หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 1 การตลาดในศตวรรษที่ 21 อ.ปั้น จูฑศฤงค์.
Advertisements

เลือกหน่วยงาน องค์การ สถาบัน
Marketing Promotional Strategy
Lesson 7 Promotion Mix.
การตลาดแบบเดิม(Inside out)
กรอบแนวคิดและแผนงานการสื่อสาร
Print media for Advertising & Public Relations
เกณฑ์ประเมินสื่อ.
การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย
การสื่อสารกับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
การส่งเสริมการตลาด และการสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการ
บทที่ 6 การสื่อสารการตลาด
การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย
บทที่ 5 สื่อโฆษณาและการวางแผนการใช้สื่อ
1 คณะที่ 5 การตรวจราชการแบบบูรณา การ ร่วมกับสำนักนายกรัฐมนตรี
Search Engine Marketing
Operations in the Tourism Industry
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพ
บทที่ 3 การตลาดสำหรับธุรกิจ SME
การตลาดทางตรง Direct Marketing
บทที่ 12 การระดมเงินทุนจากตลาดหลักทรัพย์ระหว่างประเทศ
ส่วนประสมการตลาด ( Marketing Mix )
บทที่ 13 การจัดจำหน่าย.
อาจารย์ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล หลักสูตรสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 7 ราคา Price.
DoGGy Family Care – hOng hOng Dog Care Delivery
DoGGy Family Care – hOng hOng Dog Care Delivery
การค้าปลีกอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Retailing)
E. I. SQUARE. All rights reserved
การส่งเสริมการตลาด 9 กระบวนการติดต่อสื่อสาร
Visual Communication for Advertising Week15-16
Visual Communication for Advertising Week14
วิชา การบริหารทางการตลาด (MKT 3202)
แนวคิดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์
ดุลยภาพของตลาด (Market Equilibrium)
promotion Meaning communication process between producers and tourists
ส่วนการทะเบียนทั่วไป สำนักบริหารการทะเบียน
การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีสำหรับฟาร์มสุกร 2552 VS 2558
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม
บทที่ 4 การจัดการสินค้าคงคลัง
การโฆษณาพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
การจัดกิจกรรมห้องสมุด
หลักการตลาด บทที่ 16 การประชาสัมพันธ์.
การจัดทำแผนอัตรากำลัง 3 ปี
การขออนุมัติดำเนินโครงการ ภายใต้ข้อบังคับฯ 2559
บทที่ 10 การส่งเสริมการตลาด.
การพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ (New Product Development or NPD)
บทที่ 9 ช่องทางการจัดจำหน่ายและการตั้งราคา
นางสาวนนทิชา วรรณสว่าง ผู้อำนวยการสำนักบริหารกลาง กรมการข้าว
(เครื่องมือทางการบริหาร)
Origin Group Present.
การคำนวณต้นทุนผลผลิต
การจัดการโซ่อุปทานและโลจิสติกส์
หลักการทางด้านการตลาด
วิชา การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ (E-Commerce)
สิ่งที่ควรและไม่ควรปฏิบัติในงานบริการ (DO & DON’T IN CUSTOMER SERVICE)
กลยุทธ์ช่องทางการจัดจำหน่าย (Place Strategy)
การจัดการตลาดสำหรับการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
Topic 12 เงิน สถาบันการเงิน นโยบายการเงิน VS การคลังสาธารณะ(Public Finance) รศ.ดร.จารุวรรณ ชนม์ธนวัฒน์
หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา.
ทบทวนกฎหมายรัฐธรรมนูญ บทบัญญัติที่สำคัญซี่งมีมิติในเชิงคดี
การจัดการงานคลังและงบประมาณ ครั้งที่ 5 อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
กลยุทธ์ธุรกิจ.
สื่อการเรียนการสอนวิชาเครื่องรับโทรทัศน์ ( )
สภาพแวดล้อมทางการตลาด
กลยุทธ์องค์การ.
การประยุกต์ใช้อินเทอร์เน็ตใน พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
โดย สำนักงาน ป.ป.ช. ประจำจังหวัดจันทบุรี
การจัดการงานคลังและงบประมาณ อ.บุญวัฒน์ สว่างวงศ์
ใบสำเนางานนำเสนอ:

