ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ. ศ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
การจัดสรรตำแหน่งและการ คัดเลือก เพื่อบรรจุลูกจ้างชั่วคราวเข้า รับราชการ.
โดย... กอง บริหารงาน บุคคล วันพุธที่ 12 พฤษภาคม พ. ศ ณ ห้อง ประชุมสภาชั้น 4 อาคารทีปวิชญ์
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการ ประชาสัมพันธ์รายงาน การประเมินผลการจัดสวัสดิการ.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประจำ 10 รวม 35 อัตราข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วยราชการ - ไปช่วยราชการ 2 (1. นางศรินทร์ เจริญผล.
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
อำนาจเจริญ - ว่าง- - ว่าง- - ว่าง - -ว่าง -
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2019 พนักงานราชการ 44 ลูกจ้างประจำ 11 รวม 3534 อัตราข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง 1 เจ้าพนักงานธุรการอาวุโส มาช่วยราชการ - ไปช่วยราชการ.
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
สำนักงานสหกรณ์จังหวัดบุรีรัมย์
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 20 พนักงาน ราชการ 55 ลูกจ้างประ จำ 10 รวม 35 อัต รา ข้าราชการ 3 ตำแหน่ง อัตราว่าง - มาช่วย ราชการ - ไปช่วย ราชการ 2 (1. นางศรินทร์
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีสาขาระดับอำเภอ 6 สาขา
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
สำนักความรับผิดทางแพ่ง
อัตร า บรร จุ ข้าราชการ 44 พนักงาน ราชการ 33 ลูกจ้าง -- รวม 77 อัตราว่าง พนักงานราชการ 3 มาช่วย ราชการ ถูกยืมตัว ลาเรียน ผอ. สำนักงานวิเทศ สัมพันธ์ (1/1)
ค่าใช้จ่ายในการ บริหารงาน ของส่วนราชการ พ. ศ
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
นางหทัยรัตน์ หงษ์ทอง ตำแหน่ง หัวหน้าฝ่ายบริหาร และพิธีการบิน.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
แนวทางใหม่ในการบริหารงานบุคคล ลูกจ้างประจำเงินรายได้
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขในการขออนุญาตทำงาน และการอนุญาตให้ทำงานตามพระราชกำหนดการบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ.
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
กลุ่มเกษตรกร.
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
การให้เงินช่วยเหลือหรืออุดหนุน เพื่อส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546
โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
องค์กรตรวจสอบการทำงานภาครัฐ (สตง. / ปปช. / ปปท. )
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
ประกาศสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การสนับสนุนและส่งเสริมศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและคนพิการ พ.ศ นายอัษฎาวุธ.
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
(สนง. ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นอำเภอ)
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การจัดองค์กรของรัฐในประเทศไทย ********************
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การขับเคลื่อน การจัดทำแผนการพัฒนากำลังคน รายจังหวัด
หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ. ศ ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วย การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547

ประเด็นการชี้แจง ความหมายของสวัสดิการ หลักการของระเบียบ กระบวนการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ คณะกรรมการที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการ การดำเนินการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ/จังหวัด การตรวจสอบและประเมินผลการจัดสวัสดิการ ขั้นตอนการจัดสวัสดิการภายในจังหวัด

แผนภูมิแสดงค่าตอบแทน (Compensation) ของราชการ สวัสดิการ เสริม สวัสดิการหลัก เงินเดือน / เงินตอบแทน สวัสดิการ ค่าตอบแทนการทำงาน ในหน้าที่

ความหมายของสวัสดิการ สวัสดิการภาครัฐ หมายถึง สิ่งตอบแทนที่ได้รับนอกเหนือจากเงินเดือนทั้งที่เป็นตัวเงินและไม่เป็นตัวเงินเพื่อส่งเสริมขวัญกำลังใจและเสริมสร้างฐานะความเป็นอยู่ของผู้ปฏิบัติงานให้ดีขึ้น ได้แก่ การลา ค่ารักษาพยาบาล เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการศึกษาของบุตร เงินสวัสดิการสำหรับการปฏิบัติงานประจำสำนักงานในพื้นที่พิเศษ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ บำเหน็จบำนาญ สวัสดิการภายในส่วนราชการ หมายถึง กิจกรรมหรือกิจการใดๆ ที่คณะกรรมการสวัสดิการจัดให้มีขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกให้แก่ข้าราชการเพื่อประโยชน์ในการดำรงชีวิตนอกเหนือจากสวัสดิการที่ทางราชการจัดให้แก่ข้าราชการเป็นกรณีปกติ หรือเพื่อประโยชน์แก่การสนับสนุนการปฏิบัติราชการหรือที่คณะกรรมการเห็นสมควรให้จัดเพิ่มขึ้นสำหรับส่วนราชการต่างๆ ได้แก่ การกู้เงิน เงินสงเคราะห์กรณีต่าง ๆ ร้านอาหารสวัสดิการ การฌาปณกิจสงเคราะห์ เป็นต้น

