สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 2 จังหวัดพัทลุง สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน กระทรวงสาธารณสุข รอบที่ 2 จังหวัดพัทลุง คณะที่ 1 การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย และระบบควบคุมโรค
กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย
ข้อชื่นชม มีการทำงานเชิงรุกในคลินิก NCD อย่างต่อเนื่องมีการให้คำปรึกษาและ คุมกำเนิดให้กับหญิงที่มีภาวะเสี่ยง จำนวนหญิงอายุ 15-44 ปี คลินิก NCD เป็น DM 945 ราย HT 785 ราย ในรายทีจะตั้งครรภ์มีการดูแลร่วมกันระหว่าง คลินิก NCD ไปยัง คลินิกANC
อัตราส่วนการตายมารดา <15:แสนLB อัตราภาวะโลหิตจาง < 10 % การตายของมารดา ปี 58 มารดาตาย 2 ราย จาก PPH , Embolism ปี 59 ไม่มีมารดาตาย ภาวะโลหิตจาง เกินเป้าหมาย 15.8 ซีด 1 สูงสุด อำเภอปากพะยูน ร้อยละ 20.09 กงหราและอำเภอศรีนครินทร์ ร้อยละ18.60 น้อยที่สุด คืออำเภอเขาชัยสน ร้อยละ 8.48 ซีด 3หมาย ร้อยละ 15.39 เกินเป้าหมาย สูงสุด อำเภอเมือง 37.29 อำเภอเขาชัยสน ร้อยละ13.19 และอำเภอตะโหมด ร้อยละ 10.19
Near miss PPH ร้อยละ 2.32 Near miss PIH ร้อยละ 4.68 ( 55/ 2,368 ราย ) ( 111/2,368 ราย ) เน้น ลดอัตราการเกิด PPH และ PIH ร้อยละ 50 มารดาคลอด ทั้งหมด 2,368 ราย PPH 55 ราย ( 2.32 %) PPHc Shock 3 ราย ( 5.45%) จาก C/S c Hyst. 2 ราย( 3.63%) สาเหตุจาก - Placenta previa c C/S 1 ราย , 2. ฉีกขาดของเส้นเลือด 1 ราย PIH 111 ราย ( 4.68 %) Mild 57 ราย severe 52 ราย Eclampsia 2 ราย (ชักหลังคลอด ) 5
โอกาสในการพัฒนา ประเด็น โอกาสในการพัฒนา - หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะเสี่ยง และ case near miss จาก PPH ควรจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ case near miss สร้างสถานการณ์จำลอง ฝึกทีมเพื่อช่วยเหลือและแก้ไขภาวะวิกฤตฉุกเฉิน ระหว่างทีมงานในหน่วยงานและสหวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง - การติดตามเยี่ยมหญิงหลังคลอด High Risk -ควรปรับข้อมูลในการเยี่ยมติดตามหญิงหลังคลอดที่มีภาวะเสี่ยงในชุมชน ให้ครบ 3 ครั้ง
เด็กปฐมวัย
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (เป้าหมาย < ร้อยละ 7) ที่มา: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขต 12
ทารกแรกเกิดมีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม (เป้าหมาย < ร้อยละ 7) ที่มา: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
ภาวะขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด (เป้าหมาย < 25: 1,000) ที่มา: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดในเขต 12
ภาวะขาดออกซิเจนในเด็กแรกเกิด (เป้าหมาย < 25 : 1,000) ที่มา: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
เด็กแรกเกิด - 6 เดือน กินนมแม่ (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 50) เด็กแรกเกิด - 6 เดือน กินนมแม่ (เป้าหมาย ≥ ร้อยละ 50) ที่มา: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
ผลการรณรงค์ตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย เขต 12 และ จ. พัทลุง ( 4 - 8 ก.ค.59) เขต 12 พัทลุง ความครอบคลุม 92.39 (18,771/20,318,) 93.67 (1,732/1,849) พัฒนาการสมวัย 75.72 (14,213/18,771) 62.12 (1,732 ,1076) สงสัยล่าช้า 24.01 (4,506/18,771) 37.53 (1,732 , 650) ได้รับการติดตาม 25.28 (1,139/4,506) 39.69 (258/650) -สมวัย 94.91 (1,081/1,139) 38.00 (247/650) -ล่าช้า 5.09 (58/1,139) 1.69 (11 /650) ข้อมูลจาก HDC (10 ส.ค.59 : 17.00 น.)
ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ความครอบคลุม 96.39 (8,384/8,697 คน) ผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย จ.พัทลุง ตุลาคม – มิถุนายน 2559 ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ความครอบคลุม 96.39 (8,384/8,697 คน) สงสัยล่าช้า 15.30 (1,283/8,384 คน) ได้รับการติดตามภายใน1 เดือน 99.30 (1,274/1,283) คน พัฒนาการล่าช้าหลังกระตุ้น 1 เดือน 55 คน 0.66 ของเด็กที่ได้รับการตรวจ 4.29 ของเด็กที่พบสงสัยล่าช้า 4.32 ของเด็กที่ได้รับการติดตาม 4.29 ของเด็กที่พบสงสัยล่าช้า พัฒนาการสมวัยทั้งหมด = 7,101+1,219=8,320 /8384 = 99.23
ผลการตรวจคัดกรองพัฒนาการเด็กปฐมวัย จ.พัทลุง ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) ตุลาคม – มิถุนายน 2559 ผลการดำเนินงาน (ร้อยละ) สรุปเด็กมีพัฒนาการสมวัยของเด็กที่ได้รับการตรวจทั้งหมด 99.23 5.69 ของเด็กที่พบสงสัยล่าช้า พัฒนาการสมวัยทั้งหมด = 19,203+1,710=20,913 (97.25)
เด็กมีพัฒนาการล่าช้า 55 คน ร้อยละ 0.66 ของเด็กที่ได้รับการตรวจ เด็กมีพัฒนาการล่าช้า 55 คน ร้อยละ 0.66 ของเด็กที่ได้รับการตรวจ ร้อยละ 4.29 ของเด็กที่พบสงสัยล่าช้า จำแนกเป็น กระตุ้นด้วย TEDA 4i พัฒนาการสมวัย 23 คน สงสัยออทิสติก 4 คน พัฒนาการล่าช้าส่งโรงเรียนพิเศษ 2 คน อยู่ในระหว่างการกระตุ้น 21 คน พัฒนาการล่าช้า ไม่มาตามนัด 5 คน
การเจริญเติบโต ในเด็กปฐมวัย การเจริญเติบโต ในเด็กปฐมวัย รายละเอียด ร้อยละ เด็กปฐมวัยมีการเจริญเติบโตสูงดี รูปร่างสมส่วน (เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65) เตี้ย และ ค่อนข้างเตี้ย ผอม และค่อนข้างผอม อ้วน และ ค่อนข้างอ้วน 66.74 19.94 10.82 9.68
ภาวะโภชนาการ เด็ก 0 – 72 เดือน : สูงดี สมส่วน (เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 ) ที่มา: สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
อัตราโลหิตจางและฟันผุในเด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง อัตราโลหิตจางและฟันผุในเด็กปฐมวัย จังหวัดพัทลุง รายละเอียด ร้อยละ เด็ก 6-12 เดือนได้รับการเจาะ HCT 69.98 เด็ก 6-9 เดือนมีภาวะโลหิตจาง(HCT <33%) 12.12 เด็ก 3 ปีฟันผุ *(เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 52) 52.5 ข้อมูลจากสสจ. พัทลุง : ตุลาคม 2558 – มิถุนายน 2559 * ข้อมูลปี 2558
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน โรคมือ เท้า ปาก กลุ่มอายุ 0-4 ปี จำแนกรายจังหวัด พื้นที่เขต 12 ปี พ.ศ. 2559 ที่มา : ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุข 7 จังหวัด พื้นที่เขต 12
อัตราป่วยต่อประชากรแสนคน โรคมือ เท้า ปาก กลุ่มอายุ 0-4 ปี จำแนกรายอำเภอ จังหวัดพัทลุง พ.ศ. 2559 ที่มา : ข้อมูลจากสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพัทลุง
ความครอบคลุมของการรับวัคซีนพื้นฐานเด็กอายุครบ 1 ปี จังหวัดพัทลุง งวดที่ 3/59 ร้อยละ ที่มา จากข้อมูล HDC 9 ส.ค. 59
ความครอบคลุมการให้บริการวัคซีน IPV จำแนกตามอำเภอ งวดที่ 3/2559 ร้อยละ ที่มา จากข้อมูล HDC 26 ก.ค. 59
โอกาสพัฒนา สิ่งที่พบ โอกาสพัฒนา 1. จนท.ติดตามเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้าร้อยละ (ติดตามแต่ไม่ได้บันทีกข้อมูล) และบันทึกข้อมูลวัคซีนไม่เป็นปัจจุบัน เร่งรัดการบันทึกข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน 2. ไม่มี จุดศูนย์รวมข้อมูลของเด็กทีมีพัฒนาการล่าช้า ที่ส่งต่อจาก รพ.สต. และ รพช.ต่างๆ จัดทำศูนย์รวม และทะเบียน เด็กที่มีพัฒนาการล่าช้า โอกาสการพัฒนา (ต่อ) ควรมีการตรวจ Nuro Sign ในเด็กกลุ่มเสี่ยง ก่อน Dischange ส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรม TEDA 4i (อ.วังวิเศษ อ.กันตัง อ.รัษฎา อ.หาดสำราญ) พัฒนาคุณภาพและความครอบคลุมบริการส่งเสริมป้องกันร่วมกับ การเยี่ยมบ้านเด็กกลุ่มเสี่ยงโดยนสค./อสม.เพื่อเสริมสร้าง Self care (ทันต) เร่งรัดการให้วัคซีน และ การบันทึกข้อมูลของอำเภอวังวิเศษ เน้นให้ความรู้การเลี้ยงดูบุตรในโรงเรียนพ่อแม่
