การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู :

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
Advertisements

กลุ่ม 4 อนามัยผู้สูงอายุ
ตำบลจัดการสุขภาพ5กลุ่มวัยแบบบูรณาการ
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
การกำกับดูแล ตนเองที่ดี สรวิชญ์ เปรมชื่น ที่ปรึกษา สมาคมส่งเสริม ผู้ประกอบการวิสาหกิจ.
สำนักวิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล สำนักงาน ก.พ.
Family assessment and Home health care
4.2.2 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการสร้างเสริมสุขภาพของบุคลากรในหน่วยงาน น้ำหนัก : ร้อยละ 2 ผู้รับผิดชอบ : กรง. สกก.
การแต่งตั้ง เลื่อน ย้าย ข้าราชการ
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
นิเทศและประเมินผลสัญจร โซนนาคราชซ้าย
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ การป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยรุ่น
ยุทธศาสตร์ 20 ปี 5 ปี และปี 2561.
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมุกดาหาร
การดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การบริหารงบสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปี งบประมาณ 2560
บทบาทพยาบาลในการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช
การประชุมการบริหารยุทธศาสตร์กรมอนามัย ครั้งที่ 4/2559
ระเบียบวาระที่ 3 : เรื่องเพื่อพิจารณา
นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ ศูนย์อนามัยที่ 10 เชียงใหม่
INHOMESS นพ.นนท์ โสวัณณะ ภาควิชาเวชศาสตร์ชุมชน
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยผู้สูงอายุ
แนวทางการตอบแบบสำรวจ Evidence-based รอบที่ 1
แผนงาน/โครงการ สร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ
สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 5 จังหวัดราชบุรี
กลุ่มวัยทำงาน เขตสุขภาพที่ 5 28 ตุลาคม 2558
การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยง ด้านสุขภาพ
การจัดการสุขภาพกลุ่มเสี่ยง
โครงการส่งเสริมเกษตรทฤษฎีใหม่ และเกษตรกรรมยั่งยืน ปี 2560
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
P S BB ART ระบบงบประมาณแบบมุ่งเน้น ผลงานตามยุทธศาสตร์ กับ PART ผลผลิต
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
กุลพร สุขุมาลตระกูล นักโภชนาการชำนาญการพิเศษ
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
สรุปผลการนิเทศ คปสอ.ไชโย รอบที่ 1 ปี 2561 วันที่ 5 มกราคม 2561
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
คลินิกไร้พุง ( DPAC) คุณภาพ พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการสร้างสรรค์ทัศนศิลป์ขั้นสูง Terminal Project in Advanced Visual Arts 
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
โครงการส่งเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ชุมชนบ้านทุ่งโหลง อ. เมือง จ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
บริการจ่ายตามเกณฑ์คุณภาพผลงานบริการ
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดตรัง
การสอบสวนวิสามัญ การชันสูตรพลิกศพ ได้แก่ การตรวจสถานที่ที่พบศพ และตรวจสภาพศพ เพื่อทราบเหตุที่ตาย พฤติการณ์ที่ตาย ผู้ตายคือใคร ตายที่ไหน เมื่อใด และบุคคลผู้ทำให้ตาย.
แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ ( SRM )
อุทธรณ์,ฎีกา.
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LCT ) จังหวัดกำแพงเพชร
งานคุ้มครองผู้บริโภค กับการเฝ้าระวังสื่ออย่างชาญฉลาด
สร้างเครือข่ายในชุมชน
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
เทคนิคการเขียน Resume
พีสสลัลฌ์ ธำรงศ์วรกุล Ph.D. สุภาภรณ์ ตันตินันทตระกูล Ph.D.
สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควมคุมโรค
狗隻的訓練 聖士提反女子中學附屬小學 孫晞庭.
แผนการดำเนินงาน คปสอ. (DPAC)
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
การส่งเสริมการจ้างยุวแรงงานและพัฒนาทักษะผู้ต้องขังที่จะพ้นโทษในรูปแบบกลไกประชารัฐ นโยบายเร่งด่วน (Agenda Based) : ส่งเสริมการจ้างยุวแรงงาน เป้าหมาย 10,230.
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
การรายงานผลการดำเนินงาน
การตั้งมาตรฐานคุณภาพ
แผนงาน ……………………………………… Key Activity กิจกรรมหลัก
สมชาย ละอองพันธ์ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 12 สงขลา
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ และสิ่งแวดล้อม ตามรอยครู : ดร. นพ.อมร นนทสุต อ. มัลลิกา ตะติยาพรพันธ์