หลักการตลาด บทที่ 14 การโฆษณา

การโฆษณา (Advertising) ให้กลุ่มคน โดยมิใช่การส่งบุคคลเข้าไปติดต่อ และเป็นกิจกรรมที่ผู้โฆษณา ต้องการส่งข่าวสารไปสู่ตลาดที่กำหนดไว้ ผ่านสื่อ โดยผู้โฆษณาเป็นผู้จ่าย ค่าใช้จ่าย สิ่งโฆษณา (Advertisement) หมายถึง ตัวข่าวสารที่ผู้โฆษณา ต้องการ ส่งให้ตลาด อาจเป็นในรูปของ ภาพ ตัวอักษร คำพูด สัญญาลักษณ์ หรือ หลายอย่างรวมกันก็ได้

วัตถุประสงค์ของการโฆษณา เพื่อสนับสนุนการขายโดยพนักงานขาย เพื่อให้เข้าถึงบุคคลที่พนักงานขายไม่สามารถเข้าถึงได้ เพื่อสร้างความสัมพันธ์กับผู้จำหน่ายต่าง ๆ เพื่อเข้าไปในตลาดใหม่หรือจูงใจลูกค้ารายใหม่ ๆ เพื่อแนะนำสินค้าใหม่ เพื่อเพิ่มยอดขายของสินค้า เพื่อเพิ่มยอดขายของกิจการให้มากขึ้น เพื่อขจัดความรู้สึกที่ไม่ดีหรือป้องกันมิให้ลูกค้าไปซื้อสินค้ายี่ห้ออื่นแทน เพื่อสร้างภาพพจน์ที่ดี หรือชื่อเสียงของกิจการ

ประเภทของการโฆษณา 1. แบ่งตามจุดมุ่งหมายของโฆษณา 1. แบ่งตามจุดมุ่งหมายของโฆษณา โฆษณาผลิตภัณฑ์ (Product Ad) โฆษณาสถาบัน (Institutional Ad) โฆษณาทางตรง Direct Ad PATRONAGE โฆษณาทางอ้อม Indirect Ad PUBLIC RELATION โฆษณากระตุ้นความต้องการพื้นฐาน Primary Demand Ad PUBLIC SERVICE โฆษณาเปรียบเทียบ Comparative Ad โฆษณาร่วม Cooperative Ad

ประเภทของการโฆษณา โฆษณาร่วม 1. โฆษณาร่วมเป็นแนวติ่ง (Vertical Cooperative Ad) เป็นการร่วมกันขององค์กรในช่องทางการจัดจำหน่ายต่าง ระดับกัน เช่น ระหว่างผู้ผลิตกับร้านค้าปลีก 2. โฆษณาร่วมในแนวราบ (Horizontal Cooperative Ad) เป็นการร่วมกันขององค์กรในระดับเดียวกันในช่อง ทางจัดจำหน่าย เช่น ระหว่างผู้ผลิตตั้งแต่ 2 ราย ขึ้นไป หรือระหว่างร้านค้าปลีก

ประเภทของการโฆษณา 2. การโฆษณาตามลักษณะของตลาด 1. โฆษณาตลาดผู้บริโภค (Consumer Market Ad) 2. โฆษณาตลาดธุรกิจ (Business Market Ad) 3.โฆษณาของผู้ค้าปลีก หรือระดับท้องถิ่น (Retailer or Local Ad)