แนวปฏิบัติและ หนังสือซักซ้อม ฯ หลักการและบททั่วไป หมวด ๑ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ หมวด ๒ การเงิน การบัญชี และการตรวจสอบ หมวด ๓ คณะกรรมการสวัสดิการข้าราชการ หมวด ๔ ศูนย์ประสานการจัดสวัสดิการข้าราชการ บทเฉพาะกาล ระเบียบสวัสดิการ พ.ศ. ๒๕๔๗ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้าฯ หลักเกณฑ์และวิธีการประชาสัมพันธ์รายงานการประเมินผลฯ หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจัดสวัสดิการในเชิงธุรกิจ หลักเกณฑ์และวิธีการกู้เงินจากสวัสดิการภายในส่วนราชการอื่น ประกาศ คณะกรรมการฯ ๔ ฉบับ แนวปฏิบัติและ หนังสือซักซ้อม ฯ แนวทางปฏิบัติในการจัดสวัสดิการภายในหน่วยงานฯ การซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ

ความหมายของสวัสดิการภายในส่วนราชการ (ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547) กิจกรรม/กิจการใดที่คณะกรรมการสวัสดิการภายในส่วนราชการ ที่จัดให้มีขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ เพื่อช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกให้แก่ข้าราชการ เพื่อประโยชน์แก่การดำรงชีพนอกเหนือจากสวัสดิการที่ ทางราชการจัดให้ข้าราชการเป็นกรณีปกติ คณะกรรมการสวัสดิการภายในส่วนราชการเห็นควรจัดเพิ่ม

มีเจตนารมณ์เพื่อสนับสนุนให้ สรก. ต่างๆ จัดสวัสดิการภายใน หลักการของระเบียบ มีเจตนารมณ์เพื่อสนับสนุนให้ สรก. ต่างๆ จัดสวัสดิการภายใน ให้หัวหน้าส่วนราชการมีหน้าที่ริเริ่ม ดำเนินการสนับสนุน ให้มีการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ โดยแต่งตั้ง คณะกรรมการสวัสดิการภายใน และผู้รับผิดชอบ ในการจัดสวัสดิการ ให้ข้าราชการปฏิบัติงานสวัสดิการภายในส่วนราชการได้ โดยให้ถือว่าการปฏิบัติงานนั้นเป็นการปฏิบัติราชการด้วย

หลักการของระเบียบ (ต่อ) อนุญาตให้ใช้อาคาร สถานที่ของทางราชการได้ตามความจำเป็น และให้ใช้น้ำและกระแสไฟฟ้าได้โดยประหยัด ตามหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขที่คณะกรรมการสวัสดิการข้าราชการกำหนด ให้นำรายได้ หรือผลประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดสวัสดิการจัด เป็นกองทุนสวัสดิการเพื่อนำไปใช้ข่ายในทางที่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับกิจการสวัสดิการนั้น โดยไม่ต้องนำส่งคลังแผ่นดิน

หลักการของระเบียบ (ต่อ) ให้การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ ครอบคลุมเจ้าหน้าที่ ของรัฐทุกคนในส่วนราชการ ให้มีคณะกรรมการสวัสดิการข้าราชการเป็นคณะกรรมการกลาง เพื่อกำกับดูแลและแก้ไขปัญหาการจัดสวัสดิการข้าราชการ เพิ่มบทบาทสมาชิกสวัสดิการให้มีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการ ข้าราชการ

หลักการของระเบียบ (ต่อ) ให้จัดสวัสดิการเชิงธุรกิจได้ตามหลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ สวัสดิการข้าราชการกำหนด ปรับปรุงข้อกำหนดวิธีดำเนินการและการบริหารทางการเงิน ให้ชัดเจน โปร่งใส และตรวจสอบได้

“”ความหมายของข้าราชการตามระเบียบนี้ ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการทหาร ข้าราชการตำรวจ ข้าราชการพลเรือนในมหาวิทยาลัย ข้าราชการครู ข้าราชการฝ่ายอัยการ พนักงานของรัฐ พนักงานราชการ และลูกจ้างใน สรก.