วัตถุประสงค์ : 1. เพื่อให้ผู้เรียนเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์ จำแนกและจัดลำดับความสำคัญตาม ลักษณะกลุ่มเป้าหมายด้านสุขภาพ 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ชุมชน ลักษณะพื้นที่เสี่ยง 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างความเสี่ยงระดับบุคคลและสิ่งแวดล้อม 4. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถปฏิรูปโครงการโดยใช้ “ค่ากลาง”

ข้อมูล ข้อมูลปฐมภูมิ  ข้อมูลทุติยภูมิ 

ประเภทข้อมูล 1. ข้อมูลด้านสถานะสุขภาพ (Health Status) 2. ข้อมูลกิจกรรมบริการสาธารณสุข (Health Activities) 3. ข้อมูลด้านทรัพยากรสาธารณสุข (Health Resources) 4. ข้อมูลพฤติกรรมอนามัย (Health Behavior) 5. ข้อมูลประชากรและสิ่งแวดล้อมต่างๆ ได้แก่ ประชากรตาม อายุ เพศ สถานที่ต่างๆ อัตราการเพิ่มประชาการ เป็นต้น

การจัดการเพื่อดูแลสุขภาพ ด้วยหลักการ เข้าใจ เข้าถึง และพัฒนา KPI องค์กร

กลุ่มเป้าหมาย สิ่งแวดล้อม การจำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะกลุ่มเป้าหมายย่อยและพื้นที่เสี่ยง ใช้หลักจัดการความเสี่ยง โดยค้นหากลุ่มเป้าหมายและพื้นที่ๆมีความเสี่ยงต่างๆกัน เพื่อการใช้ทรัพยากรที่มีประสิทธิภาพ ทีมหมอครอบครัว : กำหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะทางสุขภาพ (ความเสี่ยง) เป็นรายบุคคลเป้าหมาย ทีมท้องถิ่นและภาคประชาชน :กำหนดเกณฑ์และให้คะแนนสภาวะแวดล้อมเป็นรายหมู่บ้าน บันทึกรายละเอียดเหตุผลในการให้คะแนนในช่องหมายเหตุด้วย กลุ่มเป้าหมาย สิ่งแวดล้อม

ส่วนที่ 1 : วิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย เป็นบทบาทของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ เป็นผู้เลือกเองว่า อยากทำในกลุ่มใด ด้วยเหตุผลใด ประชุมกลุ่มย่อยในผู้ที่เกี่ยวข้องว่าปัจจัยใดที่ส่งผลต่อสุขภาพของกลุ่มเป้าหมายนั้นๆ มีอะไรบ้าง เช่น โรคประจำตัว ภาวะแทรกซ้อน ความพิการ พฤติกรรมสุขภาพ (3 อ. 2 ส., กินร้อน ช้อนกลาง ล้างมือ, การรัดเข็มขัดนิรภัย,การสวมหมวกกันน็อค, การใช้ถุงยางอนามัย ฯลฯ ) ภาวะโภชนาการ การช่วยเหลือตัวเองในชีวิตประจำวัน (ADL) กำหนดปัจจัย อย่างน้อย 4 ด้าน แต่ละด้านเลือกเกณฑ์การให้คะแนน โดยระบุ ความเสี่ยงเป็น 3 ระดับ เสี่ยงน้อย : 1 คะแนน เสี่ยงปานกลาง : 2 คะแนน เสี่ยงสูง : 3 คะแนน รวม 4 ด้าน 3 ระดับ คะแนนเต็ม 12 คะแนน

ชื่อบุคคล/ที่อยู่ _คะแนนความเสี่ยงรวม =(ระหว่าง 4 ถึง 12) การจำแนกและจัดลำดับความสำคัญของกลุ่มเป้าหมายผู้สูงอายุ ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ ชื่อบุคคล/ที่อยู่ _คะแนนความเสี่ยงรวม =(ระหว่าง 4 ถึง 12) สภาวะทางสุขภาพ (ตามเกณฑ์ที่กำหนด) คะแนน ความเสี่ยง หมายเหตุ (รายละเอียด) การประเมิน สมรรถภาพในการช่วยเหลือตนเอง Activity Daily Living 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก ติดสังคม ติดบ้าน ติดเตียง ด้านโรคไม่ติดต่อ มีความเสี่ยง โรคเบาหวานหรือความดัน ไม่มีโรคแทรก โรคเบาหวานและความดัน มีโรคแทรกซ้อน ด้านโภชนาการ ค่าดัชนีมวลกาย 18.5-22.9 ค่าดัชนีมวลกาย 23-24.9 ค่าดัชนีมวลกาย มากกว่า 25 น้อยกว่า18.5 ด้านพฤติกรรม 3 มาก ไม่ล้างมือ ไม่ใช้ช้อนกลาง ดื่มน้ำอัดลม ชอบหวาน มัน เค็ม ดื่มสุรา สูบบุหรี่