ประเภทของการโฆษณา V.S การโฆษณาของผู้ผลิต การโฆษณาระดับท้องถิ่น ทำโดยผู้ผลิตสินค้า ทำโดยพ่อค้าปลีก การโฆษณาของผู้ผลิตนั้นจะ มุ่งสร้างความต้องการให้ผู้ บริโภคสนใจในสินค้าของเขาโดย ไม่สนใจว่าผู้บริโภคจะซื้อสินค้า ณ สถานที่ใดเพียงแต่ให้ ผู้ บริโภคซื้อสินค้าของเขาก็พอ ส่วนการโฆษณาของพ่อค้า ปลีกโฆษณาที่เน้นตัวร้านค้า พ่อค้าปลีกไม่คำนึงถึงว่าผู้บริโภค จะซื้อสินค้าชนิดใดหรือยี่ห้อใด แต่ขอเพียงให้ผู้บริโภคซื้อที่ ร้านของเขาเท่านั้น

การตัดสินใจเลือกสื่อโฆษณา สื่อโฆษณา หมายถึงสื่อใดๆที่ที่เป็นตัวกลางนำข่าวสารโฆษณาไปยังผู้บริโภค กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งในปัจจุบันสื่อโฆษณามีความหลากหลายมากกว่าในอดีต 1.สื่อโทรทัศน์ 2.สื่อวิทยุ 6.สื่ออื่นๆ ประเภทของ ซื้อโฆษณา 3.สื่อสิ่งพิมพ์ 5.สื่ออิเล็ก ทรอนิคส์ 4.สื่อสถานที่ สาธารณะ

1. สื่อโทรทัศน์ จุดเด่นของสื่อโทรทัศน์ ข้อจำกัดของสื่อโทรทัศน์ 1.มีทั้งแสง สี เสียง และ รูปภาพที่เคลื่อนไหวมีชีวิตชีวาซึ่งให้ผลด้านประทับใจ (impression) สูง 2.เหมาะกับสินค้าที่ต้องการสาธิตวิธีการใช้งานหรือวิธีการทำงาน 3.เลือกกลุ่มเป้าหมายได้เพราะมีรายการหลายประเภท 4.สามารถครอบคลุมกลุ่มผู้ชมได้ครั้งละจำนวนมาก 5.สามารถเลือกเผยแพร่ได้เฉพาะภาคใดภาคหนึ่ง 6.เปิดโอกาสให้ผู้โฆษณาสามารถกำหนดความถี่ได้ตามต้องการ 7.สามารถแพร่ความคิดสร้างสรรค์ได้อย่างเต็มที่ ทำให้สามารถดึงดูดบุคคลให้คล้อยตามไปในแนวทางที่วางไว้โดยง่าย 1.อาจไม่มีรายการและเวลาที่เหมาะสมกับที่ผู้โฆษณาต้องการ 2.ต้นทุนรวมสูงมาก 3.ข้อความโฆษณาหายไปในชั่วพริบตาเก็บไว้ดูไม่ได้ อายุสั้น 4.โฆษณามีมากทำให้ผู้ชมจำต้อความโฆษณาได้น้อย 5.ผู้ชมเกิดความรำคาญและไม่พอใจและอาจเปลี่ยนสถานีเมื่อมีโฆษณา หรือไปทำกิจกรรมอื่นได้ในเวลานั้น

2. สื่อวิทยุ จุดเด่นของสื่อวิทยุ ข้อจำกัดของสื่อวิทยุ 1. สามารถเข้าถึงผู้ฟังได้เฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะอาณาเขตภูมิศาสตร์ได้ 2.สามารถส่งข้อความโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมายได้เป็นจำนวนมากและอย่างรวดเร็ว 3.มีโอกาสเลือกสถานี รายการและเวลาได้มากกว่า 4.ต้นทุนต่ำ สามารถสร้างสรรค์โฆษณาผ่านวิทยุได้ง่ายและเสียค่าใช้จ่ายน้อย 1.มีสถานีวิทยุหลายสถานีให้ผู้บริโภคได้เลือกฟัง 2.ไม่สามารถฟังข้อความโฆษณาซ้ำได้เมื่ออกอากาศไปแล้ว 3.ไม่สามารถเข้าถึงผู้ฟังได้อย่างแท้จริง เพราะในขณะฟังวิทยุ ผู้ฟังก็ทำอย่างอื่นไปด้วย 4.ไม่สามารถมองเห็นภาพได้ไม่เหมาะกับสินค้าที่ต้องมีการสาธิตวิธีการใช้