“”””การนำระเบียบนี้ไปใช้กับหน่วยงานอื่นของรัฐ เพื่อประโยชน์ในการจัดสวัสดิการภายในของหน่วยงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ องค์การมหาชน และหน่วยงานอื่นของรัฐ อาจนำระเบียบนี้ไปใช้บังคับโดยอนุโลม

ความหมายของส่วนราชการตามระเบียบนี้ กระทรวง ทบวง กรม ส่วนราชการที่จัดตั้งในรูปแบบอื่น เช่น กลุ่มภารกิจ หรือ หลายกรมร่วมกันก็ได้ จังหวัด หน่วยงานในความรับผิดชอบของคณะผู้แทนการบริหารราชการในต่างประเทศ เช่น สถานเอกอัครราชทูต สถานกงสุล เป็นต้น

กระบวนการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ/จังหวัด  แต่งตั้งคณะกรรมการ  กำหนดนโยบายแผนงาน หลักเกณฑ์  ดำเนินการจัดสวัสดิการ  ประเมินผลและรายงาน ประธานกรรมการ กรรมการจากการแต่งตั้งและเลือกตั้ง การจัดประชุมสมาชิก การรายงานประจำปี คกก. ให้คำปรึกษาแนะนำ คกก. ออกระเบียบ/กำหนดสมาชิก มอบหมายบุคคล/คณะบุคคล แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการใช้น้ำ กระแสไฟฟ้าฯ หลักเกณฑ์และวิธีการประชาสัมพันธ์ฯ หลักเกณฑ์ วิธีการ การจัดสวัสดิการในเชิงธุรกิจ หลักเกณฑ์และวิธีการกู้เงินฯ สำรวจความต้องการสวัสดิการ จัดสวัสดิการประเภทต่าง ๆ จัดตั้งกองทุนสวัสดิการ จัดทำบัญชี

องค์ประกอบคณะกรรมการสวัสดิการข้าราชการ (คณะกรรมการกลาง) ผู้แทนองค์กรกลาง บริหารงานบุคคล (ก.) ที่มีข้าราชการเป็นสมาชิกประเภทละ 1 คน (วาระ 2 ปี แต่เป็น 2 วาระติดต่อกันไม่ได้) ผอ.ศูนย์ประสานฯ (ก.ก. /เลขานุการ) ข้าราชการ สกพ. (ผู้ช่วยเลขาฯ ไม่เกิน 2 คน) เลขาธิการ ก.พ. (ประธานกรรมการ) เลขาธิการ ก.พ.ร. ผอ.สำนักงบประมาณ อธิบดีกรมบัญชีกลาง

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการกลาง กำหนดนโยบายและกำกับดูแล เสนอนโยบายต่อ ครม. และเสนอแนะให้ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ระเบียบ หรือข้อบังคับ กำหนดมาตรฐานการจัดสวัสดิการฯ ออกระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ/คำสั่ง เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไขและวิธีการปฏิบัติ แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ/ที่ปรึกษา พิจารณาและวินิจฉัยปัญหาในการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ปฏิบัติการอื่นใดที่จำเป็น ตามที่ ครม. มอบหมาย

หน้าที่ศูนย์ประสานการจัดสวัสดิการข้าราชการ (ฝ่ายเลขานุการของคณะกรรมการสวัสดิการข้าราชการ) ศึกษา สำรวจ วิจัย เพื่อเสนอนโยบาย/มาตรการ ให้ คกก.พิจารณา รวบรวมข้อมูลจัดทำคู่มือการจัดสวัสดิการฯเพื่อเผยแพร่ เสนอความเห็นต่อคณะกรรมการฯ ให้แก้ไข/ปรับปรุงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ทำโครงการศึกษาฝึกอบรม/เผยแพร่ความรู้/เสนอแนะ/ประสานงาน ประเมินผลการจัดสวัสดิการฯในภาพรวม ปีละครั้ง ปฏิบัติการ/ประสานงานยื่นตามที่กฎหมายกำหนด/คณะกรรมการมอบหมาย