ผลประเมินการช่วยเหลือ ตนเองในชีวิตประจำวัน ตัวอย่าง ตารางที่ 2 แบบสำรวจข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุ ตำบล...................อำเภอ...............จังหวัด.................... ที่   ที่อยู่ ชื่อ AGE ผลประเมินการช่วยเหลือ รวม พฤติกรรม โภชนาการ BMI โรค รวมทั้งหมด ตนเองในชีวิตประจำวัน 1 2 3 มีความเสี่ยง มี1โรค(2) มี2 โรค(3) ติดสังคม 1 ติดบ้าน2 ติดเตียง3 ไม่กินร้อน หวานมันเค็ม สูบ/ ดื่ม 18.5-22.9 23-24.9 อ้วน ผอม -1 DM/ HT โรคแทรก 39/1 นาค 89 6 ไพฑูรย์ 88 32/1 อิ่น 87 5 4 11/1 คำอ้าย 86 7 ดี 85 ติดบ้าน 8 บัวไหล 9 67/1 จันทร์ดี 84 81 ปั๋นแก้ว 10 17 อุ่น 83 11 9/2 รัตน์ 12 38/1 จันทร์ 80 13 19/1 วิชัย 78 14 36 เจริญ 15 ทองใบ ติดเตียง

สรุปคะแนนความเสี่ยงของกลุ่มผู้สูงอายุแยกรายหมู่บ้าน................. คะแนนรวม หมู่ที่ รวม 1 2 3 4 5 6 7 54 45 33 31 46 37 291 18 10 22 11 17 19 134 21 13 107 20 16 9 86 8 12 50 112 97 137 100 77 87 707

ระดับความเสี่ยงของกลุ่มผู้สูงอายุ ..................... คะแนน จำนวน(คน) หมายเหตุ 4 291 คะแนน 4-6 5 134 เสี่ยงน้อย 6 107 (532 คน ) 7 86 คะแนน 7-9 8 50 เสี่ยงปานกลาง 9 18 (94 คน ) 10 20 คะแนน 10-12 11 1 เสี่ยงมาก 12 (21 คน ) รวม 707

ส่วนที่ 2 : สภาวะแวดล้อมของหมู่บ้าน ชุมชน ที่มีผลต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต ของกลุ่มเป้าหมายนั้น ๆ

สิ่งแวดล้อม ด้านกายภาพ ด้านสังคม ด้านเศรษฐกิจ ข้อมูลทั้ง 3 ด้านนี้ : ผู้ที่วิเคราะห์และให้ข้อมูล อาจให้ ข้อมูลซึ่งเป็นภาพรวม *จากการสังเกต ความจริงที่เป็นอยู่ สภาพที่มองเห็น *ใช้ข้อมูลจากครัวเรือน สรุปเป็นภาพรวมของหมู่บ้าน * แล้วแต่ผู้วิเคราะห์(ผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มองค์กร เทศบาล หรือตัวแทนประชาชน)

การใช้พื้นที่ร่วมกัน 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก ระดับความเสี่ยงของสภาวะแวดล้อมของกลุ่มเป้าหมาย ต.ท่ากว้าง อ.สารภี จ.เชียงใหม่ สภาวะแวดล้อมของหมู่บ้าน (ตามเกณฑ์ที่กำหนด) คะแนน ความเสี่ยง รายชื่อหมู่บ้าน หมายเหตุ ด้านกายภาพ การจัดการขยะ การใช้ส้วมนั่งยอง การใช้พื้นที่ร่วมกัน 1 น้อย 2 ปานกลาง 3 มาก หมู่ที่ 3 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 6 ร้อยละของผู้สูงอายุในหมู่บ้านมีความเสี่ยงจากน้อยไปหามาก ด้านสังคม การร่วมกิจกรรมในชุมชน การถ่ายทอดภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น หมู่ที่ 3 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 6 , หมู่ที่ 2 จำนวนครั้งและปริมาณของคนเข้าร่วมกิจกรรมตามลำดับ ด้านเศรษฐกิจ อาชีพ รายได้ หนี้สิน หมู่ที่ 2 , หมู่ที่ 5, หมู่ที่ 7 หมู่ที่ 6 , หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 4 , หมู่ที่ 3 รายได้ หนี้สิน ของประชากรในหมู่บ้านมีความเสี่ยงจากน้อยไปหามาก

