งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 3 การกําหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผนโครงการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 3 การกําหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผนโครงการ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 3 การกําหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผนโครงการ
บทที่ 3 การกําหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผนโครงการ Yeunyong Kantanet School of Information and Communication Technology University of Phayao

2 วัตถุประสงค์ของการเรียนรู้
บอกปัจจัยหรือแรงผลักดันที่ส่งผลต่อความต้องการพัฒนาระบบใหม่ในแง่มุมต่าง ๆ ได้ สามารถกําหนดปัญหาด้วยการนําเสนออยู่ในรูปแบบของแผนภูมิก้างปลา เห็นความสำคัญต่อการศึกษาความเป็นไปได้ของโครงการ เพื่อนําไปประกอบการพิจารณาว่า แนวโน้ม ในการพัฒนาระบบมีความเป็นไปได้ และคุ้มค่าต่อการลงทุนหรือไม่ เข้าใจแนวคิด และเห็นความสำคัญของการบริหารโครงการ สามารถสร้างแผนภูมิแกนต์ (Gantt Chart) และข่ายงานเพิรต์ (PERT) ได้ สามารถนําเทคนิคการบริหารโครงการไปประยุกต์ใช้กับโครงการซอฟต์แวร์ได้อย่างเหมาะสม

3 ปัจจัยที่ส่งผลต่อโครงการพัฒนาระบบ
ปัจจัยภายนอก ปัจจัยภายใน

4 การกำหนดปัญหา (Problem Definition)
การตรวจสอบปัญหาจากการปฏิบัติงาน ปัญหางานซ้ำซ้อน ปัญหาการบริหารจัดการ หรือการสั่งการ ปัญหาการทำงานไม่ทันเวลาที่กำหนด ปัญหาการทำงานล่าช้า ปัญหาการทำงานผิดพลาด ปัญหาการทำงานไม่ถูกต้อง ปัญหาการทำงานไม่สมบูรณ์ ไม่ครบถ้วน ไม่เป็นปัจจุบัน ปัญหาการทำงานที่ไม่บรรลุวัตถุประสงค์ ฯลฯ การสังเกตพฤติกรรมของพนักงาน ปัญหาพนักงานขาดความรับผิดชอบ ปัญหาด้านการประสานงานของพนักงาน ปัญหาพนักงานมีอัตราการเจ็บป่วยสูง ปัญหาพนักงานไม่พอใจงานที่ทำอยู่ ปัญหาพนักงานขาดทักษะการทำงาน ปัญหาพนักงานขาดความกระตือรือร้นในการทำงาน ปัญหาพนักงานมีอัตราการลาออกสูง

5 แผนภูมิก้างปลา (Fishbone Diagram)

6 การกำหนดปัญหา (Problem Definition)
การระบุปัญหาและสาเหตุของปัญหา โดยใช้เครื่องมือช่วยในการวิเคราะห์ปัญหา ผังเหตุและผล หรือผังก้างปลา (Cause-Effect Diagram หรือ Fishbone Diagram) ขั้นตอนการจัดทำผังก้างปลา 1. พิจารณาถึงคุณภาพของการทำงาน หรือปัญหาจากการทำงาน แล้วลากเส้นตรงตามแนวนอน และเขียนประเด็นที่จะพิจารณาไว้ในกรอบสี่เหลี่ยมขวามือ ในที่นี้คือ “คุณภาพของการทำงาน” 2. เขียนต้นเหตุของปัญหาที่สำคัญในกรอบสี่เหลี่ยมด้านบนและล่างเส้นตรงแนวนอน และลากลูกศรชี้ไปยังเส้นแนวนอน เช่น คน, งบประมาณ, ทรัพยากร, สภาพแวดล้อม เป็นต้น 3. จากต้นเหตุของปัญหา สามารถเพิ่มเติมสาเหตุย่อยๆ ของปัญหา โดยเขียนในกรอบสี่เหลี่ยมและลากเส้นตรงไปที่ต้นเหตุของปัญหา

7 การกำหนดปัญหา (Problem Definition)
วิธีการเขียนแผนภูมิก้างปลา กําหนดหัวข้อที่จะระดมสมอง เขียนลูกศรจากซ้ายไปขวา (แกนกลางปลา) เขียนหัวข้อที่จะระดมความคิดไว้ที่หัวลูกศร (ผล) เขียนสาเหตุใหญ่เป็นก้างปลาใหญ่เข้าหาแกนกลาง (การทํางานทั่วไปมักจะมี สาเหตุใหญ่จากพนักงาน, เครื่องจักร, วัสดุ, สิ่งแวดล้อม , หัวหน้า , วิธีการทํางาน) เขียนสาเหตุย่อยเป็นก้างปลาย่อยเข้าหาก้างใหญ่ (ได้จากการระดมความคิด) ถ้าสามารถระดมความคิดหาก้างย่อยๆ ต่อไปได้อีก ก็ให้เขียนก้างปลาย่อยๆ ต่อไปอีกเรื่อยๆ