องค์ประกอบคณะกรรมการสวัสดิการภายในฯ หัวหน้า ส่วนราชการ หรือผู้ที่ได้รับ มอบหมาย ผู้รับผิดชอบงาน ด้านสวัสดิการฯ เป็น กก./เลขานุการ + ผู้ช่วยเลขานุการฯ 2 คน ข้าราชการ ในส่วนราชการนั้นไม่เกิน 7 คน ผู้แทนสมาชิก ไม่เกิน 7 คน (วาระ 2 ปี) ให้คณะกรรมการฯ เลือกกรรมการคนหนึ่งที่มีคุณวุฒิ/ประสบการณ์ ด้านการเงินและบัญชีเป็น เหรัญญิก

อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสวัสดิการภายในฯ กำหนดนโยบาย อำนวยการ และจัดการสวัสดิการฯ ออกระเบียบ หรือ ข้อบังคับในการดำเนินการจัดสวัสดิการฯ อนุมัติให้จัดหรือยุบเลิกการจัดสวัสดิการประเภทต่างๆ แต่งตั้งบุคคล คณะบุคคล หรือคณะอนุกรรมการที่เป็นข้าราชการมิใช่ข้าราชการเพื่อดำเนินการจัดสวัสดิการฯ จัดการประชุมใหญ่สามัญประจำปี และการประชุมใหญ่วิสามัญ

อำนาจหน้าที่คณะกรรมการสวัสดิการภายในฯ (ต่อ) ควบคุมการรับเงินและใช้จ่ายเงินกองทุนสวัสดิการ อนุมัติการจ้างลูกจ้าง กำหนดค่าตอบแทน จัดระบบบริหารงานบุคคลของลูกจ้าง กำหนดอัตราค่าบริการในการใช้บริการสวัสดิการ อนุมัติ/มอบอำนาจกรรมการให้ก่อหนี้ ผูกพัน หรือลงนาม ในเอกสาร และจ่ายเงินกองทุน ปฏิบัติการอื่นใดที่จำเป็น หรือตาม คกก./ครม. มอบหมาย

อำนาจหน้าที่ของงานสวัสดิการภายในฯ (ฝายเลขานุการ คกก.สวัสดิการภายในฯ) ดำเนินการทางธุรการเกี่ยวกับลูกจ้าง สวัสดิการฯ เช่น บรรจุแต่งตั้ง ฯ จัดทำแผนงานโครงการและ งบประมาณประจำปี เสนอความเห็นในการออกระเบียบวิธี ปฏิบัติต่อ คกก.สวัสดิการภายในฯ ประสานงานกับ คกก.สวัสดิการ ข้าราชการและศูนย์ประสานฯ หรือ หน่วยงานอื่น เสนอความเห็นให้มีการจัดบริการ/ กิจกรรมสวัสดิการตามความเหมาะสม ปฏิบัติการอื่นใดตามที่ คกก. สวัสดิการภายในฯ มอบหมาย

การจัดสวัสดิการในหน่วยงานย่อย (สวัสดิการที่สำคัญ+มีลักษณะเฉพาะ) การจัดสวัสดิการในหน่วยงานย่อย (สวัสดิการที่สำคัญ+มีลักษณะเฉพาะ) คณะกรรมการมอบหมายบุคคล คณะบุคคล หรือ คณะอนุกรรมการจัดสวัสดิการของหน่วยงานย่อย คอก.ที่ได้รับมอบหมายออกระเบียบสวัสดิการ+ดำเนินการ ตามระเบียบฯ มีกองทุนสวัสดิการของหน่วยงานย่อย มีการรายงานคณะกรรมการเป็นระยะและประจำปี คณะกรรมการอาจส่งเจ้าหน้าที่ไปให้คำแนะนำ หรือ ตรวจการเงินและบัญชี

การจัดสวัสดิการที่มีกฎหมายเฉพาะ ให้ดำเนินการไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น แทนการปฏิบัติตามระเบียบนี้ ให้ถือว่าสวัสดิการเหล่านั้นเป็นสวัสดิการภายในตามระเบียบนี้ เพื่อให้สามารถนำบทบัญญัติในระเบียบนี้ไปดำเนินการใน ส่วนที่เกี่ยวข้องเท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งกับกฎหมาย ตัวอย่างเช่น สหกรณ์ออมทรัพย์ ฌาปนกิจสงเคราะห์ เป็นต้น