กายภาพ+สังคม+เศรษฐกิจ กำหนดระดับความเสี่ยง สรุปคะแนนความเสี่ยง หมู่ที่ คะแนน กายภาพ+สังคม+เศรษฐกิจ รวม หมายเหตุ 1 2 + 1 + 2 5 กำหนดระดับความเสี่ยง 3 – 5 คะแนน=เสี่ยงน้อย 6 – 7 คะแนน=เสี่ยงปานกลาง 8 – 9 คะแนน=เสี่ยงสูง 2 2 + 3 + 1 6 3 1 + 1 + 3 4 3 + 2 + 3 8 1 + 1 + 1 3 + 3 + 2 7 1 + 2 + 1 รวม 3 ด้าน 3 ระดับ คะแนนเต็ม 9 คะแนน

การจำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะกลุ่มเป้าหมายย่อยและพื้นที่เสี่ยง จัดลำดับความสำคัญของหมู่บ้านตามระดับความเสี่ยงของสภาวะสุขภาพและสภาพแวดล้อม เป็นหมู่บ้านประเภท * 1 (เสี่ยงมาก) * 2 (เสี่ยงปานกลาง) * 3 (เสี่ยงน้อย) ประเภทความเสี่ยงของหมู่บ้านเป็นตัวกำหนด งานสำหรับกลุ่มเป้าหมายและสภาวะแวดล้อม

สภาพแวดล้อมของหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยงมาก(จำนวน) กลุ่มเสี่ยงน้อย(จำนวน) การกำหนดลำดับความสำคัญในภาพรวมของตำบล................. สภาพแวดล้อมของหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยงมาก(จำนวน) กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (จำนวน) กลุ่มเสี่ยงน้อย(จำนวน) หมายเหตุ ความเสี่ยงสูง หมู่ที่ 4 หมู่ที่ 6 ไม่มี 2 คน รวม 2 คน 27 คน 9 คน รวม 36 คน 73 คน 76 คน รวม 149 คน ความเสี่ยงปานกลาง หมู่ที่ 2 3 คน 33 คน 61 คน ความเสี่ยงน้อย หมู่ที่ 1 หมู่ที่ 3 หมู่ที่ 5 หมู่ที่ 7 1 คน 8 คน 4 คน 3 คน รวม 16 คน 29 คน 26 คน 13 คน 17 คน รวม 85 คน 82 คน 103 คน 60 คน 77 คน รวม 322 คน 1 1 2 1 2 3 2 3 3