3. สื่อโฆษณาประเภทสิ่งพิมพ์ 1. หนังสือพิมพ์ (Newspaper) จุดเด่นของสื่อหนังสือพิมพ์ ข้อจำกัดของหนังสือพิมพ์ 1.เป็นสื่อที่มองเห็นมีภาพไว้ดึงดูดความสนใจผู้อ่านสามารถมองเห็นและเข้าใจลักษณะสินค้าได้อย่างชัดเจน 2.เข้าถึงกลุ่มคนได้ทั่วประเทศทั้งย้งสามารถใช้หนังสือพิมพ์ระดับชาติและระดับท้องถิ่นเสริมกันได้บางกรณี ทำให้ผู้วางแผนสามารถที่จะเน้นการโฆษณาบางเขตภูมิศาสตร์ได้ 3.สามารถให้รายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าได้ดีและไม่มีข้อจำกัดเรื่องเวลา 4.สามารถเลือกหน้าและโฆษณาให้ตรงกับความสนใจของกลุ่มเป้าหมายได้ 5.มีความทันสมัยในแง่ข่าวสารเพราะมีการพิมพ์จำหน่ายทุกวัน ผู้โฆษณาจึงเปลี่ยนข้อความโฆษณาและความถี่ในการโฆษณาได้บ่อยๆ 6.มีความยืดหยุ่นสูงในการจองเนื้อที่สามารถลงโฆษณาได้หลายขนาดและกี่ครั้งก็ได้ 1.โฆษณามีแต่ภาพ ไม่มีการเคลื่อนไหว ไม่มีเสียง ดึงดูดความน่าสนใจได้น้อยกว่าโทรทัศน์ 2.คุณภาพของสื่อสิ่งพิมพ์ต่ำ เนื่องจากคุณภาพกระดาษไม่ดี 3.อายุของโฆษณาสั้น ผ่านตาผู้บริโภคน้อยครั้ง 4.เข้าถึงกลุ่มผู้บริโภคได้ยาก เพราะคนอ่านเป็นคนทั่วไป เกิดการสูญเปล่าได้ง่าย 5.โฆษณาไม่ค่อยได้รับความสนใจเพราะมักปรากฎ อยู่ในหน้าต่างๆ ที่มีคอลัมน์ที่น่าสนใจกว่าโฆษณา

3. สื่อโฆษณาประเภทสิ่งพิมพ์ 2. นิตยสาร (Magazine) จุดเด่นของนิตยสาร ข้อจำกัดของนิตยสาร 1.เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายและเกิดการสูญเปล่าน้อย 2.ใช้ภาพจูงใจได้เป็นอย่างดีความน่าสนใจของภาพจะทำให้ผู้อ่านสนใจโฆษณา และวิธีการลงโฆษณาก็ไม่ปะปนซุกซ่อนเหมือนหนังสือพิมพ์แต่จะมีความเป็นสัดส่วนดี 3.คุณภาพในการพิมพ์ดี ทั้งในแง่การใช้กระดาษและคุณภาพการพิมพ์ 4.มีอายุการเก็บรักษานาน ผู้อ่านจึงมีโอกาสเห็นโฆษณาหลายครั้ง 5.จำนวนผู้อ่านต่อเล่มสูง เพราะมักมีการยืมต่อๆกัน ทำให้โฆษณาผ่านตาคนจำนวนมาก 6.เหมาะกับสินค้าที่ต้องการภาพพจน์ให้สูง 7.ประเภทและชื่อชองนิตยสารเฉพาะกลุ่มให้แก่ผู้อ่าน การเข้าถึงผู้บริโภคกลุ่มพิเศษจึงสามารถทำได้ง่ายขึ้น 1.สามารถสร้างความถี่ได้ยาก เพราะการพิมพ์จำหน่ายแต่ละเล่มใช้เวลานาน 2.ไม่สามารถเลือกวันเวลาในการโฆษณาได้ เพราะมีการกำหนดเวลาที่แน่นอนไว้แล้ว 3.สร้างจำนวนผู้อ่านได้ช้า เพราะไม่รวดเร็วเหมือนวิทยุหรือโทรทัศน์ 4.เวลาในการส่งต้นแบบโฆษณาให้กับสำนักพิมพ์ต้องส่งล่วงหน้าหลายวัน ทำให้โฆษณาขาดความทันสมัย และความยืดหยุ่นในการเปลี่ยนข้อความ 5.ศึกษาจำนวนผู้อ่านอ่านแท้จริงได้ยาก เพราะมีผู้อ่านทั้งที่ซื้อเองและไม่ได้ซื้อเอง