สมาชิกสามัญ สมาชิกวิสามัญ (ที่พ้นจากการปฏิบัติงานใน ส่วนราชการ) 2. การกำหนดนโยบาย สมาชิกสวัสดิการ สมาชิกสามัญ สมาชิกวิสามัญ สมาชิกสมทบ ข้าราชการ/ พนักงานของรัฐ + ลูกจ้างประจำ พนักงานราชการ+ ลูกจ้างชั่วคราว สมาชิกสามัญ สมาชิกวิสามัญ (ที่พ้นจากการปฏิบัติงานใน ส่วนราชการ)

3. การดำเนินการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ/จังหวัด ประเภทการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ การจัดสวัสดิการภายในตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ พ.ศ. 2547 ข้อ 4 แบ่งเป็น 2 ประเภท การจัดสวัสดิการภายใน การจัดสวัสดิการในเชิงธุรกิจ

การจัดสวัสดิการภายใน การจัดกิจกรรมหรือกิจการที่ คกก.สวัสดิการภายในฯ จัดให้มีขึ้น เพื่อช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกให้แก่ข้าราชการ เพื่อประโยชน์ แก่การดำรงชีพ นอกเหนือจากสวัสดิการที่ทางราชการจัดให้ในกรณีปกติ เพื่อสนับสนุนการปฏิบัติราชการ หรือกิจกรรมอื่นที่ คกก.เห็นสมควร ให้จัดเพิ่มขึ้น โดยมิได้เป็นไปในเชิงธุรกิจ

การจัดสวัสดิการในเชิงธุรกิจ การดำเนินกิจกรรมหรือกิจการสวัสดิการใดๆ ที่จัดเป็นสวัสดิการ ภายในของส่วนราชการที่ คกก.สวัสดิการภายในส่วนราชการ จัดให้มีขึ้น เป็นไปในทางการค้ากับสมาชิกสวัสดิการ+บุคคลภายนอกทั่วไป อาจกระทำได้ หากดำเนินการตามหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไข ตามที่ คกก.สวัสดิการกลาง กำหนด

แนวคิดการจัดสวัสดิการภายในกับสวัสดิการในเชิงธุรกิจ เจตนารมณ์ เพื่อจัดกิจกรรม หรือกิจการเพื่อสมาชิก มิได้เป็นไปในทางการค้า การดำเนินการโครงการ ต้องได้รับอนุมัติ & ดำเนินการภายใต้การกำกับดูแลของ คกก.สวัสดิการของ สรก. ค่าใช้จ่ายโครงการ ไม่ต้องจ่ายค่าเช่าพื้นที่ แต่ต้องเสีย VAT หากรายได้เกินกำหนด อาจไม่ต้องเสียค่าสาธารณูปโภคหากใช้โดยประหยัด เป็นครั้งคราวและไม่ใช่เพื่อหารายได้ สวัสดิการภายใน สวัสดิการเชิงธุรกิจ การดำเนินการโครงการ ต้องได้รับการอนุมัติจาก คกก.สวัสดิการของ สรก. ต้องดำเนินการในที่ดิน อาคาร สถานที่ ที่อยู่ในการกำกับดูแลของ สรก. และได้รับการอนุมัติจาก หน.สรก.+กรม ธนารักษ์ ตามกฎหมาย มีความเสี่ยงน้อย ไม่กระทบภารกิจหลัก ประโยชน์และเกียรติของทางราชการ ค่าใช้จ่ายโครงการ ต้องจ่ายค่าเช่าพื้นที่ให้กรมธนารักษ์ ตามระเบียบที่กำหนด ต้องจ่ายค่าภาษี ค่าสาธารณูปโภคและค่าใช้จ่ายอื่นตามกฎหมาย รายได้เข้ากองทุนสวัสดิการ โดยไม่หักค่าใช้จ่าย เจตนารมณ์ เพื่อประโยชน์ของ สรก. อำนวยความสะดวกผู้มาติดต่อราชการ หรือข้าราชการ เป็นไปในทางการค้ากับสมาชิก + บุคคลภายนอกทั่วไป

