อยละ 75 ร้อยละ 80 ร้อยละ 85 มาตรการ/ กลยุทธ์/ กิจกรรมสำคัญ ประชุมคณะกรรมการ MCH board และพัฒนาการเด็กฯ มีแผนงานโครงการส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย พัฒนาระบบบริการของหน่วยบริการฯตามมาตรฐาน พัฒนาระบบบริการตามมาตรฐานอนามัยแม่และเด็ก สร้างการมีส่วนร่วมกับภาคี กระตุ้นการเรียนรู้ของเด็ก เด็กอายุ 9,18,30,42 เดือน ทุกคนได้รับการคัดการพัฒนาการเด็ก ส่งเสริมให้ผู้เลี้ยงดูเด็กใช้สมุดสีชมพูในการดูแลสุขภาพเด็ก เด็กอายุ 9,18,30,42 ด.ได้รับการประเมินพัฒนาการ/สงสัยล่าช้าได้รับการกระตุ้น เด็กอายุ9,18,30,42 ด. มีพัฒนาการสมวัย ร้อยละ 85 เด็กอายุ 9,18,30,42 ด.พบพัฒนาการสงสัยล่าช้าไม่น้อยกว่า ร้อยละ 20 ผลงาน (M&E) รอสรุปผลงาน

P : Promotion & Prevention Excellence One page presentation P : Promotion & Prevention Excellence ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ PA.2 : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย

Strategy Excellence PSPG PA2 : อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี Now จังหวัด ฉช. มี YFHS 7 ร.พ. และ มีอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 4 อำเภอ YFHS ครอบคลุมทุกอำเภอ ∙ อัตราการคลอดมีชีพและตั้งครรภ์ซ้ำในหญิง อายุ 15-19 ปี เกินเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดไว้ . YFHS ยังไม่ครอบคลุมทุกอำเภอ ลดอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ15- 19 ปี ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดไว้ อัตราคลอดมีชีพในหญิง อายุ 15 – 19 ปี เท่ากับ 44.58 ลดอัตราการตั้งครรภ์ซ้ำ อายุ 15–19 ปี ไม่เกินเกณฑ์ที่กระทรวงกำหนดไว้ อัตราการตั้งครรภ์ซ้ำ อายุ 15–19 ปี = 17.83 ปัญหา : หญิงอายุ 15-19 ปี หลังคลอด ไม่ได้คุมกำเนิด KSF : เร่งรัดให้หญิงหลังคลอด อายุ 15-19 ปี ทุกคน ได้รับบริการคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร Strategy Excellence PSPG ยุทธศาสตร์ ความเป็นเลิศ 4 ด้าน ส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคเป็นเลิศ KPI : อัตราการคลอดมีชีพ ในหญิงอายุ 15-19 ปี ไม่เกิน 42 ต่อ 1000 P : Promotion & Prevention Excellence Action Plan 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย อัตราการคลอด<42/1000 มาตรการ/ กลยุทธ์/ กิจกรรมสำคัญ ร.พ.มีการดำเนินการ/พัฒนาให้ผ่านเกณฑ์มาตรฐานYFHS ฉบับบูรณาการ อำเภอมีการพัฒนาและบูรณาการดำเนินงานอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ร่วมกับภาคีเครือข่ายในพื้นที่ ร.พ. และอำเภอ ที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ รับการตรวจประเมินและเยี่ยมเสริมพลังมาตรฐาน YFHS ฉบับบูรณาการและอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ มีช่องทางการเข้า ถึงบริการสุขภาพ ทางเพศและอนามัยการเจริญพันธุ์ในรูปแบบที่หลากหลายตรงตามความต้องการ ร.พ.ในสังกัด สป.สธ.ผ่านเกณฑ์ YFHS ฉบับบูรณาการ มากกว่าร้อยละ 80 อำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินอำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ มากกว่าร้อยละ 70 ผลงาน (M&E) รอสรุปผลงาน

P : Promotion & Prevention Excellence One page presentation P : Promotion & Prevention Excellence ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ PA.3 : ร้อยละของตำบลที่มีระบบการส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Team Care) แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย

ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบล LTC PA.3 : ร้อยละของตำบลที่มีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ Now (จว.) ตำบลผ่านเกณฑ์ตำบล LTC จังหวัด ฉช. มี พท. LTC รอบ 1 /59 15 แห่ง ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 100 ,สมัครใหม่รอบ 2 /59 : 30 แห่ง ขาดความชัดเจนการเบิกจ่าย เงินกองทุน LTC ความร่วมมือการจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ น้อย CM /CG ไม่ครอบคลุม ท้องถิ่น/ชุมชนร่วมจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ /โรงเรียนผู้สูงอายุ -มี CM LTC 78 คน , CG LTC 787 คน -ทำ Care Plan 630 คน ร้อยละ 96.77 ผู้สูงอายุกลุ่ม Active Aging และกลุ่มมีภาวะพึ่งพิง ได้รับการดูแลตามระบบ อย่างมีส่วนร่วม Strategy Excellence PSPG ยุทธศาสตร์ ความเป็นเลิศ 4 ด้าน P : Promotion & Prevention Excellence ส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคเป็นเลิศ KPI : ตำบลผ่านเกณฑ์ ตำบล Long Term Care ร้อยละ 50 Action Plan 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 35 ร้อยละ 40 ร้อยละ 45 ร้อยละ 50 มาตรการ/ กลยุทธ์/ กิจกรรมสำคัญ ทบทวนข้อมูลผู้สูงอายุ/ข้อมูล CM , CG จัดอบรม CG หลักสูตร 70 ชม. พัฒนาเครือข่ายชมรมผู้สูงอายุ จำแนกกลุ่มผู้มีภาวะพึ่งพิง/ทำ Care Plan / ให้บริการ หาความร่วมมือ อปท.จัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ประเมิน/พัฒนาตนเองตามเกณฑ์ตำบล LTC ติดตาม/ประเมินผล/สรุปการดำเนินงานตำบล LTC สนับสนุนทุก CUP แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ถ่ายทอดสิ่งดี เชิดชูสู่เวทีระดับเขต/ประดับประเทศ ผลงาน (M&E) รอสรุปผลงาน

P : Promotion & Prevention Excellence One page presentation P : Promotion & Prevention Excellence ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ PA.4 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรค รายใหม่และกลับเป็นซ้ำ แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย

Now Strategy Excellence PSPG ปี 60 Action Plan ส่งเสริมสุขภาพและ PA.4 : อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำมากกว่าร้อยละ 85 Now มีทีมพี่เลี้ยง สนับสนุนการดำเนินงาน ระดับเขต จังหวัด และอำเภอ ผู้ป่วยวัณโรครายใหม่มากกว่า 172แสนประชากร ผู้ป่วยรายใหม่มีจำนวนน้อยกว่า172 ต่อแสนประชากร ผู้ป่วยเสียชีวิต ผู้ป่วยขาดยารักษา อัตราความสำเร็จของการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่และกลับเป็นซ้ำมากกว่าร้อยละ 85 มีการดำเนินงานในรูปแบบของเครือข่าย Strategy Excellence PSPG ยุทธศาสตร์ ความเป็นเลิศ 4 ด้าน ส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคเป็นเลิศ KPI : อัตราความสำเร็จ ของการรักษาผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ และกลับเป็นซ้ำมากกว่าร้อยละ 85 P : Promotion & Prevention Excellence Action Plan 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย อัตราการรักษาหายมากกว่า 85 อัตราการรักษาหายมากกว่า 85 มาตรการ/ กลยุทธ์/ กิจกรรมสำคัญ ตรวจคัดกรอง กลุ่มเสี่ยง ผู้ป่วยวัณโรค การมีส่วนร่วม ในการดูแลรักษา ปี 60 ผลงาน (M&E) รอสรุปผลงาน

P : Promotion & Prevention Excellence One page presentation P : Promotion & Prevention Excellence ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ PA.5 : อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย

จังหวัด ฉช. ประชุมคปภ. ทุกเดือน PA 5 : อัตราการเสียชีวิตจากการบาดเจ็บทางถนน Now •มีอัตราตายอุบัติเหตุ สูงขึ้น •มีแรงงานแฝง แรงงานต่างด้าว จังหวัด ฉช. ประชุมคปภ. ทุกเดือน อัตราตาย18/แสนปชก. ฝ่าฝืนกฎจราจร ขับรถย้อนศร เร็ว อัตราตาย 37/แสนปชก. ER/ECS คุณภาพ ยุทธศาสตร์ความเป็นเลิศ 4 ด้าน Strategy Excellence PSPG ส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคเป็นเลิศ KPI : อัตราตาย18/แสนปชก. P : Promotion & Prevention Excellence Action Plan 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย ลดลงร้อยละ 10 ร้อยละ 10 ร้อยละ10 มาตรการ/ กลยุทธ์/ กิจกรรมสำคัญ มีการบูรณาการข้อมูล 3 ฐาน ทุกเดือน แผนงาน DHS-RTI ไม่น้อยกว่า 3 อำเภอ เสนอจุดเสี่ยงอย่างน้อยอำเภอละ 1จุด มีส่วนร่วมในการตั้งด่านชุมชน อำเภอละ 5 ด่านในช่วงเทศกาลปีใหม่และมีการสอบสวน CASE •มาตรการองค์กร Ambule Safety •ด่านชุมชน ช่วงเทศกาลฯและมีการสอบสวน CASE •อำเภอDHS-RTI ประเมินระดับดี มากกว่า50%ของอำเภอที่ดำเนินการ •อัตราตายการบาดเจ็บทางถนน 18/แสนประชากร ผลงาน (M&E) รอสรุปผลงาน

