การใช้โปรแกรม ArcGIS เพื่อประยุกต์ใช้งานตรวจสอบข้อมูลระบบชลประทาน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
Advertisements

System Requirement Collection (2)
วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม สาระภูมิศาสตร์ ระดับชั้น ม.4
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
เป็นหลักสำคัญในการนำเสนอเนื้อหา ของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนก็คือ ควร นำเสนอภาพที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหา ประกอบ กับคำอธิบายสั้นๆ ง่ายๆ แต่ได้ใจความ การใช้ภาพประกอบจะทำให้ผู้เรียน.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การใช้งานโปรแกรม SPSS
Computer in Business เรื่อง การใช้งาน Access เบื้องต้น.
จัดทำโดย ด. ญ. ดลยา มณีขัติย์ ชั้น ม.1/12 เลขที่ 18 ด. ญ. ณัฐธิดา วันเวียง ชั้น ม.1/12 เลขที่ 19 เสนอ อาจารย์ อรอุมา พงค์ธัญญะดิลก.
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ และการแบ่งเขตเวลาของโลก
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การพัฒนาโครงการที่อยู่อาศัยในไทย
การใช้งาน Microsoft Excel
หลักสูตรระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สำหรับ ข้าราชการ ระดับ 3-5 การฝึกปฏิบัติการใช้โปรแกรมระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ วันที่ มิถุนายน และ วันที่ มิถุนายน.
ประยุกต์ใช้ในงานด้านการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศที่นำมาใช้สำหรับการเรียนการสอน เป็นการใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่หลายอย่าง สอนด้วยสื่อ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
Intro Excel 2010 ข้อมูลจาก... ellession1.htm.
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
การจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มข้อมูลธรรมดา นั้น อาจจำเป็นที่ใช้แต่ละคน จะต้องมีแฟ้มข้อมูลของตนไว้เป็นส่วนตัว จึง อาจเป็นเหตุให้มีการเก็บข้อมูล ชนิดเดียวกันไว้หลาย.
เทคนิคการใช้ Microsoft Excel. 1. การตีตารางในรูปแบบต่าง ๆ 2. การแทรกภาพในตาราง 3. การตกแต่งข้อมูลด้วย Format Cells 4. การคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร 5. การย่อ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ การจัดกิจกรรมการ เรียนรู้แบบการทำ โครงงานคอมพิวเตอร์ ครูชาญณรงค์ ปานเลิศ โรงเรียนพระบางวิทยา ครูชาญณรงค์
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
ALLPPT.com _ Free PowerPoint Templates, Diagrams and Charts.
เรื่อง กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ Lab 05 : Microsoft Excel (Part3) พท 260 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทางการท่องเที่ยว อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ.
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
การทำ Normalization 14/11/61.
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
Integrated Information Technology
การนำเข้าระวางแปลงที่ดิน
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
เครื่องมือทางภูมิศาตร์
ระบบรายงานอุบัติภัยทางถนน e - Report
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
การจัดเตรียมเครื่องมือและข้อมูล
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง. หลักการแต่ง คำประพันธ์ประเภท โคลง.
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
กำหนดกรอบระยะเวลาการขึ้นทะเบียนปี2556/57 1. ข้าว
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
พื้นฐานการออกแบบ กราฟิก หมายถึง ศิลปะแขนงหนึ่งซึ่งใช้การสื่อความหมาย ด้วยเส้น สัญลักษณ์ รูปวาด ภาพถ่าย กราฟ แผนภูมิ การ์ตูน ฯลฯ เพื่อให้สามารถสื่อความหมายของข้อมูลได้ถูกต้องตรง.
วิธีการกำหนดค่า Microsoft SharePoint ของคุณ เว็บไซต์ออนไลน์
รูปถ่ายทางอากาศ รูปภาพบนพื้นโลก ทั้งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยได้จากการส่งเครื่องมือถ่ายภาพระยะไกลด้วยกล้องในอากาศยาน เช่น.
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
เรื่อง การใช้งานระบบ Survey license
World Time อาจารย์สอง Satit UP
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
SMS News Distribute Service
วัฏจักรหิน วัฏจักรหิน : วัดวาอาราม หินงามบ้านเรา
Data storage II Introduction to Computer Science ( )
บรรยายครั้งที่ 8 - กราฟฟิกวิศวกรรม 1
สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ โดย อาจารย์กิตติพงษ์ ภู่พัฒน์วิบูลย์
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
ค่ารูรับแสง - F/Stop ค่ารูรับแสงที่มีค่าตัวเลขต่ำใกล้เคียง 1 มากเท่าไหร่ ค่าของรูรับแสงนั้นก็ยิ่งมีความกว้างมาก เพราะเราเปรียบเทียบค่าความสว่างที่ 1:1.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การใช้โปรแกรม ArcGIS เพื่อประยุกต์ใช้งานตรวจสอบข้อมูลระบบชลประทาน บรรยายโดย... นางอัจฉรา ดาวัน นักวิชาการคอมพิวเตอร์ชำนาญการ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วันที่ 14-15 มิถุนายน 2559

