7 QC Tools.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 เทคนิคการปรับปรุงคุณภาพ
Advertisements

แนวทาง การทำงานในเชิงรุก
Brightness and contrast Image Histogram Modifying hue and saturation
บทที่ 6 การวิเคราะห์สหสัมพันธ์
การเริ่มต้นและการวางแผนโครงการ
Cause & Effect Diagram 1.
การประยุกต์ work procedure เพื่อการควบคุม
บทที่ 9 การบริหารคุณภาพ Quality Control and Management
บทที่ 7 การควบคุมคุณภาพ.
การจัดการคุณภาพ บทที่ 6..
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์อย่างง่าย
โครงการศึกษาพัฒนาระบบโลจิสติกส์ ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
Risk Management Asst.Prof. Dr.Ravi. การระบุมูลค่าความเสี่ยง กรณีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution) ความเสี่ยงที่ Pr (r
การวิเคราะห์ต้นทุนผสม
The Pareto Principle Vilfredo Pareto was an economist who is credited with establishing what is now widely known as the Pareto Principle or 80/20 rule.
Microsof t Office Excel คุณสมบัติของ โปรแกรม Microsoft Office Excel 2007  สร้างและแสดงรายงานของข้อมูล ตัวอักษร และ ตัวเลข  อํานวยความสะดวกในด้านการคํานวณต่าง.
GOLD MEDAL ปรับปรุงขั้นตอน ลดหย่อนเวลา พัฒนาคุณภาพงาน 1.
หลักสูตร การเสริมสร้างทีมงานที่มีประสิทธิภาพ การประปาส่วนภูมิภาค วิทยากร : วุฒทัย การสมใจ และคณะ.
Excel for Business Computer สุริเยนทร์ แดงทองดี เอกสารประกอบการอบรม Excel.
การวิจัยปฏิบัติการ ในชั้นเรียน
ลดข้อผิดพลาด รวดเร็ว สมบูรณ์
บทที่ 3 การกําหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผนโครงการ
คำขวัญ : เรื่องงานใหญ่ๆโตๆ มาติดเทอร์โบแล้วไปกับเรา
The Pareto Principle Some Sample 80/20 Rule Applications
คำขวัญกลุ่ม สร้างสรรค์ ส่งเสริม ใส่ใจ เรียนรู้ผ่านกิจกรรม กลุ่ม RE-ACC
Chapter 2 7 QC Tools.
เครื่องมือ 7 อย่างของคิวซี
กิจกรรมกลุ่มควบคุมคุณภาพ
เทคนิคการแก้ไขปัญหาแบบ QCC (QC Circle Techniques)
การแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูล
แนวคิดการพัฒนาคุณภาพ การประกันคุณภาพการพยาบาล
การสำรวจและอธิบายข้อมูล
Control Charts for Count of Non-conformities
การจัดการข้อมูล (Organizing Data)
สภาพปัจจุบัน (Actual)
การควบคุมคุณภาพเชิงสถิติ คือ ขั้นตอนทางสถิติโดยใช้ผังควบคุมช่วยเพื่อดูว่าส่วนใดส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตทำงานไม่ถูกต้องและเป็นสาเหตุทำให้สินค้าไม่มีคุณภาพ.
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
Control Chart for Attributes
การวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
สัญลักษณ์.
การจัดการระบบคุณภาพองค์กร SIM3315
Data presentation for QC
การเพิ่มกลุ่มข้อมูลลงในกราฟโดยใช้ Graph Wizard
EASY CLEAR รวดเร็ว ฉับไว ใส่ใจ เรื่องเงิน
Project Feasibility Study
CPE 491 Proposal (สอบเสนอหัวข้อเพื่อทำ Project)
แผนภูมิและไดอะแกรมการเคลื่อนที่
กลุ่มที่ มาตรฐานที่ เรื่อง ตัวบ่งชี้/ประเด็นพิจารณาที่ ถึง
บทที่ 2 แนวคิดทางด้านต้นทุน ชนิดต้นทุน
กระทรวงศึกษาธิการ.
Chapter 4 Methods and Philosophy of Statistical Process Control
จิตสำนึกคุณภาพ.
สถิติกับดัชนีการวัด... ในงานระบาดวิทยา
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
ดัชนีชี้วัดทัศนคติผู้ลงทุน (Investor Sentiment Index: ISI)
แนวคิด การจัดทำยุทธศาสตร์เศรษฐกิจภาค โดย ว่าที่ ร.อ.จิตร์ ศิรธรานนท์
Assignments งานประจำวิชา.
ระบบเลือดในมนุษย์ ABO Rh A Rh+ B Rh- AB O.
การบริหารทีมงานและภาวะผู้นำ
บทที่ 5 ไคเซน.
นพ.ชลทิศ อุไรฤกษ์กุล 16 ธ.ค.58
บทที่ 1 บทนำเรื่องคุณภาพ.
บทที่ 7 การเขียนผังงานระบบ.
ภาพรวมของ CLT/PCT (CLT/PCT Profile)
อุปสงค์ อุปทาน ดุลยภาพของตลาด
PERT Diagram.
Inform Consent Form โครงการ RV พ.ย.58.
ประจำปีการศึกษา พุทธศักราช 2555
ภาพรวมของ CLT/PCT สถาบันรับรองคุณภาพสถานพยาบาล (องค์การมหาชน) พฤษภาคม 2561.
วิชากระบวนการนโยบายสาธารณะ PPA1104
ใบสำเนางานนำเสนอ:

