Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การตรวจสอบภายในที่ไม่ใช่การจับผิด ทำอย่างไร ?
Advertisements

New IA and Audit Issues Identification
สภาพแวดล้อมปัจจุบัน โลกยุคโลกาภิวัตน์ สังคม เศรษฐกิจ
Tools & Techniques for the Beginning Auditors
มาตรฐานที่เกี่ยวข้อง
ความเสี่ยง ความเสี่ยง หมายถึง โอกาสที่จะเกิดความผิดพลาด ความเสียหาย การรั่วไหล ความสูญเปล่า หรือเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ที่ทำให้งานไม่ประสบผลสำเร็จตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้
การตรวจสอบภายในหลังเปิด AEC
Internal audit and corporate governance as in the knowledge-driven enterprise ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พรอนงค์ บุษราตระกูล รองประธานคณะกรรมการดำเนินงานหลักสูตร.
Health System Reform.
บทบาทของผู้ตรวจสอบภายใน
ธรรมาภิบาล และ การปฏิรูปราชการ
กลยุทธ์การ บริหารงานอุตสาหกรรม (Industrial Management Strategy) สัปดาห์ที่ 1 อาจารย์ชาญฉจิต วรรณนุรักษ์ ภาควิชาการจัดการอุตสาหกรรมคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
1 การดำเนินการ โครงการยกระดับคุณภาพการ ให้บริการประชาชน.
CHRO สรุปผลการดำเนินงานและแผน ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข
ระบบมาตรฐานการจัดการสิ่งแวดล้อม
บทบาทของผู้บริหารรัฐวิสาหกิจที่มีต่อ
แนวทางการจัดทำรายงานการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน
Office of The National Anti-Corruption Commission
COSO Frameworks and Control Self-Assessment
TSA 240 ความรับผิดชอบของผู้สอบบัญชีเกี่ยวกับการพิจารณาการทุจริต ในการตรวจสอบงบการเงิน The Auditor's Responsibilities Relating to Fraud in an Audit of Financial.
ธรรมาภิบาลกับการบริหารงานท้องถิ่น
ภารกิจ ศธภ./ศธจ..
การบริหารธุรกิจ MICE Chapter 7 TD 451.
การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
ตลาดทุนไทยหลัง CG-ROSC: ทิศทางในอนาคต
ผลการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2560 และ แผนงานและงบประมาณ ปีงบประมาณ 2561
ความสำคัญของ Internal Audit ต่อการดำเนินธุรกิจ
บทบาทขององค์กรกำกับดูแล ต่อวิชาชีพตรวจสอบภายใน
การพัฒนาคุณภาพระบบบริการอนามัยสิ่งแวดล้อม องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
งานสนับสนุนบริการ สู่การบริการที่เป็นเลิศ
ประสบการณ์การทำงาน ชื่อ – ชื่อสกุล นายมานะ ครุธาโรจน์
แนวโน้มประเด็นสำคัญของ การจัดการทรัพยากรมนุษย์
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ. ศ
วัตถุประสงค์ในการเรียนรู้
APD205 หลักการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์
หลักการและแนวทางการดำเนินการประกันคุณภาพ
บทที่ 3 การจัดการความเสี่ยง
และ สสอ. ร้อยละ 20 (3 แห่ง) (จังหวัดกำแพงเพชร เป้าหมาย ร้อยละ100)
ความสามัคคี คือ ..พลัง.....
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโครงการ
การบริหารความเสี่ยง และการควบคุมภายใน.
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
การควบคุมภายในตามระเบียบ คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. ๒๕๔๔
บทบาทอำนาจหน้าที่ตรวจสอบภายใน
รางวัลความเป็นเลิศด้านการบริหารราชการแบบมีส่วนร่วม ประจำปี พ.ศ. 2560
แนวทางการตรวจนิเทศงานสาธารณสุขผสมผสาน การประเมินผล การปฏิบัติราชการRanking นำสู่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐.
สิทธิประโยชน์การเป็นสมาชิกกองทุน สำรองเลี้ยงชีพ
การประชุมผู้บริหารโรงเรียน เรื่อง เกณฑ์ประเมินการบริหารจัดการคุณภาพการศึกษา โดยใช้กระบวนการ PLC ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๑.
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
หมู่บ้านอาสาพัฒนาและป้องกันตนเอง
ธรรมาภิบาลในสถาบันอุดมศึกษา
การตรวจสอบภายในภาครัฐ
การจัดทำรายงานการควบคุมภายใน ตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 ข้อ 6.
แนวคิดการจัดทำแผนพัฒนา และงบประมาณจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
การจัดการความปลอดภัยระบบสารสนเทศ (Information Security Management System : ISMS) ด้วย เกณฑ์มาตรฐานการรักษาความมั่นคงปลอดภัย ISO/IEC และ ISO/IEC
การบริหารงานและการดำรงชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ความสามัคคี คือ ..พลัง.....
การบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน
UHC : Universal Health Coverage: Achieving Social Protection for All
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
บทที่ 6 การควบคุมภายใน.
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 2 : มาตรฐานการรักษาความปลอดภัยข้อมูล สธ412 ความมั่นคงของระบบสารสนเทศ อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
ปศธ.พบดรีมทีม ร่วมสานฝันพัฒนา สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในปี2551
ความผิดวินัยทางงบประมาณและการคลังมีอัตราโทษปรับทางการปกครอง 4 ชั้นคือ
คณะ 3 การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน
ข้อมูลการระดมความคิดเห็นต่อ การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาโท แผน ข
ประเด็นความเสี่ยงของสำนักงาน ปี ๒๕๕๕
Management Review Based On ISO 9001 : 2008
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Guideline on Good Corporate Governance for Insurance Companies in Thailand 1/11/48

