อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
หน่วยที่ 2 การศึกษากับการรู้สารสนเทศ
Advertisements

ประวัติความเป็นมาของห้องสมุดเฉพาะและศูนย์สารสนเทศ
สัมมนาทางการประกอบการธุรกิจ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย เด็กหญิงอภิญญา เพชรทอง ชั้นม.1/12 เลขที่ 3 เด็กหญิงณัฐกาญจน์ สุนะธรรม ชั้นม.1/12 เลขที่
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
วิชา หลักการตลาด บทที่ 3
Entity-Relationship Model E-R Model
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
การจัดการศูนย์สารสนเทศ หน่วยที่ 10 “ ความร่วมมือในการบริการ สารสนเทศ ” อาจารย์ ดร. นฤมล รักษาสุข.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
(Information Retrieval : IR)
 อำเภอ  จังหวัด  เขต / สลคช.  กรม / หน่วยงานภาคี  วิสาหกิจชุมชน / เครือข่าย  สถาบันการศึกษา  หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง  บุคคลทั่วไป.
ความรู้พื้นฐานทางสถิติ
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผู้บริหารกับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
Communication Software
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
บทที่ 3 ประเภทของบทและรูปแบบของรายการวิทยุโทรทัศน์
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
ประเภทโครงงาน พัฒนาระบบ (System Development)
๑ ทศวรรษของ สถาบัน. ๑ ) ด้านการศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนา บุคลากรด้านการพัฒนามนุษย์ ๒ ) ผลิตและเผยแพร่ความรู้ด้านการ พัฒนามนุษย์ ๓ ) บริการสาธิตและวิจัยโดยศูนย์พัฒนา.
วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาคณิตศาสตร์, ฟิสิกส์, เคมี, ชีววิทยา, วิทยาศาสตร์ทั่วไป, จิตวิทยา ศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา การ ประถมศึกษา, ศิลปศึกษา,
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
1.กิจกรรมสร้างการรับรู้ เนื้อหา :  สร้างการรับรู้เรื่องสถานการณ์น้ำในพื้นที่แต่ละจังหวัด  รายงานความเคลื่อนไหวการเตรียมรับมือสถานการณ์  รณรงค์การใช้น้ำอย่างประหยัด.
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
โครงการเผยแพร่ผลงาน ดร
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
บทที่ 7 การดำเนินกิจการขององค์กรวิทยุกระจายเสียงในประเทศไทย
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
โรงเรียนกับชุมชน.
เครื่องมือเข้าถึงทรัพยากรสารสนเทศห้องสมุด
Seminar 1-3.
แหล่งสารสนเทศ : การเลือกแหล่งสารสนเทศ
เรื่อง ความพึงพอใจต่อการให้บริการห้องสมุด
One Point Lesson (OPL).....บทเรียนประเด็นเดียว
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
การพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ
บทที่ ๒ เรื่องที่ ๑๐ การค้นคว้าหาความรู้ทาง อินเทอร์เน็ต
งานสังคมครั้งที่ 1 เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
Information Repackaging อาจารย์ธนากร อุยพานิชย์ สาขาวิชาสารสนเทศศาสตร์
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
SMS News Distribute Service
รายวิชา แหล่งสารสนเทศ การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ อาจารย์ ดร.นฤมล รักษาสุข
การโฆษณา การประชาสัมพันธ์
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
ระเบียบวิธีการศึกษาคติชนวิทยา
การค้นหาข้อมูลวิจัย ครั้งที่ 1
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
ประเภทรายการและรูปแบบรายการวิทยุกระจายเสียง
การอนุรักษ์และสงวนรักษาทรัพยากรสารสนเทศ
มัคคุเทศก์เป็นบุคคลที่มีความสำคัญต่ออุตสาหกรรมท่องเที่ยว ในฐานะเป็นผู้เชื่อมโยง ความเข้าใจอันดีให้เกิดขึ้นระหว่างนักท่องเที่ยวกับแหล่งท่องเที่ยวหรือสิ่งที่เขาสนใจ.
Supply Chain Management
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์ บทที่ 2 แหล่งสารสนเทศ อาจารย์จุฑามาศ พรหมทอง สาขาวิชาบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์

