คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ปัตตานี นายวิจิตร จำปาสกุล โยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
สกลนครโมเดล.
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
๒ ปี...ก้าวย่างของการพัฒนา
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
กลุ่มที่ 2 เด็กวัยเรียน.
กลุ่มเป้าหมาย สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด 76 จังหวัด ค่าเป้าหมาย
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
การส่งเสริมสุขภาพเด็กวัยเรียน
ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
วันที่ ๒๔-๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรมพูลแมน จังหวัดขอนแก่น
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ตัวชี้วัดเด็กวัยเรียนสูงดีสมส่วน
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
การสัมมนาแนวทางการดำเนินงาน
โครงการสร้างเสริมสุขภาพช่องปากผู้สูงอายุ ปีงบประมาณ 2551
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
การตรวจราชการ “ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดีสมส่วน”
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย เขตสุขภาพที่ 6
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การประเมินผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ตัวชี้วัดที่ 4 ร้อยละของเด็ก 0-5 ปี สูงดีสมส่วน ” สำนักโภชนาการ.
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
จังหวัดไร้พุงมุ่งสู่สุขภาพดี ปี 54
การเสียชีวิตของเด็กจมน้ำของเด็ก อายุต่ำกว่า 15 ปี จังหวัดพิษณุโลก
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
ใบสำเนางานนำเสนอ:

คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบควบคุมโรค ประเด็นการพัฒนาสุขภาพ:กลุ่มวัยเรียน กรมอนามัย กรมควบคุมโรค สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียนอายุ 5 – 14 ปี สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วน +อ้วนนักเรียนอายุ 5 – 14 ปี จากระบบ HDC ปี 2558 เขตสุขภาพที่ 12 (N = 217,552 คน) ณ 25 ธ.ค.58 จังหวัด ร้อยละ เริ่มอ้วน+อ้วน เทียบลำดับ ของประเทศ 1 สตูล 15.6 19 2. พัทลุง 12.4 42 3. ตรัง 10.3 55 4. สงขลา 10.0 57 ยะลา 7.2 67 นราธิวาส 6.9 71 7. ปัตตานี 3.0 76 ภาพรวม 10.2 (N=18,442 คน) 10 ภาพรวมประเทศ ร้อยละ 12.5 จำนวนเด็กที่ ชั่ง นน./สส. = 2,545,072 คน

สถานการณ์ภาวะโภชนาการนักเรียนอายุ 6-14ปีภาพรวมปี2558 เตี้ยภาพรวม10% ผอม13%ผอมและเตี้ย6% อ้วน6% แหล่งข้อมูล:สพป.พัทลุง

อำเภอที่มีภาวะเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 5 อำเภอ (ร้อยละ 45.45) อำเภอที่มีภาวะเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 5 อำเภอ (ร้อยละ 45.45) มีพื้นที่เสี่ยงที่มีภาวะเตี้ยสูงมากกว่าร้อยละ15 อยู่ 18 รร. อ.ป่าพะยอม 13.87 อ.กงหรา 13.29 อ.บางแก้ว 10.75 อ.ศรีนครินทร์ 10.65 อ.ป่าบอน 10.46 รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 1.โรงเรียนวัดบ่วงช้าง 18.86 2.โรงเรียนอนุบาลเมืองพัทลุง 18.69 3.โรงเรียนวัดควนแร่ 16.15 4.โรงเรียนวัดตำนาน(วรพัฒนประชาสรรค์) 23.94 5.โรงเรียนอนุบาลเมืองพัทลุง 6.โรงเรียนวัดหรังแคบ 30.91 7.โรงเรียนวัดป่าตอ 25.0

อำเภอที่มีภาวะเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 5 อำเภอ (ร้อยละ 45.45) อำเภอที่มีภาวะเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 5 อำเภอ (ร้อยละ 45.45) มีพื้นที่เสี่ยงที่มีภาวะเตี้ยสูงมากกว่าร้อยละ18อยู่ รร. อ.ป่าพะยอม 13.87 อ.กงหรา 13.29 อ.บางแก้ว 10.75 อ.ศรีนครินทร์ 10.65 อ.ป่าบอน 10.46 รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 8.โรงเรียนบ้านธรรมเถียร 19.05 9.โรงเรียนบ้านบ่อทราย 16.67 10.โรงเรียนบ้านทุ่งชุมพล 19.33 11.โรงเรียนบ้านถ้ำลา 33.63 12.โรงเรียนบ้านนาวง 36.13