เนื้อหาการฝึกอบรม

Day 1 >> 1.ความรู้เบื้องต้นของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2. การใช้งานโปรแกรมArcGIS - การเรียกใช้โปรแกรม ArcMap - การจัดการข้อมูลในArcCatalog - การสร้างShapefile - มาตราส่วนแผนที่และโปรเจคชั่น 3.การนำเข้าข้อมูล - การนำเข้าข้อมูลShapefile - การนำเข้าข้อมูลจาก Excel - การนำเข้าภาพภ่ายออร์โธสี 4. การปรับคุณสมบัติชั้นข้อมูล 5.การสร้าง Feature โดยใช้ sketch tools

Day 2 >> 6.การแก้ไขข้อมูล(Editing Data) - Snapping Environment - Editor Toolbar - Reshape Feature - Trim - Cut Polygon - Clipping Feature 7.การแก้ไขข้อมูลตารางเชิงบรรยาย 8.การคำนวณพื้นที่/ค่าสถิติ 9.การประยุกต์ใช้ArcGIS กับภาพถ่ายออร์โธสี 10.การประยุกต์ใช้ArcGIS กับโปรแกรมGoogle Earth

ความรู้เบื้องต้นของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์

(ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์) เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับแผนที่ GIS = Geograpic Information System (ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์) เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับแผนที่ เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับข้อมูล เป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์

ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System : GIS) คือ กระบวนการทำงานเกี่ยวกับข้อมูลเชิงพื้นที่ (spatial data) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการกำหนดข้อมูลเชิงบรรยายหรือข้อมูลคุณลักษณะ (attribute data) และสารสนเทศ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ (spatial data) เช่น ตำแหน่งบ้าน ถนน แม่น้ำ เป็นต้น ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูล ระบบ GIS ประกอบไปด้วยชุดของเครื่องมือที่มีความสามารถในการเก็บรวบรวม ปรับปรุงและการสืบค้นข้อมูล เพื่อจัดเตรียม ปรับแต่ง วิเคราะห์และการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนำมาวิเคราะห์ด้วย GIS ให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับช่วงเวลาได้

GIS Stores Data as Layers GIS Concept GIS Stores Data as Layers UTILITIES BUILDING TRANSPORTATION HYDROLOGY TOPOGRAPHIC 1120 1121 1124 1123 200 PARCEL REAL WORLD

หน้าที่หลัก ๆ ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มีอยู่ด้วยกัน 5 อย่างดังนี้ 1. การนำเข้าข้อมูล (input) ก่อนที่ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกใช้งานได้ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ข้อมูลจะต้องได้รับการแปลง ให้มาอยู่ในรูปแบบของข้อมูล เชิงตัวเลข (digital format) เสียก่อน เช่น จากแผนที่กระดาษไปสู่ข้อมูลใน รูปแบบดิจิตอลหรือแฟ้มข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ใช้ในการนำเข้าเช่น Digitizer Scanner หรือ Keyboard เป็นต้น 2.การปรับแต่งข้อมูล (manipulation) ข้อมูลที่ได้รับเข้าสู่ระบบบางอย่างจำเป็นต้องได้รับการปรับแต่งให้เหมาะสมกับงาน เช่น ข้อมูลบางอย่างมีขนาด หรือสเกล (scale) ที่แตกต่างกัน หรือใช้ระบบพิกัดแผนที่ที่แตกต่างกัน ข้อมูลเหล่านี้จะต้องได้รับการปรับให้อยู่ใน ระดับเดียวกันเสียก่อน