โอกาสพัฒนา (ต่อ) สิ่งที่พบ โอกาสพัฒนา 3. ไม่มีการตรวจ Neuro sign ในเด็กกลุ่มเสี่ยง จัดให้มีการตรวจโดย แพทย์ก่อน Discharge 4. การจ่ายยาเสริมธาตุเหล็กไม่ครอบคลุมเด็ก 6 เดือนถึง 5 ปีทุกราย สนับสนุนให้เด็กได้รับยาเสริมธาตุเหล็ก (weekly Dose) เพื่อป้องกันภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก (อาจใช้การจ่ายร่วมกันใน ศพด. เพื่อประหยัดยา) โอกาสการพัฒนา (ต่อ) ควรมีการตรวจ Nuro Sign ในเด็กกลุ่มเสี่ยง ก่อน Dischange ส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรม TEDA 4i (อ.วังวิเศษ อ.กันตัง อ.รัษฎา อ.หาดสำราญ) พัฒนาคุณภาพและความครอบคลุมบริการส่งเสริมป้องกันร่วมกับ การเยี่ยมบ้านเด็กกลุ่มเสี่ยงโดยนสค./อสม.เพื่อเสริมสร้าง Self care (ทันต) เร่งรัดการให้วัคซีน และ การบันทึกข้อมูลของอำเภอวังวิเศษ เน้นให้ความรู้การเลี้ยงดูบุตรในโรงเรียนพ่อแม่
โอกาสพัฒนา (ต่อ) สิ่งที่พบ โอกาสพัฒนา 5. เด็กมีการเจริญเติบโต -เตี้ยและ ค่อนข้างเตี้ย ร้อยละ 19.94 ผอมและ ค่อนข้างผอม ร้อยละ 10.82 อ้วนและค่อนข้างอ้วน ร้อยละ 9.68 สุ่มติดตามการเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของอสม. และ ผดด. ให้ถูกต้อง คืนข้อมูลให้ชุมชน ร่วมกัน แก้ปัญหา ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือให้ได้มาตรฐาน ทั้งใน สถานบริการ อสม และในศพด. โอกาสการพัฒนา (ต่อ) ควรมีการตรวจ Nuro Sign ในเด็กกลุ่มเสี่ยง ก่อน Dischange ส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรม TEDA 4i (อ.วังวิเศษ อ.กันตัง อ.รัษฎา อ.หาดสำราญ) พัฒนาคุณภาพและความครอบคลุมบริการส่งเสริมป้องกันร่วมกับ การเยี่ยมบ้านเด็กกลุ่มเสี่ยงโดยนสค./อสม.เพื่อเสริมสร้าง Self care (ทันต) เร่งรัดการให้วัคซีน และ การบันทึกข้อมูลของอำเภอวังวิเศษ เน้นให้ความรู้การเลี้ยงดูบุตรในโรงเรียนพ่อแม่
โอกาสพัฒนา (ต่อ) สิ่งที่พบ โอกาสพัฒนา 6. เร่งรัดความครอบคลุมการให้บริการวัคซีน IPV ให้ได้ร้อยละ 90 1.ตรวจสอบ ติดตามกลุ่มเป้าหมายและลงบันทึกให้ครบถ้วน 7.กรณีเด็กไม่มารับบริการตามช่วงเวลา 2.ขอให้เพิ่มการประชาสัมพันธ์และติดตามเด็กให้มารับตามกำหนด โอกาสการพัฒนา (ต่อ) ควรมีการตรวจ Nuro Sign ในเด็กกลุ่มเสี่ยง ก่อน Dischange ส่งบุคลากรเข้าร่วมอบรม TEDA 4i (อ.วังวิเศษ อ.กันตัง อ.รัษฎา อ.หาดสำราญ) พัฒนาคุณภาพและความครอบคลุมบริการส่งเสริมป้องกันร่วมกับ การเยี่ยมบ้านเด็กกลุ่มเสี่ยงโดยนสค./อสม.เพื่อเสริมสร้าง Self care (ทันต) เร่งรัดการให้วัคซีน และ การบันทึกข้อมูลของอำเภอวังวิเศษ เน้นให้ความรู้การเลี้ยงดูบุตรในโรงเรียนพ่อแม่
กลุ่มวัยเรียน
สถานการณ์ภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียน ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ร้อยละ 9.33 (ไม่เกินร้อยละ 10) ภาวะค่อนข้างเตี้ยและเตี้ย ร้อยละ 9.08 ภาวะค่อนข้างผอมและผอม ร้อยละ 7.15 สูงดีสมส่วนร้อยละ 71.72 (ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70) ฟันผุเด็กอายุ 12 ปี ร้อยละ 45.41 (ไม่เกินร้อยละ 52) การดำเนินงาน ขับเคลื่อนการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ จัดอบรมนักจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher: SKC) ให้แก่เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ครู ในพื้นที่เป้าหมาย เพื่อแก้ปัญหาเด็กอ้วน ที่มา: ข้อมูลจากระบบรายงานกิจกรรมสาธารณสุข สสจ.พัทลุง ณ วันที่ 9 ส.ค. 59
สถานการณ์ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ในเด็กวัยเรียน ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2559 จากระบบรายงาน HDC พัทลุงมีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน เฉลี่ยร้อยละ 15.13 ซึ่งสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับเขตและประเทศ ที่มา: ข้อมูลจากระบบ HDC ณ วันที่ 9 สิงหาคม 2559
ภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนในเด็กวัยเรียน แยกรายอำเภอ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา2559 เป้าหมายไม่เกินร้อยละ 10 จากข้อมูลจังหวัดรายงานพบว่ามีเพียง 3 อำเภอที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนเกินร้อยละ 10 คือ อำเภอเมือง, ควนขนุน และป่าพะยอม และในภาพรวมจังหวัด เฉลี่ยร้อยละ 9.39 แต่เมื่อพิจารณาข้อมูลจากระบบ HDC พบว่ามีทุกอำเภอที่มีภาวะเริ่มอ้วนและอ้วนเกินร้อยละ 10 ภาพรวมจังหวัดร้อยละ 15.13 ข้อสังเกต มีเพียงอำเภอเดียวที่ข้อมูลมีความสอดคล้องกันระหว่าง 2 ระบบรายงาน คืออำเภอป่าพะยอม
ความก้าวหน้าในการดำเนินงานตามPA ข้อเสนอแนะรอบที่ 1 ผลการดำเนินงาน การอบรมการจัดการน้ำหนักเด็กวัยเรียน (Smart Kids Coacher) ได้ดำเนินการจัดอบรมให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและครูผู้รับผิดชอบในโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการลดเวลาเรียน เพิ่มเวลา ในขั้นตอนต่อไปเสนอให้จังหวัดรวบรวมข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบผลสำเร็จก่อนและหลังการดำเนินงาน การคัดกรองเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign ส่งต่อระบบ Service plan และคลินิก DPAC อยู่ระหว่างการติดตามและรวบรวมข้อมูลในพื้นที่ การคัดกรองสายตานักเรียนโดยครูประจำชั้นป.๑ภายใต้โครงการเด็กไทยสายตาดี ได้มีจัดอบรมเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในพื้นที่ ครูประจำชั้นตรวจคัดกรองสายตานักเรียน ได้มีการคัดกรองนักเรียนชั้นป.๑ อยู่ระหว่างการส่งต่อนักเรียนที่มีปัญหาสายตาผิดปกติเพื่อให้จักษุแพทย์วินิจฉัยยืนยันเพื่อแก้ไข/รักษา
BEST PRACTICE/ชื่นชม - โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้สามารถจัดการอาหาร โภชนาการ สุขภาพได้แก่ โรงเรียนบ้านเกาะเสือ อำเภอปากพะยูน - จังหวัดพัทลุงมีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรที่รับผิดชอบงานส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน (เจ้าหน้าที่ส.ธ., ครู) อย่างต่อเนื่อง โอกาสในการพัฒนา 1.เชื่อมโยงระบบส่งต่อเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยงที่มี Obesity sign กับระบบ Service plan คลินิก DPAC 2.ขยายผลการดำเนินงาน SKC ให้ครอบคลุม โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีภาวะอ้วนเกิน ร้อยละ 10 3.สร้างความตระหนักให้กับผู้ปกครอง ชุมชน ให้เกิดการมีส่วนร่วมในดูแล สุขภาพเด็ก ควรมีการคืนข้อมูลให้กับผู้ปกครอง เพื่อความร่วมมือในการดูแล เด็กต่อเนื่อง ควร set ระบบส่งต่อระหว่างเด็กอ้วนกลุ่มเสี่ยง ที่มี obesity sign (ประเมินแล้ว > +3 S.D.) และมีการลงทะเบียนเด็กอ้วน กลุ่มเสี่ยงอย่างเป็นระบบ และเข้าถึง ข้อมูลได้ง่าย เพื่อการติดตามและรักษา ต่อเนื่อง Obesity sign : รอยปื้นดำที่รอบคอและรักแร้ สังเกตนักเรียนนั่งหลับเวลาเรียน สอบถามผู้ปกครองเรื่องการนอนกรน/หยุดหายใจขณะหลับ สอบถามประวัติการเจ็บป่วยครอบครัว (เบาหวาน,ความดัน) รร.บ้านเกาะเสือ เป็นแหล่งเรียนรู้เรื่องการดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพที่สามารถจัดการอาหาร โภชนาการ และสุขภาพได้อย่างคร
อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6 อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี ไม่เกิน 6.5 ต่อประชากรเด็กต่ำกว่า 15 ปีแสนคน
อัตราเสียชีวิตจากการจมน้ำต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปี แสนคน จังหวัดพัทลุง พ.ศ. 2554-2559 อัตราต่อแสน ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