ใบงานที่ 1 :การวิเคราะห์กลุ่มเป้าหมาย 1. นางดอกรัก : อายุ 86 ปี หมู่ที่ 1 ตำบลแสนสุข ป่วยเป็น หัวใจ เบาหวาน ความดัน ไตวายเรื้อรัง ต้องฟอกเลือด สัปดาห์ละ 2 ครั้ง นอนติดเตียง ค่อนข้างผอม ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย ต้องมีญาติดูแล 2. นายหอมหวน : อายุ 90 ปี หมู่ที่ 1 ตำบลแสนสุข พิการทางการเคลื่อนไหว นั่งรถเข็น หลง ลืม เป็นบางครั้ง ตักข้าวกินเอง ใส่เสื้อผ้าได้ อาบน้ำต้องมีคนเช็ดตัว มีประวัติดื่มสุราสูบบุหรี่ ทุกครั้งที่ญาติเผลอจะแอบสูบบุหรี่ใบตองมวนเองเสมอ 3. นางมะลิ : อายุ 72 ปี หมู่ที่ 1 ตำบลแสนสุข ค่อนข้างท้วม เป็น อสม. ไม่มีโรคประจำตัว มีประวัติดื่มสุรา สูบบุหรี่ ปัจจุบันยังสูบบุหรี่ใบตองวันละ 2 มวน 4. นายดวงดี : อายุ 62 ปี หมู่ที่ 1 ตำบลแสนสุข รูปร่างสูงใหญ่ อ้วน มีประวัติดื่มสุราสูบบุหรี่ ได้รับอุบัติเหตุต้องตัดขา 1 ข้าง ขี้โมโห หงุดหงิด ขว้างปาข้าวของ แยกทางกับภรรยาหลังจากอุบัติเหตุ อยู่บ้านกับลูกชายอายุ 30 ปี ซึ่งต้องไปทำงานทุกวัน มักจะดื่มสุราก่อนกลับมาบ้าน ทะเลาะกับพ่อบ่อยครั้ง 5. นางยินดี : อายุ 65 ปี หมู่ที่ 2 ตำบลแสนสุข สามีเพิ่งเสียชีวิต มีลูก 1 คนทำงานต่างจังหวัดนานๆจะกลับบ้าน มีโรคประจำตัวคือ เบาหวาน ความดัน หลังจากสามีเสียชีวิต นอนไม่หลับ น้ำหนักลด ไม่ค่อยพูดจากับใคร เก็บตัวอยู่ในบ้าน หมอนัดไปรพ. ขาดนัดติดต่อกัน 2 ครั้ง 6. นางสาวพอใจ : อายุ 68 ปี หมู่ที่ 2 ตำบลแสนสุข รูปร่างอ้วน หน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส เป็นสมาชิกสภาเทศบาล(สท.) มีโรคประจำตัว นอนไม่หลับ ไปหาหมอ หมอบอกว่าเกิดจากความเครียด ชอบช่วยเหลืองานสังคม ชอบดื่มเบียร์ 7. นายบุญมาก : อายุ 70 ปี หมู่ที่ 2 ตำบลแสนสุข เป็นใบ้แต่กำเนิด อาชีพเก็บขยะขาย มีประวัติดื่มสุรา สูบบุหรี่ ผอมมาก มักมีอาการหายใจหอบเวลาฝนตกหรืออากาศเย็น ไม่ชอบไปรพ. อยู่กับลูกชายอายุ 30 ปี ซึ่งพิการ นอนติดเตียง 8. นายโชคช่วย : อายุ 70 ปี หมู่ที่ 2 ตำบลแสนสุข ป่วยเป็น หัวใจ เบาหวาน ความดัน ไตวายเรื้อรัง ชอบอาหารหวาน เค็ม รูปร่างสมส่วน ต้องฟอกเลือดสัปดาห์ละ 2 ครั้ง ช่วยเหลือตัวเองได้ อยู่คนเดียว ไปรพ.มีรถเทศบาลนำส่ง 9. นางพอเพียง : อายุ 85 ปี หมู่ที่ 3 ตำบลแสนสุข ป่วยเป็น หัวใจ เบาหวาน ความดัน รูปร่างสมส่วน อยู่กับลูกชาย ลูกสะใภ้ และหลาน ติดเตียง ช่วยเหลือตัวเองไม่ได้ ขี้โมโห ชอบด่าลูกหลาน ลูกชายจึงสร้างห้องนอนแยกจากตัวบ้าน ให้อยู่ต่างหาก 10. นายบุญเสริม: อายุ 69 ปี หมู่ที่ 3 ตำบลแสนสุข รูปร่างสมส่วน ทำสวนลำไย พ่นยาเอง เวลาพ่นยาลำไยจะใส่หมวกเสมอ ป่วยเป็นโรคความดัน มีประวัติดื่มสุรา สูบบุหรี่ ไอเรื้อรัง ไปตรวจล่าสุดหมอบอกว่า เป็นมะเร็งปอดระยะที่ 2 11. นางสุดสวย : อายุ 72 ปี หมู่ที่ 3 ตำบลแสนสุข อยู่กับสามี 2 คน ป่วยเป็น เบาหวาน ความดัน เป็นประธานแม่บ้าน รูปร่างสมส่วน นำออกกำลังกายด้วยรำวงย้อนยุค เมื่อ 6 เดือนก่อนหกล้มกระดูกสะโพกแตกต้องใช้ไม้ค้ำเดิน 12. นายสุดหล่อ : อายุ 69 ปี หมู่ที่ 3 ตำบลแสนสุข รูปร่างสมส่วน เป็นอดีตผู้ใหญ่บ้าน ชอบสังคม มีประวัติดื่มสุรา สูบบุหรี่ สุขภาพแข็งแรงมาตลอด เมื่อ 3 เดือนก่อน ไปรพ. หมอบอกว่า เป็นมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ระยะที่ 2 ********************************************************************

ตัวอย่าง : แบบสำรวจข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุ ตำบล. อำเภอ ตัวอย่าง : แบบสำรวจข้อมูลความเสี่ยงด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุ ตำบล.......................อำเภอ............................จังหวัด..................................... ลำดับ ที่อยู่ ชื่อ-สกุล อายุ ผลประเมินการช่วยเหลือ พฤติกรรมสุขภาพ ภาวะโภชนาการ โรคไม่ติดต่อ รวม ทั้งหมด ตนเองในชีวิตประจำวัน ไม่กินร้อน หวาน/มัน/เค็ม สูบ/ดื่ม ปกติ ท้วม อ้วน/ผอม มีความเสี่ยง เบาหวาน/ความดัน ติดสังคม (1) ติดบ้าน (2) ติดเตียง (3) (1) (2) (3) ไม่มีโรคแทรก(2) มีโรคแทรก(3) 1   2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12