3. สื่อโฆษณาประเภทสิ่งพิมพ์ 3. สื่อสิ่งพิมพ์ทางตรง (Direct Print Media) จุดเด่นของสื่อสิ่งพิมพ์ทางตรง ข้อจำกัดของสื่อพิมพ์ทางตรง 1.สามารถเลือกกลุ่มเป้าหมายที่ต้องการเข้าถึงได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 2.มีความคล่องตัวและยืดหยุ่นสูงทั้งในด้านการผลิต เวลา และจำนวน 3.สามารถเป็นพนักงานขายไปในตัว โดยสามารสั่งซื้อสินค้าได้โดยตรง 4.รักษาความลับทางการตลาด ยากที่คูแข่งจะทราบกิจกรรมทางการตลาดของบริษัท เพราะสื่อไม่เป็นที่แพร่หลาย 5.เปิดกว้างสำหรับความคิดสร้างสรรค์ไม่มีขีดจำกัดด้านขนาด อาจอยู่ในรูปของกล่องหรือห่อได้อีกด้วย 6.วัดผลการโฆษณาง่าย 1.เสียค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูง   2.ถ้าหากจัดทำรายชื่อไม่ดีและไม่ถูกต้องก็จะเป็นการสูญเปล่า 3.เป็นการยากที่จะหาชื่อ และที่อยู่ของบุคคลต่างๆให้เป็นปัจจุบันได้ 4.กลุ่มเป้าหมายอาจไม่ให้ความสนใจ เพราะอาจถือว่าเป็นขยะไปรษณีย์

1. สื่อกลางแจ้งแบบไม่เคลื่อนที่ 4. สื่อโฆษณากลางแจ้ง 1. สื่อกลางแจ้งแบบไม่เคลื่อนที่ จุดเด่นของสื่อกลางแจ้งแบบไม่เคลื่อนที่ ข้อจำกัดของสื่อกลางแจ้งแบบไม่เคลื่อนที่ 1.เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายในวงกว้างข้อความโฆษณาผ่านสายตากลุ่มเป้าหมายได้บ่อยครั้ง 2.ค่าใช้จ่ายไม่สูงนัก 3.เหมาะที่จะใช้โฆษณาเพื่อเตือนความจำ 4.อายุการใช้งานนาน 1.ให้ความถี่แก่กลุ่มเป้าหมายที่จำกัดเฉพาะผู้ที่ผ่านสถานที่ที่ป้ายติดตั้งอยู่เท่านั้น 2.ไม่สามารถเจาะจงกลุ่มเป้าหมายได้ 3.ตั้งอยู่กับที่เป็นเวลานาน ทำให้คนไม่สนใจ 4.สกปรกเสียรูปโฉมได้ง่าย 5.มีขีดจำกัดในเรื่องความคิดสร้างสรรค์ คือต้องใช้ภาพและข้อความสั้นๆเท่านั้น