ความหมายของแหล่งสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศหรือแหล่งค้นคว้า (Information sources) หมายถึง แหล่งที่ผลิต และ/หรือ แหล่งที่รวบรวมสารสนเทศในทุกรูปแบบไว้เป็นแหล่งจัดเก็บและบริการทรัพยากรสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ไว้ให้บริการแก่ผู้ต้องการสารสนเทศ และเพื่อประโยชน์แก่ผู้ใช้ในการค้นคว้าและหาข้อมูล

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศบุคคล แหล่งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศสถานที่ แหล่งสารสนเทศเหตุการณ์ แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน แหล่งสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ 1. แหล่งสารสนเทศบุคคล แหล่งสารสนเทศที่มีอยู่ในตัวบุคคลที่เป็นผู้รู้สารสนเทศ โดยเกิดจากการประมวลความคิด ความรู้และประสบการณ์ของแต่ละบุคคล การเข้าถึงแหล่งสารสนเทศบุคคลอาจต้องใช้วิธีการติดต่อสอบถาม ขอความรู้ คำแนะนำเพื่อให้ได้สารสนเทศที่ต้องการจากบุคคลเหล่านั้นโดยตรง ตัวอย่างแหล่งสารสนเทศบุคล เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้เชี่ยวชาญ นักวิชาการ นักวิชาชีพในสาขาวิชาต่างๆ

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ 2. แหล่งสารสนเทศสถาบัน แหล่งสารสนเทศที่มีลักษณะเป็น หน่วยงานที่จัดทำ/ผลิต/เผยแพร่สารสนเทศได้แก่ สถาบัน/องค์การต่างๆ ซึ่งอาจเป็นส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ เอกชน สมาคม หรือองค์การระหว่างประเทศ หน่วยงานที่รวบรวมและบริการ เช่น ห้องสมุด หอสมุด หอจดหมายเหตุ เป็นต้น 1. แหล่งสารสนเทศบุคคล

แหล่งสารสนเทศสถาบัน - ห้องสมุด ห้องสมุดโรงเรียน (School Library) ห้องสมุดมหาวิทยาลัย (Academic library) ห้องสมุดประชาชน (Public Library) ห้องสมุดเฉพาะ (Special Library) หอสมุดแห่งชาติ (National Library)

ห้องสมุดโรงเรียน (School Library)

ห้องสมุดมหาวิทยาลัย (Academic library) คลิปวิดีโอห้องสมุดมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์

ห้องสมุดประชาชน (Public Library)

ห้องสมุดเฉพาะ (Special Library)

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ 1. แหล่งสารสนเทศบุคคล แหล่งสารสนเทศที่เป็นสถานที่จริงหรือสถานที่จำลอง ผู้ใช้สามารถศึกษาหาความรู้จากสถานที่เหล่านี้ได้ เช่น ปราสาท โบราณสถาน อุทยานแห่งชาติ รวมถึงสถานที่จำลอง แหล่งสารสนเทศประเภทนี้มีประโยชน์ต่อการศึกษาค้นคว้า เนื่องจากบุคคลจะได้รับประสบการณ์ โดยตรง ข้อด้อย หากแหล่งสารสนเทศอยู่ไกล ทำให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเดินทาง 2. แหล่งสารสนเทศสถาบัน 3. แหล่งสารสนเทศสถานที่ ตัวอย่าง คลิปเขากระโดง

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ 1. แหล่งสารสนเทศบุคคล 2. แหล่งสารสนเทศสถาบัน 3. แหล่งสารสนเทศสถานที่ เป็นแหล่งสารสนเทศที่รวบรวมกิจกรรมหรือเหตุการณ์สำคัญต่างๆที่เกิดขึ้นและจบไปแล้วแต่ยังเป็นเหตุการณ์ที่ยังคงระลึกถึงและให้ความสำคัญ 4. แหล่งสารสนเทศเหตุการณ์

