ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล “สืบสานพระราชปณิธาน เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาอย่าง ยั่งยืน” การประชุมวิชาการระดับชาติของนักเศรษฐศาสตร์ ครั้งที่ 11 ดร.ประสาร ไตรรัตน์วรกุล กรรมการมูลนิธิมั่นพัฒนา และอดีตผู้ว่าการธนาคารแห่งประเทศไทย 2 มิถุนายน 2560
การบรรยายแบ่งเป็น 3 ส่วน 1 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนา อย่างยั่งยืน ทำไมต้องมีการสืบสานพระราช ปณิธาน เศรษฐกิจพอเพียง? 2 การขับเคลื่อนงานสืบสาน พระราชปณิธานเศรษฐกิจ พอเพียง 3
เศรษฐกิจพอเพียง กับการพัฒนาอย่างยั่งยืน 1
การค้าเสรี
ยิ่งเศรษฐกิจเติบโตเท่าไร ผู้มีทุนมากกว่าก็ยิ่งได้เปรียบมากขึ้น Source : http://www.caef.org.uk/d138edtrl.html
ถนนการค้าถูกยึดโดย “รถบรรทุกตู้คอนเทนเนอร์” Source : https://www.youtube.com/watch?v=doxKYOBNiqE
ประเทศร่ำรวยและจนที่สุด ลักแซมเบิร์ก รายได้ 101,450 US$/หัว/ปี เฉลี่ย 280US$/วัน บุรุนดีรายได้ 277US$/หัว/ปี เฉลี่ยน้อยกว่า 1 US$ ต่อวัน Source : World Development Indicator 2016, World Bank.
คนยากจนระดับไม่มีอาหารเพียงพอ ในการประทังชีวิต Source : https://www.pinterest.com/pin/426645764672192294/ (แอฟริกา)
Source : https://transforminglifenow.wordpress.com/tag/poverty/
ความเหลื่อมล้ำภายในประเทศ Source : http://oxfamblogs.org/fp2p/where-has-the-global-movement-against-inequality-got-to-and-what-happens-next/ โดย Paul Smith, Panos (อินเดีย)
ปัญหาสิ่งแวดล้อม Source : มติชน 12 มกราคม 2560 คอลัมน์ “อดีต ปัจจุบัน และอนาคต สิ่งแวดล้อมไทย ไม่ได้ก้าวไกล อย่างที่คิด”
มลพิษทางอากาศคุกคามชีวิตมนุษย์มากขึ้น Global 17% 15% 18% 13% 37% Source : State of Global Air, 2017
Source : United Nations
ทรงอยากเห็นพสกนิกร “อยู่ดีกินดี มีสุขภาพที่ดี”
ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปยังถิ่นทุรกันดาร
ทรงมีหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ติดตามไปด้วย
“หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง” “ค่านิยมและ ทัศนคติที่ถูกต้อง” “พอเพียง” “หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง”
“... เศรษฐกิจพอเพียง เป็นเสมือน “รากฐาน” ของชีวิต รากฐานความมั่นคงของแผ่นดิน เปรียบเสมือน “เสาเข็ม” ที่ถูกตอกรองรับบ้านเรือนตัวอาคารไว้นั่นเอง ...”
Source : http://www. 502mediagroup
Source : http://hotmagazine
Source : http://nwnt. prd. go. th/centerweb/NewsEN/NewsDetail
ทำไมต้องมีการสืบสาน พระราชปณิธาน เศรษฐกิจพอเพียง? 2
มองกว้าง มองไกล มองลึกไปข้างใน มองอย่างไร?