หน้าที่หลัก ๆ ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3.การบริหารข้อมูล (management) ระบบจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS จะถูกนำมาใช้ในการบริหารข้อมูลเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพในระบบ GIS DBMS ที่ได้รับการเชื่อถือและนิยมใช้กันอย่างกว้างขวางที่สุดคือ DBMS แบบ Relational หรือระบบจัดการฐานข้อมูลแบบสัมพัทธ์ (RDBMS) ซึ่งมีหลักการทำงานพื้นฐาน ดังนี้คือ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บ ในรูปของตารางหลาย ๆ ตาราง

หน้าที่หลัก ๆ ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 4. ในการเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล (query and analysis) เมื่อระบบ GIS มีความพร้อมในเรื่องของข้อมูลแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การนำข้อมูลเหล่านี่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เช่น ใครคือเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินผืนที่ติดกับโรงเรียน? เมืองสองเมืองนี้มีระยะห่างกันกี่กิโลเมตร? ดินชนิดใดบ้างที่เหมาะสำหรับปลูกอ้อย? หรือ ต้องมีการสอบถามอย่างง่าย ๆ เช่น ชี้เมาส์ไปในบริเวณที่ต้องการแล้วเลือก (point and click) เพื่อสอบถามหรือเรียกค้นข้อมูล นอกจากนี้ระบบ GIS ยังมีเครื่องมือในการวิเคราะห์ เช่น การวิเคราะห์เชิงประมาณค่า (proximity หรือ buffer) การวิเคราะห์เชิงซ้อน (Overlay Analysis) เป็นต้น

หน้าที่หลัก ๆ ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 5.การนำเสนอข้อมูล (visualization) จากการดำเนินการเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์ที่ได้จะอยู่ในรูปของตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งยากต่อการตีความหมายหรือทำความเข้าใจ การนำเสนอข้อมูลที่ดี เช่น การแสดงชาร์ต (chart) แบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติ รูปภาพจากสถานที่จริง ภาพเคลื่อนไหว แผนที่ หรือแม้กระทั่งระบบมัลติมีเดีย สื่อต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้ผู้ใช้เข้าใจความหมายและมองภาพของผลลัพธ์ที่กำลังนำเสนอได้ดียิ่งขึ้นอีก

Geographic Information System ระบบสารสนเทศที่ใช้ในการ จัดเก็บ จัดการ วิเคราะห์ แสดงผล ข้อมูลทางภูมิศาสตร์

แผนที่ และ ข้อมูลเชิงพื้นที่ แผนที่ คือ สิ่งที่แสดงลักษณะของผิวโลก ทั้งที่เป็นอยู่ตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยแสดงลงบนพื้นราบ อาศัยการย่อส่วนให้เล็กลงตามขนาดที่ต้องการและใช้เครื่องหมายหรือสัญลักษณ์แทนสิ่งที่ปรากฏอยู่ บนผิวโลก

ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ  1. ข้อมูลเชิงภาพ (Graphic data) สามารถแทนได้ด้วย 2 รูปแบบพื้นฐาน >> ข้อมูลแบบเวกเตอร์ (Vector format) >> ข้อมูลแบบแรสเตอร์ (Rastor format) 2. ข้อมูลอรรถธิบาย (Attribute data) เป็นข้อความอธิบายที่มีความสัมพันธ์กับข้อมูลเชิงภาพเหล่านั้น เช่น ชื่อถนน, ลักษณะ พื้นผิว และจำนวนช่องทางวิ่งของเส้นถนนแต่ละเส้น เป็นต้น