8 การกำหนดปัญหา (Problem Definition)
ตัวอย่างแผนภูมิก้างปลา

9 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)

10 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
การศึกษาความเป็นไปได้ เป็นการค้นหาข้อสรุป และขอบเขตของปัญหา โดยมีการศึกษาความ เป็นไปได้เกี่ยวกับ 3 ประเด็นหลัก ๆ ประกอบด้วย 1. ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค (Technical Feasibility) 2. ความเป็นไปทางด้านเศรษฐศาตร์ (Economic Feasibility) 3. ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) 4. ความเป็นไปได้ด้านเวลา (Schedule Feasibility)

11 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
1. ความเป็นไปได้ทางด้านเทคนิค (Technical Feasibility) ความเป็นไปได้ทางเทคนิค (Technical Feasibility) เป็นการศึกษาถึงความเป็นไป ได้ของระบบใหม่ที่จะสร้างขึ้น ซึ่งใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่ในปัจจุบัน โดยการพิจารณาความเป็นไปได้ทาง เทคนิค ดังนั้น - เทคโนโลยีที่มีอยู่ในขณะนี้มีประสิทธิภาพเพียงพอหรือไม่ - เทคโนโลยีสามารถรองรับกับการพัฒนาระบบใหม่ในอนาคตได้หรือไม่ - การใช้เทคโนโลยีเพื่อตอบสนองความต้องการของผู้ใช้

12 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
2. ความเป็นไปทางด้านเศรษฐศาตร์ (Economic Feasibility) คือ ความเป็นไปได้ใน ความสามารถที่จะลงทุนและความคุ้มค่าในการลงทุน โดย ต้องคํานึงถึงต้นทุนที่ต้องใช้ดังนี้ เวลาในการวิเคราะห์ระบบ ค่าใช้จ่ายในการศึกษา ระบบ ค่าใช้จ่ายที่พนักงานใช้เวลาในการศึกษาระบบใหม่ การประมาณค่าใชจ่าย ทางด้านฮารด์แวร์ การประมาณค่าใช้จ่ายทางด้านซอฟต์แวร์

13 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
การกำหนดต้นทุนและผลตอบแทนการพัฒนาระบบใหม่

14 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
แสดงการวิเคราะห์กระแสเงินสด

15 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
3. ความเป็นไปได้ทางด้านการปฏิบัติงาน (Operational Feasibility) คือ ความเป็นไปได้ที่ผู้ใช้ จะยอมรับระบบที่จะพัฒนาขึ้นใหม่ และสามารถนําไปใช้งานได้ตรงตามจุดมุ่งหมายหรือไม่ โดยพิจารณาจากปัจจัยดังนี้ - ระบบนั้นจะทํางานได้เลยหรือไม่เมื่อติดตั้งระบบแล้ว - ระบบนั้นจะถูกใช้หรือไม่ ผู้ใช้ต้องการใช่หรือไม่ - ผู้ใช้มีผลกระทบหรือไม่ - ขั้นตอนการปฏิบัติงานมีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่ - ผลกระทบจะส่งผลต่อลูกค้าที่เข้ามาใช้บริการหรือไม่ มีความเสี่ยงต่อ ภาพพจน์ของบริษัทด้านใดบ้าง - ใช้ระยะเวลาในการพัฒนาระบบใหม่ยาวนานเท่าไหร่

16 การศึกษาความเป็นไปได้ (Feasibility Study)
4. ความเป็นไปได้ด้านเวลา (Schedule Feasibility) “เราสามารถสร้างระบบให้เสร็จภานในกรอบเวลาที่ยอมรับได้หรือไม่” ต้องพิจารณาปฏิกิริยาที่มีต่อกัน ระหว่างเวลากับต้นทุน ทีมงานสามารถควบคุมปัจจัยที่เกิดขึ้นต่างๆ ได้หรือไม่ ฝ่ายบริหารจัดตารางเวลาของบริษัทเพื่อโครงการนี้หรือไม่ มีเงื่อนไขอะไรบ้าง ที่ต้องปฏิบัติในระหว่างการพัฒนาระบบ กรณีที่ต้องเร่งเวลาการดำเนินงาน ทำให้ต้องแลกกับความเสี่ยง แล้วเราจะยอมรับได้หรือไม่ มีการแต่งตั้งผู้จัดการโครงการ เพื่อควบคุมดูแลโครงการนี้หรือไม่