4. สื่อโฆษณากลางแจ้ง 2. สื่อยานพาหนะ - สื่อโฆษณาที่อยู่ภายนอกพาหนะ (Exterior Transit Advertising) จุดเด่นของสื่อภายนอกยานพาหนะ ข้อจำกัดของสื่อภายนอกพาหนะ 1.ป้ายโฆษณาเตะตาผู้บริโภคเพราะยาพาหนะสาธารณะผ่านย่านคนอยู่อาศัยและย่านที่คนทำงาน 2.ผู้บริโภคในรถคันอื่นสามารถเห็นป้านโฆษณาได้ 3.ผู้โฆษณาสามารถเลือกกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายในเมืองใหญ่ โดยการเลือกสายรถประจำทาง และรถไฟตามเส้นทางที่กลุ่มเป้าหมายโดยสาร 1.ผู้บริโภคไม่สามารถอ่านสรรพคุณของสินค้าได้ละเอียด เพราะพาหนะเคลื่อนที่ด้วยความเร็ว 2.สื่อพาหนะเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้น้อย 3.สื่อพาหนะไม่เหมาะสมสำหรับการโฆษณาที่ต้องการความรวดเร็ว ฉับพลัน เพราะระยะเวลาในการตระเตรียม และติดตั้งป้ายค่อนข้างนาน

4. สื่อโฆษณากลางแจ้ง 2. สื่อยานพาหนะ - สื่อโฆษณาที่อยู่ภายในพาหนะ (Interior Transit Advertising) จุดเด่นของสื่อภายในยานพาหนะ ข้อจำกัดของสื่อภายในยานพาหนะ 1.ผู้โดยสารมีเวลาอ่านข้อความในโฆษณา ทำให้เข้าใจถึงสรรพคุณของสินค้า 2.ป้ายโฆษณาผ่านตาผู้โดยสารบ่อยครั้ง เนื่องจากผู้โดยสารส่วนใหญ่ใช้รถประจำทางหรือรถไฟอย่างน้อยวันละ2 เที่ยว 3.ผู้โฆษณาสามารถเลือกกลุ่มเป้าหมายได้ง่ายในเมืองใหญ่ โดยเลือกจากสายยานพาหนะที่ผ่านที่อาศัยหรือที่ทำงานของกลุ่มเป้าหมาย 1.กลุ่มผู้บริโภคสื่อชนิดนี้ส่วนใหญ่เป็นผู้มีรายได้ระดับปานกลางถึงต่ำ มีกำลังซื้อน้อย 2.สื่อยานพาหนะแบบติดภายในไม่เหมาะกับการโฆษณาที่ต้องการใช้ความรวดเร็ว เช่น การประกาศลดราคาสินค้า เนื่องจากใช้เวลาตระเตรียม ติดตั้งค่อนข้างนาน

1. อินเตอร์เน็ต (Internet) 5. สื่ออิเล็กทรอนิคส์ 1. อินเตอร์เน็ต (Internet) จุดเด่นของอินเตอร์เน็ต ข้อจำกัดของอินเตอร์เน็ต 1.สามารถให้ได้ทั้งภาพ เสียง การเคลื่อนไหว และสามารถเรียกโฆษณาขึ้นมาดูได้โดยไม่จำกัดเวลา 2.สามารถใส่ข้อมูลได้อย่างละเอียดครบถ้วนตามที่ต้องการ 3.สามารถสื่อสารได้กับคนทั่วโลก 4.สามารถวัดจำนวนผู้เข้าชมสื่อโฆษณาได้แน่นอน การโฆษณาทำได้เฉพาะสินค้าที่มีกลุ่มเป้าหมายระดับบนเท่านั้น เพราะการใช้อินเตอร์เน็ตยังใช้อยู่ในวงจำกัด คือ นักศึกษา นักธุรกิจที่มีรายได้สูง และการสื่อสารในระบบอินเตอร์เน็ตจะใช้ภาษาอังกฤษเท่านั้น 2. อิเล็กทรอนิคบอร์ด (Electronic Board) 6. สื่อโฆษณาอื่นๆ

การเลือกสื่อโฆษณา การเลือก สื่อโฆษณา ความสามารถ ในการเข้าถึง Reach ต้นทุนต่อพันคน (CPM- Cost Per Thousand) ความถี่ในการ เข้าถึง (Frequency) น้ำหนักของ สื่อโฆษณา (Impact)