7 QC Tools

7 Tools 1. Pareto Diagram 2. Cause & Effect Diagram 3. Graph 4. Check Sheet 5. Scatter Diagram 6. Histogram 7. Control Chart 7 Tools

ผังพาเรโต (Pareto Diagram) Pareto ชื่อแผนภูมินี้มีที่มาจากชื่อของผู้คิดค้นซึ่งเป็นนักเศรษฐศาสตร์ชาวอิตาเลียนชื่อ  Vilfredo Federico Damaso Pareto  แผนภูมิชนิดนี้มักถูกนำมาใช้ในการแสดงให้เห็นขนาดของปัญหาและเพื่อจัดลำดับความสำคัญของปัญหา

หลักการของผังพาเรโต หลักการของพาเรโตนั้นใช้หลัก 20/80 – คือเน้นในแง่ความสำคัญและผลกระทบของปัญหา ส่วนน้อย 20 % จะเป็นส่วนสำคัญ อีก 80 % จะเป็นส่วนไม่ค่อยสำคัญ เช่นมีปัญหาอยู่ 20 % เท่านั้นที่สร้างความเสียหาย ส่วนใหญ่ให้กับกิจการ จึงต้องแก้ตรงนั้นก่อน

ลักษณะของผังพาเรโต แกนซ้าย เป็นจำนวนของเสีย แกนขวา เป็นร้อยละของปัญหา แกนนอน เป็นชนิดของปัญหา ผังพาเรโต จะจัดเรียงชนิดของปัญหาที่มีจำนวนของเสียเกิดขึ้นมากที่สุด จากซ้ายไปขวา เป็นการจัดลำดับความสำคัญเพื่อแก้ไขสิ่งที่สำคัญกว่าก่อนเพื่อลดผลกระทบได้มากที่สุด ลักษณะของผังพาเรโต

ตัวอย่าง ผังพาเรโต ปัญหา 1 ปัญหา 2 ปัญหา 3 ปัญหา 4 ปัญหา 5 ปัญหา 6

ผังก้างปลา (Cause & Effect Diagram) บางครั้งอาจถูกเรียกว่า Ishikawa Diagram ซึ่งตั้งขึ้นตามชื่อของผู้คิดค้นชาวญี่ปุ่น คือ Dr.Kaoru Ishikawa ศาสตราจารย์ด้านวิศวกรรมแห่งมหาวิทยาลัยโตเกียว ผู้ริเริ่มในการนำผังนี้มาใช้ในวงการอุตสาหกรรม ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1953

ผังก้างปลา (Cause & Effect Diagram) บ้างก็เรียกว่าผังแสดงเหตุและผล (Cause-and-Effect Diagram) หรือบ้างก็เรียกกันง่าย ๆ ว่า ผังก้างปลา (Fishbone Diagram) เป็นแผนผังที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะ ทางคุณภาพกับปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง

หลักการของผังก้างปลา สาเหตุหลัก สาเหตุหลัก สาเหตุรอง สาเหตุรอง สาเหตุย่อย สาเหตุย่อย ปัญหา สาเหตุรอง สาเหตุรอง สาเหตุย่อย สาเหตุหลัก สาเหตุหลัก

ตัวอย่าง ผังก้างปลา

แผนภูมิ หรือกราฟ (Graph) แผนภูมิ หรือ กราฟ คือแผนภาพประเภทใดประเภทหนึ่งที่เป็นการนำเสนอข้อมูลเป็นรูปภาพ แทนคำบรรยาย มีเป้าหมายหลักคือ ต้องทำให้ผู้ที่ดูกราฟสามารถเข้าใจได้ง่ายและรวดเร็วที่สุด

แผนภูมิ หรือกราฟ (Graph) กราฟที่นิยมใช้ในการควบคุมคุณภาพอาจมีได้หลายชนิด และเลือกใช้ได้แตกต่างกันตามความเหมาะสมของข้อมูล เพื่อจะได้เห็นปริมาณ หรือแนวโน้มของปัญหาว่าจะมีลักษณะเพิ่มขึ้นหรือลดลง ง่ายต่อการตัดสินใจแก้ไขปัญหา

ประเภทของกราฟที่นิยมใช้ กราฟแท่ง

ประเภทของกราฟที่นิยมใช้ กราฟเส้น

ประเภทของกราฟที่นิยมใช้ กราฟแบบเรดาร์

ประเภทของกราฟที่นิยมใช้ กราฟแบบวงกลม

ใบตรวจสอบ (Check Sheet)

ใบตรวจสอบ (Check Sheet)