17 การบริหารโครงการ การบริหารโครงการ หมายถึง การรู้จักวางแผนและควบคุมโครงการให้โครงการนั้น เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของโครงการตามระยะเวลาที่กําหนดอย่างมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล

18 การวางแผนโครงการและการควบคุมโครงการ
การวางแผนโครงการ หมายถึง การพิจารณางานทั้งหมดในโครงการที่ นักวิเคราะห์ระบบเป็นผู้กําหนด โดยพิจารณาเพื่อประมาณเวลาทํางาน จํานวน บุคลากร อุปกรณ์ และค่าใช้จ่ายในแต่ละงานให้เหมาะสมกับโครงการนั้นรวมทั้ง กําหนดว่างานใดเริ่มเมื่อไร เสร็จเมื่อไร งานใดต้องเสร็จก่อนงานใด

19 การวางแผนโครงการและการควบคุมโครงการ
การควบคุม หมายถึง การตรวจเช็ค และติดตามการ ทํางานในทุกงานให้เป็นไปตามทีกำหนด วางแผนไว้ในเรื่องเวลา ทํางาน จํานวนบุคลากรและค่าใช้จ่าย ในการควบคุมนั้นใช้การ สร้าง แรงจูงใจให้บุคลากรทํางานให้สมบูรณ์ในทุกงาน

20 การวางแผนโครงการและการควบคุมโครงการ
การควบคุม หมายถึง การตรวจเช็ค และติดตามการ ทํางานในทุกงานให้เป็นไปตามทีกำหนด วางแผนไว้ในเรื่องเวลา ทํางาน จํานวนบุคลากรและค่าใช้จ่าย ในการควบคุมนั้นใช้การ สร้าง แรงจูงใจให้บุคลากรทํางานให้สมบูรณ์ในทุกงาน

21 การวางแผนการทํางานโดยประมาณเวลาที่ใช้และกําหนดลําดับการทํางาน
การประมาณเวลาที่ใช้ และกําหนดลําดับการทํางานนั้น ผู้บริหารโครงการต้อง พิจารณางานหลักก่อน แล้วแตกงานนั้นเป็น งานย่อยดังตารางด้านล่าง จากนั้นทําการ วางแผนกําหนดระยะเวลาการทํางานของแต่ละงานย่อยนั้นดังตารางในสไลด์ถัดไป

22 การวางแผนการทํางานโดยประมาณเวลาที่ใช้และกําหนดลําดับการทํางาน

23 สัญลักษณ์และความหมายในแผนภาพเพิร์ต (Pert Diagram)

24 แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram)

25 แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram)

26 ผังแกนท์ (Gantt Chart)

27 ผังแกนท์ (Gantt Chart)

28 แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram)

29 แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram)

30 แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram)

31 ตัวอย่าง แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram)
1 2 3 4 5 6 7 ,8 9

32 ตัวอย่าง แผนภาพเพิร์ธ (Pert Diagram)
งาน ระยะเวลา

33 การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 1
Table

34 การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 2
Table

35 การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 3
Table

36 การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 4
Table

37 การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 5
Table

38 การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 6
Table

39 การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 7,8
Table

40 การสร้าง Pert Diagram ขั้นตอนที่ 9
Table

41 การหาเส้นทางวิกฤติ

42 การเร่งโครงการ การเร่งโครงการ คือ ขั้นตอนในการลดระยะการทํางานของเส้นทางวิกฤตลงเพื่อให้ เป็นไปตามแผนที่กําหนดไว้ โดยพิจารณาจากค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการเร่งโครงการเป็น หลัก โดยเลือกเร่งกิจกรรมที่มีการทําให้โครงการนี้ เสร็จเร็วขึ้นและเสียค่าใช้จ่ายน้อยที่สุด (เท่าที่จะเป็นได้)

43 ตัวอย่างการเร่งโครงการ

44 การเร่งโครงการ

45 การเร่งโครงการ

46 การเร่งโครงการ

47 การเร่งโครงการ

48 การเร่งโครงการ

49 การเร่งโครงการ

50 การเร่งโครงการ

51 การเร่งโครงการ

52 การเร่งโครงการ

53 การเร่งโครงการ

54 การเร่งโครงการ

55 แบบฝึกหัด

56 แบบฝึกหัด

57 Q&A The End


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 3 การกําหนดปัญหา การศึกษาความเป็นไปได้และการวางแผนโครงการ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google