Vector Data คือข้อมูลกราฟิกที่อาศัยหลักทางคณิตศาสตร์ เป็นการจัดเก็บข้อมูลที่ละจุดหรือตำแหน่ง ที่ประกอบด้วยจุดพิกัดทางแนวราบ (X,Y) และ/หรือ แนวดิ่ง (Z) หรือ Cartesian Coordinate System Point Line Polygon

การเก็บข้อมูลแบบ Vector ข้อมูลแต่ละเส้นมีตำแหน่งค่าพิกัดของจุดต่างๆ เหมาะสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเครือข่าย (Network Analysis)

Raster Data เป็นข้อมูลที่อยู่บนพิกัดรูปตารางแถวนอนและแถวตั้ง -ความสามารถแสดงรายละเอียดของข้อมูลขึ้นอยู่กับขนาดของเซลล์ ณ จุดพิกัดที่ประกอบขึ้นเป็นฐานข้อมูลแสดงตำแหน่งชุดนั้น - Raster Data มีข้อได้เปรียบในการใช้ทรัพยากรระบบคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพดีกว่า ช่วยให้สามารถทำการวิเคราะห์ได้รวดเร็ว - Raster Data อาจแปรรูปมาจากข้อมูล Vector หรือแปรจาก Raster ไปเป็น Vector แต่เห็นได้ว่าจะมีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้นระหว่างการแปรรูปข้อมูล

Image เป็น Raster Data ประเภทหนึ่ง ซึ่งมีค่าระบุสีของแต่ละพิกัดเซลล์ เมื่อได้รับการแปลความหมาย (Interpretation) จากกระบวนการวิเคราะห์ด้วยคอมพิวเตอร์ ความหมายจากค่าสีเหล่านี้สามารถนำไปสร้างคุณสมบัติเชิงอธิบาย (Attribute) สำหรับชั้นข้อมูลได้

การเก็บข้อมูลแบบ Raster เก็บข้อมูลในรูปแบบของข้อมูลเชิงจุด (Cell-based) ในตารางกริด (Grid) แต่ละช่องใช้เก็บค่าของข้อมูลเรียกว่า Pixel เหมาะสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis)

ระบบพิกัดบนแผนที่ ที่มา: พ.อ.ศุภฤกษ์ ชัยชนะ /อานันต์ คำภีระ

ระบบพิกัดบนแผนที่ ระบบพิกัด (Coordinate System) เป็นระบบที่สร้างขึ้นสำหรับใช้อ้างอิงในการกำหนดตำแหน่ง หรือ บอกตำแหน่งที่อยู่ของเราว่าเราอยู่บริเวณส่วนใดของแผนที่หรือบริเวณใดบนผิวโลก ที่นิยม บอกตำแหน่งกันมีอยู่สองระบบคือ - ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ - ระบบพิกัดกริด

ระบบพิกัดภูมิศาสตร์(GeographicCoordinate) - เป็นระบบที่เก่าแก่ที่สุดในการกำหนจุด โดยอาศัยเส้นสองชนิด คือ เล้นที่ลากผ่านขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้เรียกว่า เส้นลองจิจูด หรือที่เรียกว่า เส้นแวง - เส้นที่สองคือเส้นที่ลากตามแนวตะวันออกตะวันตกในลักษณะเส้นขนาน เรียกว่า เส้นละติจูด Lines of Latitude Lines of Longitude “meridians”

ระบบพิกัดภูมิศาสตร์(GeographicCoordinate) - ขนาดระวางของแผนที่ 1:50,000 จะมีขนาดเท่ากับ 15 x 15 ลิปดา เวลาอ่านก็จะอ่านออกมาเป็นค่า ละติจูด และค่าลองติจูด โดยใช้การแบ่ง ทั้งแนวตั้งและแนวนอน เป็น อย่างละ 15 ส่วน ค่าพิกัดที่อ่านได้จะมีความละเอียดเท่ากับ 1 ลิปดา

ระบบพิกัดภูมิศาสตร์(GeographicCoordinate)