รายได้ของกองทุนสวัสดิการ ค่าธรรมเนียมสมาชิก รายรับจากการจัดกิจกรรมหรือบริการ ดอกผลของเงินรายได้ เงินรายได้อื่นๆ เงินอุดหนุนตามที่รัฐหรือหน่วยงานอื่นจัดสรรให้ เงินกู้จากสวัสดิการอื่น หรือ สถาบันการเงิน เงินบริจาค และหากดูในมิติของงบรายจ่าย จะมีงบลงทุนสูงถึง 113,647.3 ล้านบาท ซึ่งหากพิจารณาในลักษณะมิติรายจ่ายลงทุน จะมีวงเงินไม่ต่ำกว่า 300,000 ล้านบาท 31

การเงินและการบัญชีของกองทุนสวัสดิการ  สวัสดิการแต่ละสรก. จัดตั้งกองทุนสวัสดิการ /เปิดบัญชี ฝากเงินกองทุนกับธ.พาณิชย์ หรือ สหกรณ์ออมทรัพย์ของ สรก.  สวัสดิการฯกำหนดและรักษาไว้ซึ่งระบบการบัญชีที่เหมาะสม  จัดทำงบรายรับจ่ายประจำเดือนเสนอคณะกรรมการสวัสดิการ ภายในสรก. + มีการตรวจสอบบัญชีภายในเป็นประจำ  การปิดบัญชีทำปีละครั้งตามปีปฏิทินและให้จัดทำ งบการเงินภายใน 45 วัน นับแต่วันสิ้นงวดบัญชี

การประชุมสมาชิกสวัสดิการ การประชุมใหญ่วิสามัญ (เมื่อ คกก.สวัสดิการฯ เห็นสมควร หรือ สมาชิก1/5 หรือไม่น้อยกว่า100 คนร้องขอ) เพื่อสอบถามปัญหา ปรึกษาหารือเรื่องที่สำคัญ หรือ ต้องการความเห็นร่วม การประชุมใหญ่สามัญ รายงานผลงาน นโยบาย แผนงาน+งปม.ปีต่อไป พิจารณาระเบียบสำคัญ แสดงความคิดเห็น+ปรึกษา

4. การประเมินผลการจัดสวัสดิการ การตรวจสอบบัญชี  ผู้สอบบัญชีตรวจสอบและรับรองบัญชีการเงินของสวัสดิการฯ ให้แล้วเสร็จภายใน 30 วันนับแต่วันได้รับงบการเงิน  ผู้สอบบัญชีมีหน้าที่ตรวจสอบสมุดบัญชีและเอกสารอื่น โดยอาจสอบถามประธาน กก./กก. หรือผู้เกี่ยวข้อง  ผู้สอบบัญชีมีหน้าที่รายงานผลการสอบต่อ คกก.สวัสดิการฯ เพื่อพิจารณาประเมินผล  คกก.สวัสดิการฯ ประชาสัมพันธ์ให้สมาชิกทราบรายงาน ประเมินผล ภายใน 30 วัน นับแต่ผู้สอบบัญชีรับรองบัญชี

การรายงานผลการดำเนินงาน ให้คณะกรรมการสวัสดิการภายในส่วนราชการจัดทำรายงาน เสนอคณะกรรมการสวัสดิการข้าราชการปีละครั้ง สาระของรายงาน : เสนอผลงานในปีที่ผ่านมา ชี้แจงนโยบาย โครงการ แผนงาน ที่จะทำในปีต่อไป ปัญหา อุปสรรคที่สำคัญในการดำเนินการ ข้อเสนอแนะ

ขั้นตอนการดำเนินการจัดสวัสดิการภายในจังหวัด (กรณีของจังหวัดที่ยังไม่มีการจัดสวัสดิการภายในจังหวัด) กำหนดให้มีคณะกรรมการตามระเบียบ ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธาน กรรมการจากการแต่งตั้ง ไม่เกิน 7 คนและเลือกตั้ง ไม่เกิน 7 คน 1 คณะกรรมการภายในจังหวัด อาจส่งเจ้าหน้าที่ไปให้ คำแนะนำ หรือตรวจสอบบัญชี คณะกรรมการฯ ออกระเบียบสวัสดิการภายในของจังหวัด 6 2 ขั้นตอนการดำเนินการจัดสวัสดิการของจังหวัด จัดทำรายงานต่อคณะกรรมการภายในจังหวัดเป็นระยะและประจำปี คณะกรรมการมอบหมายบุคคล/คณะบุคคล/คณะอนุกรรมการจัดสวัสดิการในหน่วยงานย่อย 3 5 4 คณะอนุกรรมการออกระเบียบและดำเนินการตามระเบียบ และจัดตั้งกองทุนสวัสดิการของหน่วยงานย่อย

หลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ/จังหวัด  หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการพิจารณาอนุมัติให้ใช้น้ำ กระแสไฟฟ้า หรือสิ่งสาธารณูปโภคอื่นเพื่อการจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ  หลักเกณฑ์และวิธีการประชาสัมพันธ์รายงานการประเมินผลการจัดสวัสดิการ  หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจัดสวัสดิการในเชิงธุรกิจ  หลักเกณฑ์และวิธีการกู้เงินจากสวัสดิการภายในของส่วนราชการอื่นหรือสถาบันการเงิน กรณีจัดเป็นประจำ กรณีจัดเป็นครั้งคราว ให้คณะกรรมการสวัสดิการพิจารณาอนุมัติการกู้ยืมเงินของโครงการสวัสดิการที่จะขอกู้เงิน โดยพิจารณา วัตถุประสงค์ จำนวนเงิน มีความเป็นไปได้ในการชำระเงินกู้และดอกเบี้ย ภายในระยะเวลาที่ผู้ให้กู้กำหนด มีจำนวนผู้ให้กู้ไม่น้อยกว่าสองรายและจะต้องพิจารณาจากผู้ให้กู้ที่มีเงื่อนไขการให้กู้ที่ดีที่สุด ให้จัดทำคำขอกู้ในนามของคณะกรรมการสวัสดิการของ ส่วนราชการ แจ้งเวียนในลักษณะเดียวกับระเบียบของทางราชการ จัดเก็บเอกสารรายงานตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในระเบียบงานสารบรรณ จัดเผยแพร่บนเว็บไซด์ของส่วนราชการ 3 เดือน 1. อำนวยความสะดวกแก่ผู้มาติดต่อราชการ หรือการช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกแก่ข้าราชการ 2. ดำเนินการในที่ดิน อาคารหรือสถานที่ที่อยู่ในความครอบครอง หรือกำกับดูแลของส่วนราชการ และได้รับอนุมัติให้ใช้จากส่วนราชการหรือกรมธนารักษ์ฯ 3. มีความเสี่ยงในการลงทุนน้อย และคณะกรรมการฯ รับได้ 4. ต้องไม่กระทบกับภารกิจหลักของส่วนราชการ ประโยชน์ และเกียรติของทางราชการ 5. ไม่ทำให้สิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต และความปลอดภัยของข้าราชการในสถานที่ที่ปฏิบัติงานลดลง 6. ไม่เสื่อมเสียศีลธรรม วัฒนธรรม 7. ราคาค่าบริการต้องเป็นธรรมและไม่ใช่การบังคับให้ผู้รับบริการต้องใช้บริการ

ตัวอย่างกิจกรรมที่ดำเนินการจัดสวัสดิการภายในจังหวัด ร้านค้าสวัสดิการ โรงอาหาร ร้านอาหารสวัสดิการ การให้กู้เงินดอกเบี้ยต่ำ การสงเคราะห์ข้าราชการกรณีต่าง ๆ การจัดฝึกอาชีพเสริมรายได้ ฯลฯ

ขั้นตอนการจัดกิจกรรมสวัสดิการภายในจังหวัด ตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงาน สำรวจความต้องการของสมาชิก ศึกษาความเป็นไปได้/ผลกระทบของการดำเนินโครงการ จัดทำโครงการเสนอต่อคณะกรรมการ ขออนุมัติโครงการต่อคณะกรรมการ ดำเนินกิจกรรม ติดตามประเมินผล ปรับปรุงการดำเนินการการจัดสวัสดิการ

หลักในการพิจารณาจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ ความต้องการของสมาชิก ประโยชน์ของสมาชิกโดยรวม ความเป็นธรรมของสมาชิก คณะกรรมการสวัสดิการภายในจังหวัด สามารถรับผิดชอบต่อความเสียหายที่เกิดขึ้นได้ ผลกระทบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ไม่ทำให้สภาพแวดล้อมเสื่อมเสีย ไม่ผิดศีลธรรม ไม่ขัดกับกฎหมาย เป็นต้น

Thank You