ใบงานที่ 2 : การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อม หมู่ที่ 1 บ้านน้ำล้อม ตำบลแสนสุข : มีลักษณะกึ่งเมือง กึ่งชนบท ประชาชนส่วนใหญ่ยังดำรงชีวิตแบบวิถีดั้งเดิม บ้านไม้ใต้ถุนสูงเป็นส่วนใหญ่ มีห้องน้ำนั่งยองแยกจากตัวบ้าน มีสวนสาธารณะสำหรับเดินเล่นและออกกำลังกาย ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง มีกองทุนสัจจะวันละ 1 บาท ประชาชนจะไปวัดทุกวันพระ ตั้งแต่มีโรงงานรับซื้อของเก่าขนาดใหญ่ในหมู่บ้าน เกิดไข้เลือดออกทุกปี   หมู่ที่ 2 บ้านสวนไผ่ ตำบลแสนสุข : มีลักษณะกึ่งเมือง กึ่งชนบท ประชาชนส่วนใหญ่ยังดำรงชีวิตแบบวิถีดั้งเดิม ตั้งแต่ลูกผู้ใหญ่บ้านกลับมาจากกรุงเทพฯ มาสร้างบ้านเป็นตึกทรงสมัยใหม่ มีห้องน้ำชักโครกไว้ในห้องนอน ทำให้บ้านที่เริ่มมี ผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตัวเองได้น้อย ต่อเติมชั้นล่างและสร้างห้องน้ำไว้ในห้องเพื่อความสะดวกด้วย หลังจากเปลี่ยนผู้นำคนใหม่ ซึ่งเป็นคนชอบชนไก่ ทุกวันอาทิตย์จะเปิดให้มีการชนไก่ ได้-เสียเป็นหลักหมื่น มีการกู้เงินนอกระบบ ส่วนใหญ่มีอาชีพรับจ้าง ประชาชนจะไปวัดทุกวันพระ ถ้าวันพระตรงกับวันอาทิตย์จะมีคนไปวัดน้อยลง 3 เดือนที่ผ่านมา เกิดซุ้มเหล้าดองเพิ่มขึ้นอีก 2 แห่ง หมู่ที่ 3 บ้านสวนสวย ตำบลแสนสุข : มีลักษณะกึ่งเมือง กึ่งชนบท เป็นที่ตั้งของ รพ.สต. ประชาชนส่วนใหญ่ยังคงดำรงชีวิตแบบวิถีดั้งเดิม บ้านไม้ใต้ถุนสูงเป็นส่วนใหญ่ มีห้องน้ำนั่งยองแยกจากตัวบ้าน มีสวนสาธารณะสำหรับเดินเล่นและออกกำลังกาย ประธานแม่บ้าน เป็นผู้นำการออกกำลังกาย หลังจากผู้นำออกกำลังกายป่วยต้องหยดไป เกิดผู้นำ รุ่นจิ๋วมานำแทน ส่วนใหญ่มีอาชีพทำสวนลำไย ใช้สารเคมีในการเกษตรตามที่ได้ยินโฆษณาทางทีวี ประชาชนไปวัด ทุกวันพระ และมีเจ้าหน้าที่จาก รพ.สต. มาให้สุขศึกษาทุกวันพระ ************************************

สรุปคะแนนความเสี่ยง หมู่ที่ คะแนนความเสี่ยง รวม ระดับ ความเสี่ยง กายภาพ สังคม เศรษฐกิจ 1   2 3 ---

ใบงานที่ 3ให้ลงตารางภาพรวมการวิเคราะห์ความเสี่ยง การกำหนดลำดับความสำคัญในภาพรวมของตำบล..สมุทรสาคร สภาพแวดล้อมของหมู่บ้าน กลุ่มเสี่ยงมาก(จำนวน) กลุ่มเสี่ยงปานกลาง (จำนวน) กลุ่มเสี่ยงน้อย(จำนวน) หมายเหตุ ความเสี่ยงสูง หมู่ที่ ......2....... ……0….. คน ……4….. คน ความเสี่ยงปานกลาง หมู่ที่ .....1........ ……1….. คน ……3….. คน ความเสี่ยงน้อย หมู่ที่ .....3......... ……2….. คน 1 1 2 1 2 3 2 3 3