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ 1. แหล่งสารสนเทศบุคคล แหล่งสารสนเทศที่มุ่งเผยแพร่สารสนเทศ ข่าวสาร เหตุการณ์ต่อมวลชนส่วนใหญ่ เน้นที่ความทันสมัย/ทันต่อเหตุการณ์ ใช้การถ่ายทอดสารสนเทศในรูปของการกระจายเสียง ภาพ และตัวอักษร โดยผ่านสื่อประเภทต่างๆ ได้แก่ สื่อหนังสือพิมพ์ เน้นการนำเสนอข่าวสาร เหตุการณ์บ้านเมือง ความรู้ ความบันเทิงที่อยู่ในความสนใจของประชาชนผ่านทางอักษรและรูปภาพ สื่อวิทยุ เผยแพร่สารสนเทศ ประเภทข่าว เหตุการณ์ต่างๆผ่านทางเสียง สื่อโทรทัศน์ เป็นการเผยแพร่สาระความรู้เรื่องที่ผู้คนสนใจผ่านทางเสียง ภาพ ข้อความโดยผ่านทางเครื่องรับโทรทัศน์ 2. แหล่งสารสนเทศสถาบัน 3. แหล่งสารสนเทศสถานที่ 4. แหล่งสารสนเทศเหตุการณ์ 5. แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน

ประเภทของแหล่งสารสนเทศ 1. แหล่งสารสนเทศบุคคล เป็นแหล่งที่รวบรวม สื่อสารและให้บริการสารสนเทศบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต จัดทำโดยบุคคล หน่วยงาน หรือองค์การต่างๆ เช่น เว็บไซต์ของผู้ผลิตในกลุ่มต่างๆ ดังนี้ เว็บของสถาบันการศึกษา เว็บของบริษัทธุรกิจ เว็บของหน่วยราชการ เว็บขององค์การระหว่างประเทศ เว็บของสมาคมวิชาชีพ 2. แหล่งสารสนเทศสถาบัน 3. แหล่งสารสนเทศสถานที่ 4. แหล่งสารสนเทศเหตุการณ์ 5. แหล่งสารสนเทศสื่อมวลชน 6. แหล่งสารสนเทศอินเทอร์เน็ต

แหล่งสารสนเทศอื่นๆ ศูนย์เอกสารหรือศูนย์สารสนเทศ (Document Center or Information Center) เป็นหน่วยงานที่มีหน้าที่คัดเลือก จัดหา วิเคราะห์ จัดเก็บและให้บริการสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา การบริการส่วนใหญ่มุ่งเน้นที่เนื้อหาของเอกสารมากกว่าตัวเล่ม โดยมี นักเอกสารสนเทศ ช่วยเหลือในการค้นคว้าวิจัยและการให้บริการแก่ผู้ใช้ ซึ่งผู้ใช้ส่วนใหญ่ คือ นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย

แหล่งสารสนเทศอื่นๆ หอจดหมายเหตุ (Archives) คลิปหอจดหมายเหตุประเภทต่างๆ หอจดหมายเหตุ (Archives) เป็นหน่วยงานภาครัฐหรือเอกชนที่ทำการคัดเลือก จัดเก็บ และอนุรักษ์เอกสารจดหมายเหตุ โดยการจัดเก็บเอกสารจดหมายเหตุ แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. เอกสารจดหมายเหตุประวัติศาสตร์ เป็นการจัดเก็บเอกสารที่มีอายุ 25 ปี ขึ้นไป จะถูกจัดเก็บในหอจดหมายเหตุประวัติศาสตร์ 2. เอกสารจดหมายเหตุงานบริหาร เป็นการจัดเก็บเอกสารที่มีอายุน้อยกว่า 25 ปี และเอกสารการบริหารงานที่ผ่านมา โดยจะถูกจัดเก็บในหอจดหมายเหตุ ไม่สามารถยืมออกมาได้ และมีนักจดหมายเหตุเป็นคนดูแลหอจดหมายเหตุ