มีพื้นที่เสี่ยงที่มีภาวะเตี้ยสูงมากกว่าร้อยละ15อยู่ 18 รร.(ต่อ) รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 13.โรงเรียนวัดเขาวังก์ 21.79 14.โรงเรียนบ้านทอนตรน 17.69 15.โรงเรียนบ้านต้นประดู่ 22.22 16.โรงเรียนบ้านพรุนายขาว 18.27 17.โรงเรียนบ้านทุ่งคลองควาย 20.66 18.โรงเรียนบ้านหนองธง 17.39

มีพื้นที่เสี่ยงที่มีภาวะอ้วน ≥ร้อยละ 10.0) รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 1.โรงเรียนอนุบาลพัทลุง 10.77 2.โรงเรียนบ้านมะกอกใต้ 13.97 3.โรงเรียนบ้านนาโหนด 10.53 4.โรงเรียนวัดลานแซะ 13.47 5.โรงเรียนวัดพังดาน 11.66 6.โรงเรียนวัดตะแพน 12.03

ข้อมูลสูงดีสมส่วนเด็กวัยเรียนปี2558

ร้อยละของค่าเฉลี่ยปริมาณพลังงานและสารอาหารที่นักเรียน อายุ 5 – 14 ปี ได้รับจากอาหารกลางวันโรงเรียนต่อคนเทียบกับความต้องการของร่างกายใน 1 มื้อ เป้าหมาย อย่างน้อยร้อยละ 70ของความต้องการใน 1 มื้อ จำนวนทั้งหมด 15 สำรับ

จุดเสี่ยงของมาตรการแก้ไขปัญหานักเรียนผอม,เตี้ย 1. แผนปฏิบัติงาน มาตรการ ยังไม่ครอบคลุมถึงการลดภาวะผอมและเตี้ย ซึ่งสถานการณ์ของจังหวัดเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ10 จึงควรมีมาตรการเร่งด่วนในการลดภาวะผอมและเตี้ยชัดเจน 2. ทีม ติดตามงานวัยเรียน ยังไม่ครอบ คลุมถึงผู้รับผิดชอบงาน ซึ่งดูแลเด็กกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign และทีม SKC ควรดูแลเด็กเตี้ยด้วยโดยมีการจัดตั้ง School Health Manager 3. การคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง ยังไม่เห็นการ set ระบบและแนว ปฏิบัติชัดเจน 4. การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ อาจไม่ครอบคลุมโรงเรียนเป้าหมายแก้ไขปัญหาเด็กผอมและเตี้ย เนื่องจากมีโรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ของกระทรวงศึกษาธิการ ควรผลักดัน สนับสนุนให้โรงเรียนเป้าหมายแก้ปัญหาผอม เตี้ยทุกโรงเรียนได้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวด้วย

โอกาสพัฒนา ข้อสังเกต โอกาสพัฒนา 1. จังหวัดมีแผนงานโครงการพัฒนาโรงเรียนต้นแบบตามแนวพระราชดำริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี - พัฒนาโรงเรียน-ชุมชนต้นแบบให้ครอบคลุมทุกกิจกรรม ส่งเสริมกลุ่มแม่บ้าน – ผู้ปกครอง – นักเรียน พัฒนาสูตร-ผลิตอาหาร ขนม เครื่องดื่มสุขภาพ เพื่อเป็นทางเลือกให้กับโรงเรียน-ชุมชน เรียนรู้จากโรงเรียนในพระราชดำริฯ 2. คุณภาพของข้อมูลและการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียน มีการสุ่มสำรวจข้อมูลและการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของนักเรียน 46โรง

โอกาสพัฒนา ข้อสังเกต โอกาสพัฒนา 3. คุณภาพอาหารกลางวันยังไม่ได้มาตรฐานโภชนาการ พัฒนาศักยภาพครูโครงการอาหารกลางวัน แม่ครัว ด้านการปรุงประกอบอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ แนะนำให้โรงเรียนใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Thai School Lunch ในการพัฒนาเมนูอาหารรายเดือน

ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา วิเคราะห์หาความเชื่อมโยงของเด็กที่มีภาวะโภชนาการ ต่ำกว่าเกณฑ์เพื่อนำสู่การแก้ไขปัญหาที่ตรงประเด็นเช่น -การรับประทานอาหารเช้า -การบริโภคขนมกรุบกรอบ น้ำหวาน น้ำอัดลม -ภาวะสุขภาพช่องปาก -ภาวะเจ็บป่วยเช่น หวัด ,ท้องร่วงฯ การติดตามนิเทศหน้างานระดับพื้นที่เพื่อการพัฒนา คืนข้อมูลให้กับพื้นที่

