โครงการ " ของเสียเหลือศูนย์ “

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเขียว
Advertisements

โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “การปฏิบัติงานด้านการเงิน” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
เป็นการนำความรู้ด้าน Microsoft Excel ที่มีความพิเศษตรงที่สามารถ กำหนดสูตรการคำนวณในแต่ละเซลล์ ของ Sheet งานนั้นๆได้ โดยอาศัย ความแม่นยำในการคีย์ข้อมูลเข้าไป.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
เกษตรแบบผสมผสาน (Integrated Farming)
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
1 จุดเน้นและแนวทางการสร้าง ภูมิคุ้มกันและป้องกันยาเสพ ติดในสถานศึกษา ปี 2557.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
ชุมชนปลอดภัย.
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การกำจัดขยะ โดยใช้หลัก 3R. มารู้จักหลัก 3R กัน Reduce Reuse Recycle.
โรงเรียนกับชุมชน.
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ผลการปฏิบัติงานกรมตรวจบัญชีสหกรณ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
กำหนดการ Work shop -ชี้แจงวัตถุประสงค์ ร่วมเรียนรู้ ร่วมลด CAP ลดซ้ำซ้อน และเสริมพลัง -รับฟังการนำเสนอผลการประเมินตนเองและทำแผนปรับปรุงตนเองและสรุปปัญหาที่ต้อง.
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
Professional Learning Community ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ขยะ/ของเสียเหลือศูนย์ (Zero Waste Management)
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
การวิเคราะห์ ข้อมูลขยะ เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
ยุทธศาสตร์ส่งเสริมการเกษตร
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
ทรัพยากรไทย:ก้าวสู่โลกกว้างอย่างมั่นใจ
คำชี้แจง เรื่อง การเก็บข้อมูลประวัติหมู่บ้าน ชุมชน วิถีชุมชน
รักษ์โลก ลดร้อน ด้วยสองมือ EENT.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
มารู้จักและมีส่วนร่วมในกิจกรรม CSR ของ สศช. กันเถอะ
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำปีงบประมาณ 2560 สำนักงานสหกรณ์จังหวัดลำพูน
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงฯ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่โดยชู
โครงการถ่ายทอดเทคโนโลยีถนนรีไซเคิลเพื่อลดขยะพลาสติกใน 4 ภูมิภาค
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม Man and Environment ภาคปลาย ปีการศึกษา 2561
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โครงการ " ของเสียเหลือศูนย์ “ โรงเรียนรุ่งอรุณ   ร่วมกันส่งเสริมวัฒนธรรม "คนไทย...ไม่สร้างขยะ“ ข้อมูลทั่วไปของโรงเรียนรุ่งอรุณ        โรงเรียนรุ่งอรุณ อยู่ภายใต้การบริหารจัดการของ มูลนิธิโรงเรียนรุ่งอรุณ เป็นองค์กรเอกชนไม่แสวงหากำไร มุ่งทำประโยชน์ เพื่อสาธารณะในด้านการพัฒนาการศึกษา - มีเนื้อที่ ๕๐ไร่ ตั้งอยู่ในเขตบางขุนเทียน ชานเมืองกรุงเทพฯ เปิดสอนตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาล ถึง ระดับมัธยมศึกษาปีที่ ๖ มีนักเรียนจำนวนทั้งสิ้น ๘๔๙ คน - จำนวนครูและบุคลากร ๒๖๗ คน (ข้อมูลในปีการศึกษา ๒๕๔๗ เมื่อเริ่มโครงการฯ)

ที่มาของโครงการฯ โครงการ " ของเสียเหลือศูนย์ " โครงการ " ของเสียเหลือศูนย์ "  ที่มาของโครงการฯ   ที่มาของโครงการ "ของเสียเหลือศูนย์" - โรงเรียนรุ่งอรุณมีขยะเกิดขึ้นในแต่ละวันเป็นจำนวนมาก เฉลี่ยวันละ ๒๐๖ กิโลกรัม (กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗) เนื่องจาก ไม่ได้มีการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง โดยทาง กทม. เข้ามาจัดเก็บขยะให้ได้เพียงสัปดาห์ละ ๑ ครั้ง ปริมาณขยะสะสมอยู่ในโรงเรียนกว่า ๑ ตัน ทุกช่วงสัปดาห์ ที่สร้างทัศนะอุจาด ส่งกลิ่นเหม็น เป็นแหล่งแพร่พันธุ์แมลงวัน สร้างความอึดอัดใจแก่ทุกคน

แนวคิด ~ ปรัชญา ~ เป้าหมาย โครงการ " ของเสียเหลือศูนย์ " โครงการ " ของเสียเหลือศูนย์ "  ฐานคิดในการคิดออกแบบโครงการ “ ของเสีย หรือ ขยะ นั้นไม่มีอยู่โดยตัวเอง หากคือส่วนที่เหลือมาจากการอุปโภคบริโภค "ทรัพยากร" ต่างๆ  ดังนั้น ในธรรมชาติเดิมแท้ จึงยังคงคุณค่าแห่งความเป็นทรัพยากรอยู่ แต่ด้วยสายตาแห่งความ "ไม่รู้" และ "ไม่ต้องการ" ก็ได้ถูกทิ้งให้กลายเป็น "ของเสีย" หรือ "ขยะ" ซึ่งจะสามารถถูกกำจัดให้หมดสิ้นลงได้โดย ๒ วิธีการ คือ นำกลับไปใช้ประโยชน์ หรือ หยุดการบริโภคที่จะทำให้เกิด "ของเสีย" หรือ "ขยะ" เหล่านั้น 