Good Corporate Governance คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ คณะอนุกรรมการยกระดับ CORPORATE GOVERNANCE ด้านธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัทประกันภัย คณะกรรมการส่งเสริมยกระดับธรรมาภิบาลในธุรกิจประกันภัย 1/11/48

แนวทางปฏิบัติในการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทประกันภัย 1. คณะกรรมการของบริษัท (Board of Directors) 1.1 แนวทางปฏิบัติในเรื่องโครงสร้าง คุณสมบัติ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลของบริษัทประกันภัย 1.2 คู่มือกรรมการบริษัทประกันภัย 2. คุณสมบัติและความเหมาะสมของบุคลากร (Fit and Proper) 2.1 ผู้มีอำนาจควบคุมกิจการ 2.2 ผู้บริหารระดับสูง 2.3 นักคณิตศาสตร์ประกันภัย 2.4 ผู้สอบบัญชี 1/11/48

แนวทางปฏิบัติในการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทประกันภัย (ต่อ) 3. การควบคุมภายใน (Internal Control) 3.1 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการควบคุมภายใน 4. การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) 4.1 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการตรวจสอบภายใน 5. การกำกับการปฏิบัติงาน (Compliance Function) 5.1 แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการกำกับการปฏิบัติงาน 1/11/48

แนวทางปฏิบัติในการกำกับดูแลกิจการที่ดี ของบริษัทประกันภัย (ต่อ) 6. ข้อพึงปฏิบัติที่ดีของธุรกิจประกันภัย (Code of Best Practice) จัดทำโดยสมาคมประกันชีวิตไทยและสมาคมประกันวินาศภัย 6.1 ข้อพึงปฏิบัติที่ดีของบริษัทประกันชีวิต 6.2 ข้อพึงปฏิบัติที่ดีของบริษัทประกันวินาศภัย 7. ความโปร่งใสและการเปิดเผยข้อมูล (Transparency and Disclosure) 1/11/48

โครงสร้างของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย ร่างแนวทางปฏิบัติในเรื่องโครงสร้าง คุณสมบัติ หน้าที่ และความรับผิดชอบของคณะกรรมการบริษัทเพื่อส่งเสริมธรรมาภิบาลของบริษัทประกันภัย โครงสร้างของคณะกรรมการและคณะกรรมการชุดย่อย ของบริษัทประกันภัย คณะกรรมการบริษัท คณะกรรมการชุดย่อย 2.1 คณะกรรมการตรวจสอบ 2.2 คณะกรรมการบริหารจัดการความเสี่ยง 2.3 คณะกรรมการพิจารณาการลงทุน 1/11/48

คณะกรรมการบริษัทประกันภัย คุณสมบัติ : กรรมการต้องมีคุณสมบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกำหนด องค์ประกอบ : - คณะกรรมการบริษัทต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า 7 คน - ต้องเป็นกรรมการอิสระอย่างน้อย 1 ใน 4 - เป็นกรรมการบริหารได้ไม่เกิน 1 ใน 2 หน้าที่ความรับผิดชอบ 1/11/48

กรรมการอิสระ คุณสมบัติของกรรมการอิสระ ไม่ถือหุ้นเกิน 0.5% ของทุนชำระแล้วของบริษัท ไม่มีส่วนร่วมในการบริหารงานในบริษัทประกันภัย ไม่มีผลประโยชน์หรือส่วนได้เสียไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม ไม่เป็นผู้เกี่ยวข้องหรือญาติสนิทของผู้บริหารระดับสูงหรือผู้ถือหุ้น รายใหญ่ 1/11/48