อยู่ระหว่างดำเนินการ Small Success 3 เดือน กิจกรรม ผลงาน หมายเหตุ แต่งตั้งคณะกรรมการลดอ้วนระดับจังหวัด อำเภอ อยู่ระหว่างดำเนินการ แผนปฏิบัติงานลดอ้วนระดับจังหวัด อำเภอ และโรงเรียน / ยังไม่ครอบคลุมทุกโรงเรียน รายชื่อโรงเรียนเป้าหมาย และรายชื่อ นักเรียนอ้วนกลุ่มเสี่ยง 4. ข้อมูลการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียน เทอม 2 ปี 2558 การคัดกรองเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign ส่งต่อระบบ Service plan และคลินิก DPAC 6. การพัฒนา SKC & SKL (ทีมจังหวัด เข้ารับการอบรมกับกรมอนามัย วันที่ 9-10 ก.พ.59) มีทีม SKC อำเภอ เตรียมอบรม SKC SKL โรงเรียนเป้าหาย

อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากรเด็กต่ำกว่า 15 ปี

แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคน จากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี พ.ศ. 2554 – 2557 จังหวัดพัทลุง จำแนกรายปี แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

จำนวนทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง พื้นที่เสี่ยงมาก เป้าหมายตัวชี้วัด จำนวนทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง 6 ทีม

มาตรการและการดำเนินงานสร้างทีมผู้ก่อการดี ทบทวนข้อมูลการเสียชีวิตจาก 19 สาเหตุ ,สนย., สอบสวนการจมน้ำ ,สำรวจความเสี่ยงเด็กต่อการบาดเจ็บ สิ่งที่ต้องทำต่อ คืนข้อมูลชุมชน 1 ข้อมูลสถานการณ์ สาธารณสุข + มูลนิธิร่มไทร สำรวจแหล่งน้ำจุดเสี่ยง และความลึก สิ่งที่ต้องทำต่อ คืนข้อมูล อปท. ชุมชน + จัดการแหล่งน้ำเสี่ยง 2 การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง ให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการใน รพสต. และ รพ.สต. ให้ชุมชน + ประสาน สพฐ สอดแทรกเนื้อหาในช่วง การเรียน เช่น ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 4 การให้ความรู้ สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในและนอกศูนย์ฯ +แก้ไขทันที หากต้องใช้งบต้องแก้ไขภายในมกราคม + ให้ความรู้ครูพี่เลี้ยง สิ่งที่ต้องทำต่อ ติดตามผลการแก้ไขความเสี่ยง 3 ศูนย์เด็กเล็ก สคร.12 ได้จัดอบรมสร้างครู ก สอนว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในวันที่ 13-16 ธ.ค.58 จังหวัดสตูลเข้าร่วม 8 คน เป็นทีมของกู้ชีพกู้ภัยและ สสจ. ดังเอกสารแนบรายชื่อเครือข่ายอบรมครู ก สื่อสารในเวทีต่างๆ สิ่งที่ต้องทำต่อ การสื่อสารผลการสอบสวนเพื่อกระตุ้นตุ้นชุมชน 6 สื่อสารประชาสัมพันธ์ มีแผนดำเนินการอบรมครู ข สิ่งที่ต้องทำต่อ เร่งรัดการประสานหาทีมผู้ก่อการดีตามเป้าหมายจังหวัดอำเภอละ 1 ทีม และเตรียมขยายครู ข เพื่อสอนเด็ก/ประชาชนในพื้นที่ 5 สอนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

ผลการดำเนินงานสร้างทีมผู้ก่อการดีจังหวัดพัทลุง Small sucess ผลงาน แผนงานโครงการ/แนวทางสนับสนุนการแก่ทีมผู้ก่อการดีของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีทีมผู้ก่อการดีที่สมัครใจดำเนินการป้องกันการจมน้ำ 6 อำเภอๆละ 1 ทีม รวม 6 ทีม 8 อำเภอ สมัครใจดำเนินการ เมือง เขาชัยสน ป่าบอน กงหรา ควนขนุน บางแก้ว ศรีนครินทร์ ตะโหมด มีแนวทางดำเนินการ ดังนี้ จัดประชุมราชการชี้แจงมาตรการดำเนินงานแก่ทุกอำเภอ นิเทศติดตามการดำเนินงานของทีมผู้ก่อการดี