พื้นที่เสี่ยงมาก (Base line 2557) (อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำต่อประชากรเด็กอายุต่ำกว่า 15 ปีแสนคน ≥ 7.5) เสียชีวิต พ.ศ. 2559 (ม.ค.-ก.ค.59) 1 ราย ในเดือนมีนาคม 2559 (อำเภอเมืองพัทลุง) จำนวนทีมผู้ก่อการดี เป้าหมาย 6 ทีม สมัคร 8 ทีม ป่าบอน กงหรา เขาชัยสน บางแก้ว ควนขนุน เมืองพัทลุง ศรีนครินทร์ ตะโหมด มีการดำเนินงาน 6 องค์ประกอบของผู้ก่อการดีระดับทองแดง ผลงาน ผ่านเกณฑ์ระดับทองแดง 2 ทีม คือ ป่าบอน และกงหรา สมัครระดับเงิน 1 ทีม คือ เขาชัยสน
ข้อเสนอแนะ ในปี 2560 เสนอแนะให้อำเภอบางแก้ว ควนขนุน เมืองพัทลุง ศรีนครินทร์ ตะโหมด ดำเนินการให้ผ่านทีมก่อการดีระดับทองแดง
ตรวจราชการและนิเทศงาน รอบ 2 ปี 2559 กลุ่มวัยรุ่น จ.พัทลุง
สถานการณ์การตั้งครรภ์วัยรุ่น อัตราการคลอดวัยรุ่นเขต12 ปี 2559 [เกณฑ์ 50 ต่อปชก.หญิง 15-19 ปี พันคน] <50 ต่อพัน อัตรา 13.70 5.36 ปี 2558 ระดับเขตฯ12 พบ อัตรา 36.2 ต่อ 1,000
สถานการณ์การตั้งครรภ์ซ้ำ ร้อยละตั้งครรภ์ซ้ำในวัยรุ่น เขต 12 ปี 2559 [ไม่เกินร้อยละ 10] ร้อยละ 23.26 11.18 <10 ปี 2558 ระดับประเทศ พบ ร้อยละ 11.97 (ข้อมูล HDC) ระดับเขตฯ12 พบ ร้อยละ 17.56
Good Practice 1. การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจกับวัยรุ่นนอกระบบ(กศน. 6,929คน) ครอบคลุม 65 ตำบล งบ PPA 2. การ motivate เว้นช่วงระยะการมีบุตรโดยการคุมกำเนิดแบบกึ่งถาวร (157/331 = 47.43%) และการเยี่ยมบ้าน (HHC)ให้ความรู้หญิงวัยเจริญพันธ์กลุ่มเสี่ยงและคู่สมรสรายใหม่
โอกาสพัฒนา สิ่งที่พบ โอกาสพัฒนา ผ่านเกณฑ์อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์ 5/11 อำเภอ (กำลังรอประเมินอำเภออนามัยเจริญพันธ์ 1 แห่ง อ.ควนขนุน และ YFHS 4 แห่ง รพ.ป่าพะยอม ตะโหมด ศรีนครินทร์ เขาชัยสน) การผลักดัน/ติดตามการดำเนินงานให้ผ่านเกณฑ์อนามัยการเจริญพันธุ์ และYFHS เด็กที่คลอดจากแม่วัยรุ่นมีน้ำหนักแรกคลอดน้อยกว่า 2,500 กรัม (LBW) จำนวน 46 คน ร้อยละ 13.90 ติดตามดูแลทารกอย่างใกล้ชิด มีกระบวนการดำเนินงานที่ดีและชัดเจนใน Setting โรงพยาบาล โรงเรียน และชุมชน แต่ขาดการเชื่อมโยงการบูรณาการงานร่วมกัน การคืนข้อมูลให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง การบูรณาการเชื่อมโยงการทำงานร่วมกัน
การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในวัยรุ่น
ความชุกการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ กลุ่มอายุ 15-19 ปี จังหวัดพัทลุง รายการตัวชี้วัด ผลการเฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง: BSS ปี 2558 ปี 2559 ผลต่าง ความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์ ในประชากร อายุ 15-19 ปี ( ไม่เพิ่มขึ้น จากผลการเฝ้าระวังพฤติกรรม เสี่ยงbehavioral surveillance surveys : BSS ในปี 2558) ร้อยละ 14.81 กำลัง ดำเนินการ วิเคราะห์ ข้อมูล -
การบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในเยาวชน 15-19 ปี จ.พัทลุง ผลการสุ่มสำรวจโดย สคร.12 สงขลา ปี 2559 (ม.ค. 59) ●อายุน้อยที่สุดที่เริ่มดื่ม 11 ปี ● เครื่องดื่มที่ดื่มครั้งแรก : เบียร์ ( 36%) ●ซื้อจากร้านขายของชำ(52%) ●ดื่มกับเพื่อน ( 74 %) ซื้อจาก ร้านขายของชำ 49.61 , รองลงมาร้านสะดวกซื้อ 45.83, ห้างสรรพสินค้า 2.78 อื่นๆ 2.78 กลุ่มตัวอย่าง :100 คน นักเรียนระดับมัธยม /นักศึกษาระดับอาชีวศึกษา/วิทยาลัยเทคนิค
การบริโภคยาสูบในเยาวชน 15-19 ปี จ.พัทลุง การบริโภคยาสูบในเยาวชน 15-19 ปี จ.พัทลุง ผลการสุ่มสำรวจโดย สคร.12 สงขลา (ม.ค. 59) * อายุน้อยที่สุดที่เริ่มสูบ 12 ปี * ได้จากเพื่อน (55%) * ซื้อจากร้านขายของชำ( 65% ) * เฉลี่ยสูบ 3 มวนต่อวัน * ความคิดที่จะเลิกสูบ 70 % กลุ่มตัวอย่าง :100 คน ... นักเรียนระดับมัธยม /นักศึกษาระดับอาชีวศึกษา/วิทยาลัยเทคนิค
ข้อเสนอแนะ ควรเน้นการดำเนินการตามมาตรการบังคับใช้กฎหมายอย่างเคร่งครัด (เน้นในร้านขายของชำ)
กลุ่มผู้สูงอายุและผู้พิการ
กลุ่มวัยสูงอายุและผู้ พิการจังหวัดพัทลุง
ที่มา ๑.ประเทศ รายงานสำรวจประชากรสูงอายุประเทศไทย ๒๕๕๗ ๒.เขต HDC –Report ๒๕๕๙ ณ 1 สค.59 ๓.จังหวัด รายงานสรุปผลการดำเนินงานเสนอผู้ตรวจ ฯ รอบ ๒ ปี ๒๕๕๙
ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ 1.การอบรม care giver ไม่ครบทุกพื้นที่ (เทศบาลตำบลป่าบอน) 2.จัดทำcare plan /care conference บางพื้นที่ไม่เป็นไปตามแผน (ควนขนุน,ปากพะยูน,เขาย่า) - เร่งรัดการจัดอบรม และทำ care plan /care conference แล้วเสร็จเดือนสิงหาคม 2559 - นำเสนอ care planที่ผ่าน care conference ต่ออนุกรรมการกองทุน LTC เดือนกันยายน 2559 3.ระบบข้อมูล - การรายงานผลการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านติดเตียงไม่ต่อเนื่อง - กำหนดรายงานผลทุกไตรมาส 4.ผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงได้รับการดูแลป้องกันภาวะแทรกซ้อนไม่ต่อเนื่อง - จัดระบบเฝ้าระวังผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนโดยการมีส่วนร่วมของครอบครัว
ประเด็นปัญหา ข้อเสนอแนะ 5.คลินิกผู้สูงอายุ รพช.บริการไม่ผ่านเกณฑ์คลีนิกผู้สูงอายุคุณภาพ - พัฒนาคลินิกผู้สูงอายุดำเนินการเต็มรูปแบบและเชื่อมโยงสู่ชุมชน 6.ฐานข้อมูลผู้พิการไม่สอดคล้องระหว่างสาธารณสุข พมจ. และท้องถิ่น - พัฒนาระบบฐานข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ตรงกัน - จำแนกประเภทความพิการตามกลุ่มอายุ - เชื่อมโยงระบบการส่งต่อดูแลต่อเนื่องสู่ชุมชนโดย สสอ.เป็น Data Center 7.บุคลากรคลินิกผู้พิการขาดทักษะการสื่อสารด้วยภาษามือกับผู้พิการการได้ยิน - พัฒนาบุคลากรคลินิกผู้พิการให้มีทักษะการสื่อสารภาษามือโดยการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายผู้พิการ 8.นักกายภาพมีน้อยที่ต้องปฏิบัติงานทั้งเชิงรับในหน่วยบริการ และเชิงรุกในชุมชน - บูรณาการดำเนินงานกับแพทย์แผนไทย
วัยทำงาน
อัตราตายโรคหัวใจขาดเลือด จังหวัดพัทลุง/เขต12/ประเทศ แหล่งข้อมูล : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข หมายเหตุ : ยังไม่มีข้อมูลปี 2559
สรุปผลการดำเนินงาน ผลการดำเนินงาน เป้าหมาย (ร้อยละ) ผลงาน 9 เดือน (ร้อยละ) Chronic Link HDC - ผู้ป่วย DM ควบคุมระดับน้ำตาลได้ดี 40 40.36 29.12 -ผู้ป่วย HT ควบคุมระดับ ความดันโลหิตได้ดี 50 48.95 28.79 - ผู้ป่วย DM/HT ที่มีความเสี่ยงสูงต่อ CVD (≥ 30%) ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น ร้อยละ 73.61 - ผู้ป่วย DM/HT ได้รับการประเมิน CVD risk 90 97.50 - - ผู้ป่วย DM/HT ได้รับการคัดกรอง CKD 65.77 - คลินิก NCD คุณภาพ ใน รพศ. รพท. รพช. ผ่านเกณฑ์การประเมิน 100 ร้อยละ 100 ( 11 โรงพยาบาล ) ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
ปัญหาจากการติดตาม รอบที่ 1 ผลการดำเนินงาน 1. ภาวะอ้วนลงพุงและค่าดัชนีมวลกายมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น - จังหวัดได้ดำเนินการชี้แจงให้ผู้รับผิดชอบงาน DPAC ระดับอำเภอ/โรงพยาบาล และมีแผนดำเนินการในปี 2560
ปัญหาจากการติดตามรอบที่ 1 ผลการดำเนินงาน ข้อเสนอแนะ 2. การบริโภคยาสูบสูงกว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ - จังหวัดดำเนินการตรวจเตือน เฝ้าระวังการละเมิดกฎหมาย , ประชาสัมพันธ์ , ประชุมผู้รับผิดชอบงานระดับอำเภอ - ควรเพิ่มประเด็นการเลิกบุหรี่ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายทั้งใน เชิงรุกและเชิงรับ สำหรับการเลิกบุหรี่ในสถานบริการสาธารณสุข ควรมีการเชื่อมโยงข้อมูลและระบบบริการให้ครอบคลุมในหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ข้อชื่นชม ข้อเสนอแนะ อำเภอกงหรามีผลงานเด่นในด้านการดำเนินงานโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง - ศักยภาพของอำเภอ กงหรา สามารถจัดเป็นศูนย์เรียนรู้ การจัดการโรคไม่ติดต่อเรื้อรังระดับเขต สำหรับแพทย์และสหวิชาชีพ ซึ่งน่าจะได้รับการพิจารณาจากเขตสุขภาพที่ 12
อัตราการตายจากอุบัติเหตุทางถนน เขตสุขภาพที่ 12 ปีงบประมาณ 2554-2559 (6 เดือน) อัตราตายต่อแสนประชากร ปี 60 (14 ต่อแสนประชากร) ปี 59 (16 ต่อแสนประชากร) แหล่งข้อมูล: รายงานการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ
จำนวนการตายจากอุบัติเหตุทางถนน จังหวัดพัทลุง เปรียบเทียบไตรมาส 1, 2 ระหว่างปีงบประมาณ 58-59 ปี 59 เป้าหมายไม่เกิน 83 ราย จำนวน (ราย) 8 เดือน 83 ราย ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 รวม 6 เดือน แหล่งข้อมูล: รายงานการบาดเจ็บ 19 สาเหตุ
ร้อยละพฤติกรรมการสวมหมวกนิรภัย จังหวัดพัทลุง แหล่งข้อมูล ผู้ขับขี่ ผู้โดยสาร สวม ไม่สวม การสำรวจอัตราการสวมหมวก พ.ศ.2557 (มูลนิธิไทยโรดส์และเครือข่ายระวังสถานการณ์ความปลอดภัยทางถนน) 32.03 67.97 4.20 95.80 ระบบเฝ้าระวังปีใหม่ 59 (7 วัน) (สำนักสาธารณสุขฉุกเฉิน) 13.64 86.36 6.25 93.75 ระบบเฝ้าระวังสงกรานต์ 59 (7 วัน) 16.46 83.54 4.00 96.00 การสำรวจอัตราการสวมหมวก 59 (พื้นที่สำรวจ) 54.70 45.30 6.64 93.36
ประเด็นติดตามงาน รอบที่ 1 ติดตามรอบที่ 2 การรายงานการเสียชีวิตจากการจราจร ทางถนน (One page) ไม่ครบถ้วน จังหวัดกำลังเร่งรัดให้มีความครบถ้วน มากขึ้น เพิ่มความเข้มข้นในการสนับสนุนข้อมูล การบาดเจ็บและเสียชีวิตจากการ บาดเจ็บทางถนนให้เกิดการป้องกันและ แก้ไข - มีการผลักดันการสอบสวนสาเหตุการบาดเจ็บใน ศูนย์ความปลอดภัยทางถนนระดับอำเภอ (ศปถ. อำเภอ) อ.ควนขนุน ป่าบอน ศรีนครินทร์ เขาชัย สน โดยลงสอบสวนร่วมกับศูนย์ความปลอดภัย ทางถนน (ศปถ.จังหวัด) - มีการแก้ไขจุดเสี่ยงหลายจุดอย่างเป็นรูปธรรม เช่น ยูเทิร์นครัวนายพราน อ.ควนขนุน มีการรื้อ ถอนเพิงขายอาหาร/ของฝากริมถนน สิ่งสนับสนุนจาก สคร 12 สงขลา ผลักดันให้มีการสอบสวนตามเกณฑ์ และสนับสนุนการเขียนรายงาน
ระบบควบคุมโรค
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง พ. ศ สถานการณ์โรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง พ.ศ. 2559 (1 มกราคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.2559)
สถานการณ์โรคไข้เลือดออก 1 มกราคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.2559 สถานการณ์โรคไข้เลือดออก 1 มกราคม – 9 สิงหาคม พ.ศ.2559 ป่วย อัตราป่วย ต่อประชากรแสนคน ตาย อัตราป่วยตาย ลำดับประเทศ ประเทศไทย 28,586 43.69 22 0.08 ภาคใต้ 4,496 48.61 6 0.13 1 เขต 12 2,615 53.74 5 0.19 3 สงขลา นราธิวาส พัทลุง สตูล ปัตตานี ตรัง ยะลา 992 463 268 155 324 260 153 70.56 59.44 51.38 49.32 46.95 40.64 29.71 2 0.20 0.22 0.00 0.65 0.38 11 16 26 28 33 47
แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง พ. ศ แนวโน้มการเกิดโรคไข้เลือดออก จังหวัดพัทลุง พ.ศ. 2559 เปรียบเทียบค่ามัธยฐาน 5 ปี อัตรา : แสนประชากร แหล่งข้อมูล : สำนักระบาดวิทยา 9 ส.ค. 59
อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกรายอำเภอ จังหวัดพัทลุง พ.ศ. 2559 อัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกรายอำเภอ จังหวัดพัทลุง พ.ศ. 2559 ลำดับ อัตราป่วยสะสม ม.ค. –ก.ค. อัตราป่วย กรกฎาคม 59 1 ตะโหมด 171.30 98.34 2 ป่าบอน 82.43 52.84 3 บางแก้ว 65.78 23.22 4 กงหรา 58.61 ศรีนครินทร์ 22.52 5 เมืองพัทลุง 46.48 22.33 6 ควนขนุน 45.21 ปากพะยูน 13.70 7 41.29 ศรีบรรพต 11.19 8 27.97 10.71 9 ป่าพะยอม 25.67 9.13 10 21.53 เขาชัยสน 6.71 11 15.65 0.00
อำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญของพื้นที่ได้ (โรคไข้เลือดออก) เป้าหมาย :ร้อยละ 50 ของอำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อที่สำคัญของพื้นที่ได้ (ไข้เลือดออก) ร้อยละ (ข้อมูล ณ วันที่ 30 มิ.ย. 59)
การประเมินผลการควบคุมโรคไข้เลือดออกเชิงคุณภาพ ในพื้นที่ ที่มีการระบาดของโรคไข้เลือดออก ประเมินครั้งที่ 2/2559 ระหว่างวันที่ 2 - 3 สิงหาคม 2559