เชื่อมั่นและทำให้เป็นจริง

แนวคิดสำหรับกำหนดกิจกรรมสำคัญและงาน เน้นลดระดับความเสี่ยงในหมู่บ้านประเภท 1 ลงด้วยมาตรการทางวิชาการสำหรับกลุ่มเป้าหมายในสัดส่วนที่สูงกว่ามาตรการทางสังคม สัดส่วนจะกลับทางกันสำหรับหมู่บ้านประเภท 3 และใกล้เคียงกันสำหรับประเภท 2 ความเข้มของมาตรการทั้งเทคนิค สังคม และนวัตกรรม (สะท้อนด้วยลักษณะงาน) สูงสุดในประเภท 1 ต่ำสุดในประเภท 3 ทีมหมอประจำครอบครัวจัดการงานภาครัฐ ท้องถิ่น/ชุมชน/อสม.จัดการงานภาคประชาชน

การวิเคราะห์เพื่อกำหนดงานตามระดับความเสี่ยง ของตำบลท่ากว้าง อ การวิเคราะห์เพื่อกำหนดงานตามระดับความเสี่ยง ของตำบลท่ากว้าง อ.สารภี เชียงใหม่ ตัวอย่าง จุดเน้นหนักอยู่ที่งานภาคประชาชนที่ควรครอบคลุมทั้งตำบลในความเข้มที่ต่างกันตามระดับความเสี่ยง สามารถใช้งานในค่ากลางของจังหวัด (ปรับปรุงให้เหมาะกับบริบท)เป็นกรอบในการกำหนดงานภาคประชาชน โอกาสมอบความรับผิดชอบให้ภาคประชาชนดำเนินการเองมีความเป็นไปได้สูง อยู่ที่การเพิ่มสมรรถนะการบริหารจัดการและการใช้ประโยชน์จากข้อมูลซึ่งควรกำหนดงานเพิ่มเติมจากที่ปรากฏในค่ากลางของจังหวัด ทีมหมอครอบครัวกำหนดรูปแบบการเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายสำหรับหมู่บ้านสีเหลืองเป็นหลัก โดยรวม 1 คนจากหมู่บ้านสีแดงเข้าไว้ในโครงการด้วย แบ่งงานระหว่างสมาชิกในทีมหมอครอบครัวภาครัฐ โดยใช้ระดับความเข้มปานกลางเป็นหลัก

การปฏิรูปโครงการของรัฐก่อนนำไปปฏิบัติ ใช้แนวคิดการพัฒนาหรือปรับเปลี่ยนบทบาทของภาคประชาชน (หมายรวมทั้งท้องถิ่น/อสม.)ให้สามารถวางแผน จัดการโครงการสุขภาพได้ด้วยตนเอง อันเป็นเป้าหมายสุดท้ายของการพัฒนาบทบาทของประชาชนโดยภาครัฐ สร้างโครงการที่ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน หรือใช้เทคนิคที่ไม่สามารถดำเนินการได้โดยภาคประชาชน ลดจำนวนโครงการให้เหลือน้อยที่สุด เพื่อไม่ให้เป็นภาระต่อภาคประชาชนผู้ดำเนินโครงการ ควบคุมจำนวนโครงการที่มีจำนวนน้อยให้คงที่โดยเปลี่ยนรูปแบบการวางโครงการจากที่ใช้ประเด็นปัญหาเป็นตัวตั้ง (Issue-based Project Formulation) ซึ่งไม่สามารถควบคุมจำนวนโครงการที่เกิดขึ้นได้ (Open-end) เป็นการใช้กิจกรรมจากแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์ที่สำคัญเป็นตัวตั้ง (SRM Activity-based Project Formulation) ซึ่งมีจำนวนจำกัด ทำให้สามารถควบคุมจำนวนโครงการได้ การปรับเปลี่ยนลักษณะโครงการดังกล่าว ถือเป็นนโยบายที่ต้องกำหนดในระดับกระทรวงฯ และมีการแจ้งให้ทราบและถือปฏิบัติเป็นทางการ ส่วนการดำเนินการปรับเปลี่ยน ให้เป็นบทบาทของเจ้าหน้าที่ระดับที่ใกล้ชิดกับประชาชนที่สุด และต้องมีการประสานความร่วมมือและเพิ่มพูนสมรรถนะของภาคประชาชนเพื่อให้รับบทบาทดังกล่าวได้ต่อไปในอนาคต