คณะกรรมการชุดย่อย คณะกรรมการชุดย่อยที่บริษัทประกันภัยต้องจัดตั้งขึ้น 1. คณะกรรมการตรวจสอบ (Audit Committee) องค์ประกอบและคุณสมบัติ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน เป็นกรรมการที่ไม่เป็นผู้บริหาร โดยต้องได้รับแต่งตั้งจากคณะกรรมการหรือ ที่ประชุมผู้ถือหุ้นบริษัท ประกอบด้วยกรรมการอิสระอย่างน้อย 2 คน มีความรู้ความชำนาญที่เหมาะสม หน้าที่ความรับผิดชอบ 1/11/48

คณะกรรมการชุดย่อย (ต่อ) 2. คณะกรรมการบริหารจัดการความเสี่ยง (Risk Management Committee) องค์ประกอบและคุณสมบัติ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยจะต้องได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการ และหรือ ผู้บริหารของบริษัท กรรมการส่วนใหญ่ต้องมีความรู้ ความชำนาญ และความเข้าใจเกี่ยวกับความเสี่ยงโดยรวม หน้าที่ความรับผิดชอบ 1/11/48

คณะกรรมการชุดย่อย (ต่อ) 3. คณะกรรมการพิจารณาการลงทุน (Investment Committee) องค์ประกอบและคุณสมบัติ มีจำนวนไม่น้อยกว่า 3 คน โดยจะต้องได้รับการแต่งตั้งจากคณะกรรมการบริษัท ประกอบด้วยกรรมการ และหรือ ผู้บริหารของบริษัท กรรมการส่วนใหญ่ต้องมีความรู้ ความชำนาญ และความเข้าใจเกี่ยวกับการลงทุน ตลาดเงินและตลาดทุน หน้าที่ความรับผิดชอบ 1/11/48

คณะกรรมการชุดย่อยที่บริษัทประกันภัยควรจัดตั้ง คณะกรรมการสรรหา (Nominating Committee) คณะกรรมการกำหนดค่าตอบแทน (Remuneration Committee) คณะกรรมการพิจารณาการรับประกันภัย (Underwriting Committee) คณะกรรมการจัดการค่าสินไหมทดแทนหรือการใช้เงินตามกรมธรรม์ประกันชีวิต (Claim Settlement Committee) 1/11/48

ร่างคู่มือกรรมการบริษัทประกันภัย บทที่ 1 บทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ ซึ่งมีอยู่ 2 ด้าน คือ บทบาทของคณะกรรมการด้านปฏิบัติการ บทบาทของคณะกรรมการด้านกำกับดูแล 1/11/48

ร่างคู่มือกรรมการบริษัทประกันภัย (ต่อ) บทที่ 2 ภาระความรับผิดของกรรมการ ตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด มีดังนี้ หลักเกณฑ์ว่าด้วยความระมัดระวังตามสมควร หลักเกณฑ์ว่าด้วยความซื่อสัตย์ หลักเกณฑ์ว่าด้วยความเข้าใจในธุรกิจขององค์กร หลักเกณฑ์ว่าด้วยหน้าที่ในการเข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ 1/11/48

ร่างคู่มือกรรมการบริษัทประกันภัย (ต่อ) บทที่ 3 โครงสร้างของคณะกรรมการ จำนวนกรรมการในคณะกรรมการของบริษัทประกันภัย องค์ประกอบของคณะกรรมการของบริษัทประกันภัย การจัดให้มีคณะกรรมการย่อย 1/11/48

คุณสมบัติและความเหมาะสมของบุคลากร (Fit and Proper) ผู้มีอำนาจควบคุมกิจการ ผู้บริหารระดับสูง นักคณิตศาสตร์ประกันภัย ผู้สอบบัญชี 1/11/48

การควบคุมภายใน (Internal Control) องค์ประกอบของระบบการควบคุมภายใน สภาพแวดล้อมของการควบคุม (Control Environment ) การประเมินและบริหารความเสี่ยง (Risk Assessments) การควบคุมทางด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงาน (Control Activities) ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล (Information and Communication) ระบบการติดตาม (Monitoring) 1/11/48

การควบคุมภายใน (ต่อ) 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม ประกอบด้วยปัจจัยดังนี้ 1. สภาพแวดล้อมของการควบคุม ประกอบด้วยปัจจัยดังนี้ 1.1 คณะกรรมการบริษัท ตระหนักถึงความสำคัญของการกำกับดูแล กิจการที่ดี และจัดให้มีระบบการควบคุมภายในที่เหมาะสมและมีประสิทธิผล 1.2 ผู้บริหารของบริษัท บริหารการดำเนินธุรกิจของบริษัทด้วยความระมัดระวังและเหมาะสม 1.3 การควบคุมทางด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงาน เพื่อให้การบริหารจัดการความเสี่ยงของบริษัทเป็นไปอย่างเหมาะสม 1.4 การตรวจสอบอย่างเป็นอิสระเพื่อติดตามประสิทธิภาพของการควบคุมทางด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงาน 1/11/48