หลักการออกแบบ Check Sheet กำหนดวัตถุประสงค์การเก็บข้อมูลให้ขัดเจน เพื่อควบคุมและติดตามดูผลการทำงาน เพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุของความผิดปกติ เพื่อการตรวจเช็คทั่วไป แบบฟอร์มที่ใช้เก็บข้อมูลจะต้องวางรูปแบบช่องว่างต่าง ๆ สำหรับใส่ข้อมูลให้ถูกต้อง และพิมพ์อย่างเรียบร้อย แบบฟอร์มที่ใช้ ต้องการให้ผู้บันทึกสามารถเขียน หรือบันทึกลงไปได้อย่างสะดวก ถูกต้อง และเขียนน้อยที่สุด โดยทำให้ผู้อ่านข้อมูลนั้นสามารถเข้าใจได้ง่ายและครบถ้วนมากที่สุด

ตัวอย่าง Check Sheet

แผนผังการกระจาย (Scatter Diagram) ผังการกระจาย เป็นแผนภาพที่ใช้แสดงค่าของข้อมูลที่เกิดจากความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัวว่ามีแนวโน้มไปในทางใด เพื่อที่จะใช้หาความสัมพันธ์ที่แท้จริง

หลักการของแผนผังการกระจาย แผนผังการกระจาย (Scatter Diagram) คือ ผังที่ใช้แสดงค่าของข้อมูลที่เกิดจากความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัว ว่ามีแนวโน้มไปในทางใด เพื่อที่จะใช้หาความสัมพันธ์ที่แท้จริง โดย ตัวแปร X คือ ตัวแปรอิสระ หรือค่าที่ปรับเปลี่ยนไป ตัวแปร Y คือ ตัวแปรตาม หรือผลที่เกิดขึ้นในแต่ละค่าที่เปลี่ยนแปลงไปของตัวแปร X

รูปแบบของแผนผังการกระจาย การกระจายแบบมีสหสัมพันธ์แบบบวก (Positive Correlation) การกระจายแบบมีสหสัมพันธ์แบบลบ (Negative Correlation) การกระจายแบบมีไม่มีสหสัมพันธ์ (Non Correlation)

ฮิสโตแกรม (Histogram) แกนนอนจะกำกับด้วยค่าขอบบนและขอบล่างของชั้นนั้น หรือใช้ค่ากลาง (Midpoint) แกนตั้งเป็นค่าความถี่ในแต่ละชั้น ความสูงของแต่ละแท่งจะขึ้นอยู่กับความถี่ที่เกิดขึ้นนั้น

หลักการของฮิสโตแกรม จากภาพ เป็นกราฟฮิสโตแกรมที่มีความปกติ คือ ข้อมูลที่เกิดบ่อยครั้งจะสะสมกันอยู่ตรงกลาง แล้วค่อยๆลดลงไปตามด้านข้างทั้งซ้ายและขวา เมื่อลากเส้นต่อจุดแล้วจะออกมาเป็นกราฟที่เรียกว่า Normal Curve หรือเส้นโค้งปกติ ที่ทุกกระบวนการต้องการ

รูปแบบของกราฟฮิสโตแกรม

การสร้างกราฟฮิสโตแกรม

การสร้างกราฟฮิสโตแกรม 25 20 15 10 5 1.7 1.8 1.9 2.0 2.1 2.2 2.3 2.4 2.5 2.6 2.7

ตัวอย่างของกราฟฮิสโตแกรม

แผนภูมิควบคุม (Control Chart)

หลักการของแผนภูมิควบคุม จากหลักการทางสถิติที่ว่า ข้อมูลที่ได้จากกระบวนการผลิตมีการแจกแจงแบบปกติ ( Normal distribution) จะมีพารามิเตอร์เข้ามาเกี่ยวข้อง 2 ค่า คือ ค่าเฉลี่ย (m) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (s) มีการกระจายรอบ ๆ ค่าเฉลี่ยช่วง +3s และ -3s UCL คือ ขีดจำกัดควบคุมทางสูง CL คือ เส้นแกนกลาง LCL คือ ขีดจำกัดควบคุมทางต่ำ

ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (1) จุดทุกจุดอยู่ระหว่างพิกัดควบคุม เรียกว่า “ขบวนการอยู่ใต้การควบคุม” (Under Control)

ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (2) จุดบางจุดอยู่นอกเส้นพิกัดควบคุม เรียกว่า “ขบวนการอยู่นอกการควบคุม” (Out of Control)

ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (3) มีจุดอย่างน้อย 7 จุดติดต่อกันอยู่ด้านใดด้านหนึ่งของแผนภูมิควบคุม เรียกว่า เกิดการ RUN

ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (4) ค่าเฉลี่ยของขนาดที่ได้จากกระบวนการกำลังมีแนวโน้มที่จะเคลื่อนที่ออกจากที่ตั้งไว้ครั้งแรก เรียกว่า เกิดแนวโน้ม (TREND)

ลักษณะของแผนภูมิควบคุม (5) เกิดการหมุนเวียนของเหตุการณ์ต่าง ๆ ซ้ำเดิมในกระบวนการเป็นรอบ ๆ เรียกว่า วัฏจักร (PERIODICITY)