มองเห็นการณ์ไกล มองลึกถึงแก่น
“เศรษฐกิจพอเพียงนี้. ถ้าทำได้ “เศษหนึ่งส่วนสี่” ของประเทศก็จะ “พอ” “เศรษฐกิจพอเพียงนี้ ... ถ้าทำได้ “เศษหนึ่งส่วนสี่” ของประเทศก็จะ “พอ” ... ไม่ได้แปลว่าเศษหนึ่งส่วนสี่ของพื้นที่ แต่ เศษหนึ่งส่วนสี่ของการกระทำ”
“การสร้างภูมิคุ้มกัน” “การแก้ปัญหา” ในภายหลัง สำคัญกว่า “การแก้ปัญหา” ในภายหลัง
ปัญหาเชิงโครงสร้างของประเทศ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะช่วยเอื้อให้การแก้ปัญหาเหล่านี้เป็นไปอย่างต่อเนื่อง
ศักยภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ 1 ศักยภาพการเติบโตทางเศรษฐกิจลดลง เน้นปริมาณมากกว่าคุณภาพ
ข้อมูลของ PISA ปี 2015 Source : PISA and Grophic by bangkok-post 20161219 “Thai education system fails to deliver”
ปัญหาความเหลื่อมล้ำของไทยสูงจนติดอันดับต้นๆ ของโลก 2 ปัญหาความเหลื่อมล้ำของไทยสูงจนติดอันดับต้นๆ ของโลก Source : CreditSuisse และ TDRI
3 ปัญหาทุจริตคอรัปชั่นอยู่ในขั้นรุนแรง ไทยอยู่อันดับที่ 101 จาก 176 ประเทศ คะแนนเท่า “ฟิลิปปินส์” และต่ำกว่า “อาร์เจนติน่า”
การขับเคลื่อนงานสืบสาน พระราชปณิธาน เศรษฐกิจพอเพียง 3
“ใครจะพูดก็พูดไป เราก็ฟังไป แต่อย่าเพิ่งเชื่อ” แม้ว่า “ผู้พูดควรเชื่อได้หรือผู้พูดนั้นเป็นครูของเรา”
ปฏิเวท – ปฏิบัติแล้วรู้สึกถึงผลดีจาก การปฏิบัตินั้น ปริยัติ - ศึกษาคำสอน ปฏิบัติ - ลงมือทำจริง ปฏิเวท – ปฏิบัติแล้วรู้สึกถึงผลดีจาก การปฏิบัตินั้น
เศรษฐกิจพอเพียง แม้จะเป็น “ศาสตร์ของพระราชา” แต่การสืบสานฯ ให้ก้าวหน้าอย่างต่อเนื่อง ต้องดำเนินการในหลายระดับ
สืบสานพระราชปณิธานเศรษฐกิจพอเพียง ท่องจำ พิจารณาด้วยเหตุผล ปฏิบัติ
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง “ความพอดี พอประมาณ ได้ดุลยภาพ” เศรษฐศาสตร์วิถีพุทธ เศรษฐศาสตร์สายกลาง สายกลาง “ความพอดี พอประมาณ ได้ดุลยภาพ”
“ความพอดี หรือทางสายกลาง” อยู่ที่ไหน? “ความพอดี” คือจุดที่คุณภาพชีวิตกับความพึงพอใจมาบรรจบกัน “กิจกรรมทางเศรษฐกิจ” เป็น “Means” หรือ “มรรคา” “Ends” อยู่ที่ “การพัฒนาคุณภาพชีวิตและพัฒนามนุษย์”
มองกว้าง มองไกล มองลึกให้ถึงแก่น
ทำงานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญในศาสตร์อื่น
“เมื่อได้ศึกษาก็อย่าเพิ่งสรุปว่าแนวคิดทฤษฎีหรือนโยบายเศรษฐกิจตามแบบตะวันตกจะดีไปทั้งหมด อย่าเพิ่งปักใจเชื่อโดยไม่ไตร่ตรอง”
มองแนวคิด/ทฤษฎีให้เหมือน “สิ่งมีชีวิต” มองกว้าง มองไกล มองลึกให้ถึงแก่น
บทบาทที่สำคัญของ “นักเศรษฐศาสตร์” บทบาทที่สำคัญของ “นักเศรษฐศาสตร์” การพัฒนาศักยภาพ “มนุษย์” ทำให้สังคมมีสันติสุข เศรษฐศาสตร์ คือ “ศาสตร์อันประเสริฐ”
ขอบคุณครับ