การควบคุมภายใน (ต่อ) 2. การประเมินและการบริหารความเสี่ยง โดยจัดให้มีกระบวนการเพื่อ 2.1 ระบุและประเมินความเสี่ยงที่บริษัทกำลังเผชิญอยู่ 2.2 ควบคุมด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงานให้สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงได้อย่างเหมาะสม ด้วยความระมัดระวัง 2.3 สอบทานการควบคุมด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงานอย่างสม่ำเสมอ 2.4 จัดระบบรายงานให้ผู้บริหารทราบ 1/11/48

การควบคุมภายใน (ต่อ) 3. การควบคุมด้านโครงสร้างและวิธีการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 3.1 การควบคุมด้านโครงสร้าง ประกอบด้วย - การจัดทำข้อพึงปฏิบัติที่ดี - การจัดทำแผนการดำเนินธุรกิจ - การกำหนดนโยบายด้านบุคลากร 1/11/48

การควบคุมภายใน (ต่อ) 3.2 การควบคุมด้านการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย 3.2 การควบคุมด้านการปฏิบัติงาน ประกอบด้วย - การจัดทำคู่มือเกี่ยวกับการควบคุม - ระดับของอำนาจในการอนุมัติที่ชัดเจน - การแบ่งแยกหน้าที่และความรับผิดชอบ - การควบคุมด้านบัญชี และการบันทึกข้อมูลทางบัญชี - ระบบการบริหาร การเก็บรักษา และควบคุมทรัพย์สิน หนี้สิน - นโยบายและวิธีการประเมินราคาทรัพย์สิน หนี้สิน 1/11/48

การควบคุมภายใน (ต่อ) 4. ระบบสารสนเทศและการสื่อสารข้อมูล 4.1 ระบบสารสนเทศ 4.2 การควบคุมและรักษาความปลอดภัยด้านสารสนเทศ 5. ระบบการติดตาม 1/11/48

การตรวจสอบภายใน (Internal Audit) การตรวจสอบภายในของบริษัท อาจกระทำได้โดยหน่วยงานดังต่อไปนี้ หน่วยงานตรวจสอบภายในของบริษัทหรือหน่วยงานตรวจสอบภายในของกลุ่มบริษัท ผู้ตรวจสอบภายในจากภายนอกกิจการ (Outsource) 1/11/48

การตรวจสอบภายใน (ต่อ) ตามมาตรฐานการประกอบวิชาชีพตรวจสอบภายในที่ The Institute of Internal Auditors กำหนดขึ้น ได้กล่าวถึงความเป็นอิสระของผู้ตรวจสอบภายใน ดังนี้ สถานภาพในองค์การ ความมีใจเป็นอิสระ 1/11/48

การตรวจสอบภายใน (ต่อ) คุณสมบัติของผู้ตรวจสอบภายใน ความรู้ในวิชาชีพ คุณสมบัติส่วนตัว เช่น มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความซื่อสัตย์สุจริต วางตัวเป็นกลาง มีความอดทน เป็นต้น 1/11/48

การตรวจสอบภายใน (ต่อ) การจัดทำคู่มือการตรวจสอบภายใน แบ่งเป็นสาระสำคัญได้ 3 ส่วน คือ ด้านเทคนิคการตรวจสอบ ด้านการบริหาร การปฏิบัติงานด้านอื่นๆ เช่น กฎหมาย ระเบียบข้อบังคับ 1/11/48

การตรวจสอบภายใน (ต่อ) กระบวนการตรวจสอบ การสำรวจขั้นต้น การประเมินความเสี่ยง การจัดทำแนวการตรวจสอบภายใน การปฏิบัติงานตรวจสอบภาคสนาม การจัดทำรายงานและติดตามผล 1/11/48

การกำกับการปฏิบัติงาน (Compliance Function) ความรับผิดชอบต่อการกำกับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการบริษัท ความรับผิดชอบต่อการกำกับการปฏิบัติงานของ ผู้บริหารระดับสูง หน้าที่ของผู้บริหารระดับสูง 1/11/48

การกำกับการปฏิบัติงาน (ต่อ) หน้าที่การกำกับการปฏิบัติงาน (Compliance Function) บริษัทประกันภัยต้องกำหนดหน้าที่การกำกับการปฏิบัติงานไว้อย่างชัดเจน บทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยงานกำกับการปฏิบัติงาน ทำการระบุหรือค้นหา ประเมินและติดตามการปฏิบัติงาน 1/11/48

การกำกับการปฏิบัติงาน (ต่อ) ผู้ปฏิบัติหน้าที่กำกับการปฏิบัติงาน ผู้อำนวยการหน่วยงานกำกับการปฏิบัติงาน เจ้าหน้าที่กำกับการปฏิบัติงาน 1/11/48

Question & Answer 1/11/48