ระบบพิกัดกริด (Grid Coordinate) - ระบบพิกัดกริด (UTM) ได้ถูกนำมาใช้ในกิจการทหารของสหรัฐอเมริกาตั้งแต่ปี พ.ศ.2434 และกรมแผนที่ทหาร เริ่มนำมาใช้ในโครงการทำแผนที่จากรูปถ่ายทางอากาศ การบอกตำแหน่งโดยระบบพิกัดกริดมีส่วนดีและสะดวกกว่า ระบบพิกัดภูมิศาสตร์

ระบบพิกัดกริด (Grid Coordinate)

พิกัดภูมิศาสตร์และพิกัด UTM ต่างกันอย่างไร - พิกัดภูมิศาสตร์คือพิกัดที่สำหรับอ้างอิงตำแหน่งที่กว้างไกล แต่พิกัด UTM ใช้สำหรับอ้างอิงตำแหน่งที่ไม่กว้างไกลนัก เพราะพิกัด UTM เป็นพิกัดบนพื้นราบ ถ้าพื้นที่กว้างมากจะเกิดข้อผิดพลาดทางตำแหน่ง จึงจำเป็นต้องมีการเปลี่ยน ZONE ฉะนั้นในกองทัพอากาศและกองทัพเรือจึงใช้ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ เพราะพื้นที่ปฎิบัติการกว้างและไกลมาก ขณะที่กองทัพบกใช้ระบบ UTM เพราะพื้นที่ปฎิบัติการไม่กว้างไกลมากนัก

WGS84 คืออะไร - เนื่องจาก แต่ละประเทศหรือแต่ละภูมิภาศภายในโลกเรานี้ ใช้ลูกโลกสมมุติ(ellipsoid)แทนลูกโลกจริงไม่เหมือนกัน ทำให้เกิดปัญหาเวลานำแผนที่มาต่อกัน สหรัฐอเมริกาเลยเป็นผู้นำให้ทั่วโลกใช้ลูกโลกสมมุติตัวดียวกันคือลูกโลกสมมุติที่ชื่อว่า WGS84 คือลูกโลกสมมุติที่ได้มาจากการสำรวจด้วยดาวเทียมฉะนั้น แผนที่ของโลกเราก็ใช้ระบบเดียวกัน ไม่มีปัญหาเรื่องการเชื่อมต่อกัน และค่าพิกัดที่ได้จากการสำรวจด้วย GPS ก็ใช้ WGS84

ระบบพิกัดแผนที่ ที่ต้องรู้ ระบบพิกัดแผนที่ ที่ต้องรู้ ระบบพิกัดแผนที่ ในระบบข้อมูลหรือทางคอมพิวเตอร์ที่เราใช้ในประเทศไทยมี 2 ระบบ ระบบพิกัดภูมิศาสตร์ หรือ Geographic หน่วยเป็น องศา ลิปดา พิลิปดา ระบบพิกัดฉาก หรือ UTM (Universal Transverse Mercator) หน่วยเป็น เมตร และมี 2 โซน Zone 47 และ Zone 48 และหมุดหลักฐานอ้างอิง ที่ประเทศไทยใช้อ้างอิง มี  2 แบบ WGS 1984 Indian 1975

ดังนั้น ระบบพิกัดแผนที่ เมื่อต้องเลือกหมุดหลักฐานด้วย ทั้งหมดมี 6 แบบ WGS 84 / Geographic WGS 84 / UTM Zone 47 WGS 84 / UTM Zone 84 Indian 1975 / Geographic Indian 1975 / UTM Zone 47 Indian 1975 / UTM Zone 84

ข้อแตกต่างของแผนที่ชุด L7017 กับ L7018

การใช้งานโปรแกรมArcGIS

รู้จักโปรแกรม ArcGIS

ในการทำงานด้าน GIS ในโปรแกรม ArcGIS จะต้องคำนึงการใช้งานใน 3 ส่วนหลัก ได้แก่

การเก็บข้อมูลของ ArcGIS - เก็บเป็นไฟล์ข้อมูล Shapefile .shp = spatial data (shape geometry) .shx= spatial data index .dbf= attribute data - เก็บเป็นแฟ้มข้อมูล Project ชื่อไฟล์.apr