ปลุกจิตสำนึกสาธารณะ “ปลุกจิตสำนึกสาธารณะ ให้ตื่นขึ้นอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ด้วยวิธีการ "เร้ากุศล" เพื่อก่อเกิดความตระหนักในบทบาทของเราแต่ละคนในการเป็นทั้ง ผู้สร้างปัญหา และ ผู้ร่วมแก้ไข อันเป็นผลลัพธ์เชิงคุณค่าที่สำคัญ”

ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ผ่าน "วิถีชีวิต" "ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม" ของทุกๆ คน โดยอาศัยการกำกับด้วยรูปแบบของ "วิถีชีวิต" ที่เอื้อต่อการฝึกฝน บ่มเพาะลักษณะนิสัยแห่งการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมให้ค่อยๆ บังเกิดขึ้น  

พัฒนาคุณภาพภายในจากเรื่องจริง โครงการของเสียเหลือศูนย์เป็นโอกาสดีของโรงเรียนรุ่งอรุณ ในการหยิบยกปัญหาจริงที่เกิดขึ้นมาใช้เป็นเงื่อนไขจัดการเรียนรู้ เรื่องการดูแลทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ให้แก่ทุกคนภายในชุมชนของโรงเรียน สอดคล้องกับแนวทางจัดการเรียนรู้แบบวิถีพุทธ ที่มุ่งเน้นการพัฒนา "คุณภาพภายใน" ผ่านการงานในกิจวัตรประจำวันของโรงเรียนรุ่งอรุณ  

เป้าหมายของโครงการของเสียเหลือศูนย์  เป้าหมายของโครงการของเสียเหลือศูนย์ เป็นชุมชนที่สามารถจัดการขยะและของเสียด้วยตนเอง ด้วยวิธีการที่เหมาะสมและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เป็นพื้นที่เรียนรู้นอกห้องเรียนในเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม ในลักษณะ "สถานีกิจกรรมสิ่งแวดล้อม" เสริมสร้าง วัฒนธรรมแห่งการร่วมกันดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยปรากฎเป็นพฤติกรรม และ แบบแผนการใช้ทรัพยากร และจัดการของเสีย ด้วยวิธีที่เหมาะสม คุ้มค่า และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

กระบวนการ~ขั้นตอนดำเนินงาน ขั้นที่ ๑ "สำรวจปัญหา พัฒนาระบบ" สำรวจข้อมูลขยะและของเสียต่างๆ ทั้งประเภท และ ปริมาณ วางระบบการคัดแยก สร้างหรือปรับปรุงสาธารณูปโภคที่จำเป็น ได้แก่ โรงคัดแยกขยะ  โรงหมักปุ๋ย 

ขั้นที่ ๒ "รวมพลังอาสา เผชิญปัญหาร่วมกัน" ชักชวนกลุ่มครู และ บุคลากร เข้าร่วมกิจกรรม " อาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม " คัดแยกขยะของโรงเรียนที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เพื่อรวบรวมข้อมูลสถิติขยะประจำเดือน และเป็นการร่วมกันรับรู้และแก้ไขปัญหาของส่วนรวม

ขั้นที่ ๓ "สถานีสิ่งแวดล้อม" จัดพื้นที่กิจกรรมเรียนรู้นอกห้องเรียนในลักษณะ "สถานีสิ่งแวดล้อม" ต่างๆ ได้แก่ สถานีคัดแยกขยะ  ทำปุ๋ยหมัก  น้ำหมักชีวภาพ  แปลงผักอินทรีย์ 

ขั้นที่ ๔ "ศูนย์จัดการขยะชุมชน" เปิดตัวโรงคัดแยกขยะเป็น "ศูนย์จัดการขยะชุมชน" เพื่อขยายกลุ่มเป้าหมายให้ครอบคลุมไปยังกลุ่มผู้ปกครอง

ขั้นที่ ๕ "ซื้อ - ขาย ไม่สร้างขยะ" - รณรงค์ ลด - ละ - เลิก วิถีบริโภคที่ก่อให้เกิด "ขยะ" ที่ไม่อาจนำกลับมาใช้ได้อีก

ขั้นที่ ๖ "ชั้นเรียนปลอดขยะ" - จัดและปรับปรุงระบบคัดแยกขยะประจำแต่ละชั้นเรียนให้สมบูรณ์ ชัดเจน และสวยงาม เอื้อต่อการใช้งานอย่างสะดวก - "ชั้นเรียนปลอดขยะ"

ขั้นที่ ๗ "โรงเรียนนี้ ไม่มี ถังขยะ" - ทยอยเก็บ "ถังทิ้ง กทม." ออกจากบริเวณสาธารณะ เช่น ริมทางเดิน และ โรงอาหาร - เหลือไว้แต่ "ถังทรัพยากร" ประเภทต่างๆ คือ ถังเพื่อทำปุ๋ยหมัก เพื่อรีไซเคิล - จากนั้นจึงประกาศวัฒนธรรม "ไม่สร้างขยะ" ในโรงเรียน ที่ทุกคนจะตั้งใจปฏิบัติร่วมกัน