อำเภอที่มีภาวะผอมและเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 9 อำเภอ (ร้อยละ 75.0) อำเภอที่มีภาวะผอมและเตี้ย ≥ ร้อยละ 10 มีจำนวน 9 อำเภอ (ร้อยละ 75.0) มีพื้นที่เสี่ยงสูงมาก 3อำเภอ (ภาวะผอมและเตี้ย ≥ร้อยละ 20) อ.เมือง 13.22 อ.ไม้แก่น 14.19 อ.กะพ้อ 14.90 อ.ยะรัง 16.68 อ.โคกโพธิ์ 15.63 อ.มายอ 19.52 อ.ปะนาเระ 15.22 8. อ.หนองจิก 16.46 9. อ.ยะหริ่ง 17.76 รายชื่อโรงเรียน ร้อยละ 1.อำเภอทุ่งยางแดง 22.47 2.อำเภอแม่ลาน 21.38 3.อำเภอสายบุรี 20.48 มีโรงเรียนในโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ จำนวน 20 โรงเรียน

ร้อยละของค่าเฉลี่ยปริมาณพลังงานและสารอาหารที่นักเรียน อายุ 5 – 14 ปี ได้รับจากอาหารกลางวันโรงเรียนต่อคนเทียบกับความต้องการของร่างกายใน 1 มื้อ เป้าหมาย อย่างน้อยร้อยละ 70ของความต้องการใน 1 มื้อ จำนวนทั้งหมด 55 สำรับ

จุดเสี่ยงของมาตรการแก้ไขปัญหานักเรียนผอม,เตี้ย 1. แผนปฏิบัติงาน มาตรการ ยังไม่ครอบคลุมถึงการลดภาวะเตี้ย ซึ่งสถานการณ์ของจังหวัดเพิ่มสูงขึ้นถึง 2 เท่าภายใน 1 ปี จึงควรมีมาตรการเร่งด่วนในการลดเตี้ยที่ชัดเจน 2. ทีม ติดตามงานวัยเรียน ยังไม่ครอบ คลุมถึงผู้รับผิดชอบงาน ซึ่งดูแลเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign และทีม SKC ควรดูแลเด็กเตี้ยด้วย 3. การคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง ยังไม่เห็นการ set ระบบและแนวปฏิบัติชัดเจน 4. การจัดกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ อาจไม่ครอบคลุมโรงเรียนเป้าหมายแก้ไขปัญหาเด็กผอมและเตี้ย เนื่องจากมีโรงเรียนเข้าร่วมกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ของกระทรวงศึกษาธิการ เพียง โรงเรียน ควรผลักดัน สนับสนุนให้โรงเรียนเป้าหมายแก้ปัญหาผอม เตี้ยทุกโรงเรียนได้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวด้วย

ปัญหา-อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ 1. จังหวัดมีมาตรการด้านอาหารในการส่งเสริมภาวะโภชนาการนักเรียนสนับสนุนให้โรงเรียนจัดกิจกรรมเกษตรเพื่ออาหารกลางวันฯ - เรียนรู้จาก Best Practice โรงเรียนในพระราชดำริฯ ค้นหาและพัฒนาโรงเรียน-ชุมชนต้นแบบ ส่งเสริมกลุ่มแม่บ้าน – ผู้ปกครอง – นักเรียน พัฒนาสูตร-ผลิตอาหาร ขนม เครื่องดื่มสุขภาพ เพื่อเป็นทางเลือกให้กับโรงเรียน-ชุมชน 2. ทักษะบุคลากรในระดับพื้นที่ขาดทักษะในการดำเนินงานสนับสนุนงานอนามัยโรงเรียนโดยเฉพาะการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ สื่อสารสร้างความรู้ ความเข้าใจหลายช่องทางอย่างต่อเนื่อง จัดทำ Guideline การปฏิบัติงานอย่างง่ายของจังหวัด การคัดกรองเด็กกลุ่มเสี่ยง การจัดทำฐานข้อมูลและการดูแลและติดตามเด็กกลุ่มเสี่ยง ฯลฯ นิเทศ ติดตาม สอนงานต่อเนื่อง 46โรง

ปัญหา-อุปสรรค และแนวทางแก้ไข ข้อสังเกต ข้อเสนอแนะ 3. คุณภาพอาหารกลางวันยังไม่ได้มาตรฐานโภชนาการ พัฒนาศักยภาพครูโครงการอาหารกลางวัน แม่ครัว ด้านการปรุงประกอบอาหารตามมาตรฐานโภชนาการ แนะนำให้โรงเรียนใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Thai School Lunch ในการพัฒนาเมนูอาหารรายเดือน 4.ความครอบคลุมของการได้รับยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก ให้ยาเสริมธาตุเหล็กในเด็กวัย เรียนครอบคลุมทุกคน ตามชุดสิทธิประโยชน์