การบูรณาการ นำชุดงานต่างๆที่กำหนดไว้ในตารางการจัดชุดงานและประเมินค่าใช้จ่ายมาให้รายละเอียดของงานที่สำคัญที่ประกอบกันเป็นชุดงานเหล่านั้น ขั้นตอนนี้จะทำให้โครงการต่างๆมีกิจกรรมสำคัญที่ระบุไว้ในค่ากลาง เสร็จแล้วจึงทำการบูรณาการงานที่อาจจะทำพร้อมกันได้โดยใช้ทรัพยากรร่วมกัน ขั้นตอนนี้จะสามารถทำให้ประหยัดทรัพยากร (คน เงิน เวลา วัสดุอุปกรณ์)ได้ การบูรณาการงานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อมสามารถใช้ร่วมกันระหว่างกลุ่มเป้าหมายต่างๆได้ ถ้ากลุ่มเป้าหมายเหล่านั้นอยู่ในพื้นที่เดียวกัน (ถ้าต้องการ อาจเพิ่มเติมงานที่มีลักษณะเฉพาะของกลุ่มเป้าหมายบางกลุ่มได้) งานใดที่มีลักษณะเฉพาะตัวที่ไม่สามารถทำร่วมกับงานอื่นได้ สามารถแยกเป็นโครงการพิเศษ

การเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพจากภาครัฐสู่ภาคประชาชน การบูรณาการทำให้เหลือโครงการในระดับพื้นที่ เพียง 2 โครงการ คือ 1. โครงการจัดการ สุขภาพกลุ่มเป้าหมาย 2. โครงการจัดการ- สภาวะแวดล้อม พื้นที่ใช้เงินที่ประหยัดได้ เปิดโครงการที่ 3 คือ 3. โครงการส่งเสริม นวัตกรรมสังคม เพื่อพัฒนาสมรรถนะเชิง การบริหารจัดการตนเอง ของประชาชนและสร้าง ความเชื่อมโยงกับระบบการ พัฒนาสังคม/เศรษฐกิจของ ตำบล ค้นหาเพิ่มเติมใน www.amornsrm.net

ตัวอย่าง การปฏิรูปโครงการและการบูรณาการโครงการ : กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ตำบลท่ากว้าง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ตัวอย่าง กิจกรรมจาก SLM ADL โรคไม่ติดต่อ โภชนาการ พฤติกรรม ชุดงาน/ค่าใช้จ่าย 1. การเฝ้าระวัง/ คัดกรองโดยประชาชน -สำรวจ 2Q ADL วัดความดัน เจาะน้ำตาลในเลือด สารพิษในเลือด ชั่งนน. ส่วนสูง หาBMI รอบเอว -สำรวจพฤติกรรมสุขภาพ การพัฒนาศักยภาพอสม. นักจัดการสุขภาพ (บาท) 2. การสื่อสารเพื่อปรับเปลี่ยน ประชุม/อบรม เยี่ยมบ้าน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ /บุคคลต้นแบบ/ อผส./สื่อ ประชุม /อบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ประชาคม/ อสม./สื่อ/ บุคคลต้นแบบ ประชุม/อบรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้/ ประชาคม/ อสม./สื่อ/ ประชาคม/ อสม./สื่อ/ การพัฒนาศักยภาพวิทยากรกระบวนการ (บาท) 3. การดำเนิน มาตรการทางสังคม ปฏิบัติการชมรมผู้สูงอายุคุณภาพ สร้างบุคคลต้นแบบในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 3 อ. 2 ส. เกษตรอินทรีย์ ตลาดผักปลอดภัย ปั่นจักรยานทุกวันอาทิตย์/แอโรบิคทุกเย็น วันอังคารและวันศุกร์ ธรรมนูญสุขภาพตำบล (บาท) 4. การปรับ โครงการของ ท้องถิ่น/ตำบล โครงการสุขใจไม่คิดสั้น โครงการลดเค็มครึ่งหนึ่งคนท่ากว้างห่างไกลโรค โครงการลดละ เลิกบุหรี่ สุรา ยาเสพติด โครงการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โรงเรียนผู้สูงอายุ โครงการรายประเด็น โครงการรายกิจกรรม

การเติมเต็มตาราง 7 ช่องและสร้างแผนปฏิบัติการ โดยคัดเลือกและกำหนดงานสำคัญจากทุกชุดงานในตารางบูรณาการเพื่อให้รายละเอียด ตารางนี้จะใช้สำหรับชุดงานที่ฝ่ายท้องถิ่น/ชุมชนเป็นผู้รับผิดชอบ

ตัวอย่าง : ตารางบูรณาการงานและตารางนิยามงาน (7 ช่อง)

สรุป : 1. ผู้เรียนเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์จำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะกลุ่มเป้าหมายด้านสุขภาพ 2. ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์ชุมชน จำแนกและจัดลำดับความสำคัญตามลักษณะ พื้นที่เสี่ยง 3. ผู้เรียนสามารถแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างความเสี่ยงระดับบุคคลและสิ่งแวดล้อม 4. ผู้เรียนสามารถปฎิรูปโครงการโดยใช้ ค่ากลาง

เชื่อมั่นและทำให้เป็นจริง