วิธีการประเมิน คัดเลือกอำเภอ ที่มีสถานการณ์ของโรคสูงสุด หรือ มีแนวโน้มที่จะเกิดการระบาดของไข้เลือดออก จังหวัดละ 1 อำเภอ คัดเลือก ผู้ป่วยไข้เลือดออก ที่มีการรายงาน ในช่วง 5 – 14 วัน นับถอยหลังจากวันที่ไปประเมิน สุ่มเลือก อำเภอละ 2 ราย ติดตามไปในพื้นที่ บ้านของผู้ป่วย และชุมชนที่ผู้ป่วยอาศัย เพื่อสอบถาม การดำเนินการควบคุมโรค หรือ บริการสาธารณสุขด้านการคุ้มครอง ป้องกันโรคที่ได้รับ สำรวจลูกน้ำยุงลาย ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ แจกยาทากันยุง และให้สุขศึกษาประชาสัมพันธ์ เรื่องการป้องกันไข้เลือดออก แก่ครอบครัวผู้ป่วย และครอบครัวรอบข้างบ้านผู้ป่วย
การประเมินผลการพ่นสารเคมี และค่าดัชนีลูกน้ำ จังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่ที่ บ้าน สำรวจ บ้านได้รับการพ่น ร้อยละที่ได้รับการพ่น(สำรวจ) การสำรวจลูกน้ำ ร้อยละของบ้านที่พบลูกน้ำยุงลาย ( HI ) บ้านพบ ภาชนะ สำรวจ พบ พัทลุง ตะโหมด คลองใหญ่ 9 27 100.00 6 135 7 22.22 กงหรา ชะรัด 5 3 24 4 60.00 ควนขนุน แพรกหา 2 0* 0.00 61 33.33 32 12.50 192 10 21.88 * ให้สเปรย์กระป๋องไปพ่นบ้านของผู้ป่วย ประเมินระหว่าง วันที่ 2 – 3 สิงหาคม 2559
ค่า HI ชุมชน จังหวัดพัทลุง เดือน ก.พ. – ก.ค. 59
ค่าดัชนีลูกน้ำ ในพื้นที่ชุมชน จังหวัดพัทลุง อำเภอ สถานที่ บ้าน HI Key Container สำรวจ พบ พัทลุง เมือง ชุมชนคูหาเหนือ 30 2 6.67 น้ำใช้, ยางรถยนต์เก่า ศรีบรรพต บ้านโห๊ะปราง 11 36.67 น้ำใช้, ภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว, ภาชนะอื่นๆ บางแก้ว บ้านหาดไข่เต่า 3 10.00 น้ำใช้ ตะโหมด บ้านคลองใหญ่ 6 20.00 น้ำใช้, ภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว ประเมินระหว่าง วันที่ 10 มิถุนายน – 22 กรกฎาคม 2559
ค่าดัชนีลูกน้ำ ในพื้นที่สาธารณะ จังหวัด อำเภอ สถานที่ ภาชนะ CI Key Container สำรวจ พบ พัทลุง บางแก้ว โรงพยาบาลบางแก้ว 25 0.00 - โรงเรียนหาดใข่เต่า 41 1 2.44 น้ำใช้ ศาสนสถานวัดควนโหมด 34 3 8.82 น้ำใช้, ภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว โรงแรมชมวิวรีสอร์ส 7 - โรงงานทรัพย์พาราวู้ด 2.94 ภาชนะที่ไม่ใช้แล้ว ตะโหมด โรงพยาบาลตะโหมด 63 โรงเรียนบ้านคลองใหญ่ 32 2 6.25 น้ำใช้ , ภาชนะอื่นๆ ศาสนสถานวัดตะโหมด 52 5.77 น้ำใช้, แจกัน, จานรองกระถาง โรงแรมแมกไม้รีสอร์ท 18 โรงงานทำยางแผ่นบ้านคลองใหญ่ 15 6.67 ภาชนะไม่ใช้ประโยชน์ ประเมินระหว่าง วันที่ 4 – 22 กรกฎาคม 2559
ผลการประเมินประสิทธิภาพสารเคมีในพื้นที่ พื้นที่ที่สุ่มสารเคมี อัตรายุงตาย 24 ชั่วโมง (ร้อยละ) สารเคมีที่ใช้ (ชื่อทางการค้า) สารออกฤทธิ์ บริษัทผู้ผลิต อำเภอเมือง จังหวัดพัทลุง 97 เดลต้า 50 Deltamethrin 0.5% w/v บ. โฟร์ทเคม เทรดดิ้ง จำกัด อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 100 ซับมารีน Deltamethrin 2.0% w/v บริษัท เชอร์วู้ด เคมิคอล จำกัด (มหาชน) คีนอฟ 250 อีซี Permethrin 25% w/v EC บริษัท เคมเทรด จำกัด
ผลการประเมินประสิทธิภาพทรายกำจัดลูกน้ำในพื้นที่ พื้นที่ที่สุ่มสารเคมี อัตราลูกน้ำตาย 24 ชั่วโมง (ร้อยละ) ทรายกำจัดลูกน้ำที่ใช้ (ชื่อทางการค้า) สารออกฤทธิ์ บริษัทผู้ผลิต อำเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง 100 ทรายโฟร์ทเคม Temephos 1% W/W SG โฟร์ทเคม เทรดดิ้ง จำกัด
การทดสอบสเปรย์กระป๋อง วิธี Bio assay test จำนวน 27 ชื่อการค้า ผล ยุงลายตาย 100 % ทุกชื่อการค้า ทดสอบโดย ศูนย์อ้างอิงพาหะนำโรค กลุ่มปฏิบัติการควบคุมโรคในพื้นที่เฉพาะ สคร.ที่ 12 จ.สงขลา
ข้อเสนอแนะ ให้เปิดใช้ระบบบัญชาการเหตุการณ์ (ICS) ในตอนนี้เลย เนื่องจากผู้ป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น และ พบในหลายพื้นที่ เช่น ตะโหมด ป่าบอน ให้มีระบบกำกับ ติดตาม และประเมินผล สสอ. กำกับ ติดตามการปฏิบัติงานการพ่น เคมี ของ อปท. สสอ. และ รพ.สต. ประเมินผลลูกน้ำยุงลาย ( CI ) ในสถานที่สาธารณะ ได้แก่ โรงพยาบาล โรงเรียน โรงธรรม โรงแรม และโรงงาน KPI อำเภอ 1 อัตราป่วย ต้องไม่ติด 1 ใน 5 2จำนวนผู้ป่วยไม่เกินกว่า ปี 56 3 ไม่เกิด 2gen HI CI ไม่เกินเกณฑ์ ประเมินการควบคุม
ขอบคุณค่ะ