อยู่ระหว่างดำเนินการ Small Success 3 เดือน กิจกรรม ผลงาน หมายเหตุ แต่งตั้งคณะกรรมการลดอ้วนระดับจังหวัด อำเภอ อยู่ระหว่างดำเนินการ แผนปฏิบัติงานลดอ้วนระดับจังหวัด อำเภอ และโรงเรียน / ยังไม่ครอบคลุมทุกโรงเรียน รายชื่อโรงเรียนเป้าหมาย และรายชื่อ นักเรียนอ้วนกลุ่มเสี่ยง 4. ข้อมูลการชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง นักเรียน เทอม 2 ปี 2558 การคัดกรองเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign ส่งต่อระบบ Service plan และคลินิก DPAC 6. การพัฒนา SKC & SKL (ทีมจังหวัดอบรมกับ ศอ.12 เมื่อ พย.58และเข้ารับการอบรมกับกรมอนามัย วันที่ 9-10 ก.พ.59) มีทีม SKC อำเภอ เตรียมอบรม SKC คน จาก 12 อำเภอ SKL 12 โรงเรียนเป้าหาย

อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อแสนประชากรเด็กต่ำกว่า 15 ปี

แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข อัตราการเสียชีวิตต่อประชากรเด็กแสนคน จากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี พ.ศ. 2554 – 2557 จังหวัดพัทลุง จำแนกรายปี แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

จำนวนทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง พื้นที่เสี่ยงมาก เป้าหมายตัวชี้วัด จำนวนทีมผู้ก่อการดีระดับทองแดง 6 ทีม

มาตรการและการดำเนินงานสร้างทีมผู้ก่อการดี ทบทวนข้อมูลการเสียชีวิตจาก 19 สาเหตุ ,สนย., สอบสวนการจมน้ำ ,สำรวจความเสี่ยงเด็กต่อการบาดเจ็บ สิ่งที่ต้องทำต่อ คืนข้อมูลชุมชน 1 ข้อมูลสถานการณ์ สาธารณสุข + มูลนิธิร่มไทร สำรวจแหล่งน้ำจุดเสี่ยง และความลึก สิ่งที่ต้องทำต่อ คืนข้อมูล อปท. ชุมชน + จัดการแหล่งน้ำเสี่ยง 2 การจัดการแหล่งน้ำเสี่ยง ให้ความรู้แก่ผู้มารับบริการใน รพสต. และ รพ.สต. ให้ชุมชน + ประสาน สพฐ สอดแทรกเนื้อหาในช่วง การเรียน เช่น ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ 4 การให้ความรู้ สำรวจแหล่งน้ำเสี่ยงในและนอกศูนย์ฯ +แก้ไขทันที หากต้องใช้งบต้องแก้ไขภายในมกราคม + ให้ความรู้ครูพี่เลี้ยง สิ่งที่ต้องทำต่อ ติดตามผลการแก้ไขความเสี่ยง 3 ศูนย์เด็กเล็ก สคร.12 ได้จัดอบรมสร้างครู ก สอนว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอดในวันที่ 13-16 ธ.ค.58 จังหวัดสตูลเข้าร่วม 8 คน เป็นทีมของกู้ชีพกู้ภัยและ สสจ. ดังเอกสารแนบรายชื่อเครือข่ายอบรมครู ก สื่อสารในเวทีต่างๆ สิ่งที่ต้องทำต่อ การสื่อสารผลการสอบสวนเพื่อกระตุ้นตุ้นชุมชน 6 สื่อสารประชาสัมพันธ์ มีแผนดำเนินการอบรมครู ข สิ่งที่ต้องทำต่อ เร่งรัดการประสานหาทีมผู้ก่อการดีตามเป้าหมายจังหวัดอำเภอละ 1 ทีม และเตรียมขยายครู ข เพื่อสอนเด็ก/ประชาชนในพื้นที่ 5 สอนหลักสูตรว่ายน้ำเพื่อเอาชีวิตรอด

ผลการดำเนินงานสร้างทีมผู้ก่อการดีจังหวัดพัทลุง Small sucess ผลงาน แผนงานโครงการ/แนวทางสนับสนุนการแก่ทีมผู้ก่อการดีของสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด มีทีมผู้ก่อการดีที่สมัครใจดำเนินการป้องกันการจมน้ำ 6 อำเภอๆละ 1 ทีม รวม 6 ทีม 8 อำเภอ สมัครใจดำเนินการ เมือง เขาชัยสน ป่าบอน กงหรา ควนขนุน บางแก้ว ศรีนครินทร์ ตะโหมด มีแนวทางดำเนินการ ดังนี้ จัดประชุมราชการชี้แจงมาตรการดำเนินงานแก่ทุกอำเภอ นิเทศติดตามการดำเนินงานของทีมผู้ก่อการดี

ขอบคุณ และสวัสดีค่ะ