P : Promotion & Prevention Excellence One page presentation P : Promotion & Prevention Excellence ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ PA.6 : ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย

Now Strategy Excellence PSPG Action Plan PA.6 : ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัย Now ข้อมูลอาหารปลอดภัยจังหวัด (สารปนเปื้อน6 ชนิด) ปี57 อาหารปลอดภัยร้อยละ 97.89 ปี 58 อาหารปลอดภัยร้อยละ 98.19 ปี59อาหารปลอดภัยร้อยละ 98..14 การดำเนินการด้านกฎหมายในระดับพื้นที่ทำได้ยาก อาหารสดมีความปลอดภัยไม่พบสารเคมีปนเปื้อนทั้ง 6 ชนิด Strategy Excellence PSPG ยุทธศาสตร์ ความเป็นเลิศ 4 ด้าน Promotion &Prevention Excellence ส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคเป็นเลิศ KPI :ร้อยละของผลิตภัณฑ์อาหารสดและอาหารแปรรูปมีความปลอดภัยร้อยละ 80 Action Plan 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 30 ร้อยละ 60 ร้อยละ 80 มาตรการ/ กลยุทธ์/ กิจกรรมสำคัญ จัดทำแผนบูรณาการดำเนินงานอาหารปลอดภัยตลอดห่วงโซ่ระดับจังหวัด ดำเนินการตามแผนงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 ของแผน รายงานความก้าวหน้า การดำเนินงานต่อคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต ดำเนินการตามแผนการไม่ดำเนินงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 60 ของแผน รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานต่อคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ - รายงานความก้าวหน้าการ ดำเนินงานต่อคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต -ประสานและส่งต่อข้อมูลผลการดำเนินงานให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในจังหวัด ดำเนินการตามแผนงานร้อยละ 100 ของแผน รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงานต่อคณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพระดับเขต ผลงาน (M&E) รอสรุปผลงาน

P : Promotion & Prevention Excellence One page presentation P : Promotion & Prevention Excellence ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคเป็นเลิศ PA.7 : ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ (Green&Clean Hospital) แผนงานที่ 1 การส่งเสริมสุขภาพทุกกลุ่มวัย

GREEN & CLEAN Hospital GREEN G = (Garbage) R = (Restroom) E = (Environmental) E = (Energy) N = (Nutrition) CLEAN C = (Communication) L = (Leader) E = (Effectiveness) A = (Activities) N = (Networking)

Now Strategy Excellence PSPG Action Plan PA.7: ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ (Green&Clean Hospital) Now จังหวัด ฉช. กลุ่มงานที่รับผิดชอบงานอย่างชัดเจน โรงพยาบาล มีการดำเนินงานได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน โรงพยาบาลในเขตสุขภาพที่ 6 มีการดำเนินงานไม่ต่อเนื่อง (ส่วนกลางเน้นดำเนินการในปี 2556 เพียงปีเดียว) รพ.ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ในการดำเนินงาน Green&Clean Hospital มีโรงพยาบาลที่เป็นต้นแบบด้านนวัตกรรมเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ จำนวน 1 แห่ง มีระบบคุณภาพ ของงานอื่นๆที่เอื้อต่อการดำเนินงานได้เป็นอย่างดี Strategy Excellence PSPG ยุทธศาสตร์ ความเป็นเลิศ 4 ด้าน ส่งเสริมสุขภาพและ ป้องกันโรคเป็นเลิศ KPI : ร้อยละโรงพยาบาล ที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน P : Promotion & Prevention Excellence Action Plan 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน เกณฑ์เป้าหมาย ร้อยละ 20 ร้อยละ 40 ร้อยละ 60 ร้อยละ 75 มาตรการ/ กลยุทธ์/ กิจกรรมสำคัญ โรงพยาบาลจัดทำประกาศนโยบายการพัฒนาโรงพยาบาลด้านสิ่งแวดล้อมตามเกณฑ์ (Green&Clean Hospital) ตรวจเยี่ยม ติดตามผลการประเมิน พร้อมแก้ไขปัญหาในพื้นที่ สนับสนุนโรงพยาบาลที่เป็นต้นแบบแบบด้านนวัตกรรม และนำเสนอ ในระดับเขต ผลงาน (M&E) รอสรุปผลงาน

One page presentation