แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวีในโรงเรียน กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
แนวทางการบริหารงบบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ปีงบประมาณ 2558
1. การดำเนินงาน 15 ประเด็น โครงการ ( โครงการเฉลิมพระเกียรติ ) 1.1 โรคคอตีบ - ตัวชี้วัด ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนไม่ต่ำกว่า ร้อยละ 85 ในทุกจังหวัด - เป้าหมาย.
ข้อมูลสถานการณ์ ระบาดวิทยา เมษายน 2558 กลุ่มงานควบคุมโรค.
พญ. ปิยนิตย์ ธรรมาภรณ์พิลาศ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ของเทศบาลตำบลหนองไผ่ อ.เมือง จ.อุดรธานี
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน และการเบิกวัคซีนโรต้า จ.เพชรบูรณ์ ภญ.ปิยะนาถ เชื้อนาค กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน กรมควบคุมโรค.
สรุปกิจกรรมการบริหารจัดการวัคซีน ไข้หวัดใหญ่ ปี 2559 รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค รวินท์นิภา ภักดี กลุ่มงานควบคุมโรค.
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ระบบบัญชี สุขภาพ (1-8) กุมภาพันธ์ 2558 สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดบุรีรัมย์
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
วาระการประชุม คปสจ. เดือน กันยายน 2560
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
โครงการส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากผู้สูงอายุ
การสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค (Expanded Program on Immunization)
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ประสบการณ์การ การใช้ระบบติดตามผลการดำเนินงานในกลุ่มผู้ใช้ยา/สารเสพติด
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
งานระบาดวิทยา กลุ่มงานควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
แนวทางบริหารการให้วัคซีน ป้องกันโรคไข้หวัดใหญ่ตามฤดูกาลประจำปี 2558
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ ข้อสั่งการ/ข้อเสนอแนะ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
ปัญหาของข้อมูลในระบบHDC
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
การคาดประมาณปริมาณการใช้วัคซีน เด็กอายุ 1 ปี (เกิดตั้งแต่ 1 ม.ค. 57)
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
1.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
ให้วัคซีน dT แก่ประชากร
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
ข้อเสนอแนวทางการบริหารระบบยา ปี 2561
43 แฟ้มกับงานทันตกรรม 1. Standard Data Set 43 แฟ้ม
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อไวรัสซิก้า
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
ข้อมูลการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก (PMTCT)
แนวทางการรณรงค์ พัฒนาการเด็ก 4-8 กรกฎาคม 2559
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
งานโรคติดต่อทั่วไปและโรคอุบัติใหม่ กลุ่มงานควบคุมโรค
มะเร็งปากมดลูก โดย นางจุฑารัตน์ กองธรรม พยาบาลวิชาชีพ รพ.สต.บ้านโนนแต้
การปรับเปลี่ยน การใช้วัคซีนโปลิโอ
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดฉะเชิงเทรา
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
แนวทางการให้บริการ วัคซีน DTP-HB-Hib ปีงบประมาณ 2562
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
โปลิโอสายพันธ์วัคซีนกลายพันธุ์ Circulated Vaccine Derived Poliovirus
ศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี
รายงานสถานการณ์E-claim
ศูนย์รับเรื่องราวร้องเรียน รพ.บางไทร
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวีในโรงเรียน กองโรคป้องกันด้วยวัคซีน มกราคม 2560

หัวข้อ อุบัติการณ์ สาเหตุ การป้องกันมะเร็งปากมดลูก และวัคซีนเอชพีวี อุบัติการณ์ สาเหตุ การป้องกันมะเร็งปากมดลูก และวัคซีนเอชพีวี ความเป็นมาของการบริการ แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวี การเตรียมกลุ่มเป้าหมาย การคาดประมาณและการเบิกจ่ายวัคซีน การเตรียมอุปกรณ์และสถานที่ การให้บริการ การบันทึกการให้บริการ การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับวัคซีน

อุบัติการณ์ สาเหตุ การป้องกันมะเร็งปากมดลูก และวัคซีนเอชพีวี อุบัติการณ์ สาเหตุ การป้องกันมะเร็งปากมดลูก และวัคซีนเอชพีวี

529,000 new cases 275,000 deaths

Cervical Cancer Incident and Mortality Rates (per 100,000 women) GLOBOCAN 2008

มะเร็งที่พบมากในสตรีไทย ผู้หญิงไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก จำนวนผู้ป่วย/ปี จำนวนผู้เสียชีวิต/ปี มะเร็งเต้านม 12,613 5,392 มะเร็งปากมดลูก 6,426 3,466 ผู้หญิงไทยเสียชีวิตจากมะเร็งปากมดลูก วันละ 9 คน Cancer in Thailand 2010-2012 สถาบันมะเร็งแห่งชาติ และสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ กระทรวงสาธารณสุข 2556

ลักษณะของมะเร็งปากมดลูก ปากมดลูกปกติ มะเร็งปากมดลูก

สาเหตุของมะเร็งปากมดลูก ไม่ได้เกิดจากกรรมพันธุ์ เกิดจากการติดเชื้อไวรัสเอชพีวีชนิดก่อมะเร็ง (99.7%) HPV กลุ่มเสี่ยงสูง ประกอบด้วยสายพันธุ์ 16, 18, 31, 33, 35, 39, 45, 51, 52, 56, 58, 59, 68 HPV กลุ่มเสี่ยงต่ำ ประกอบด้วยสายพันธุ์ 6, 11, 42, 43, 44 Saslow D et al. CA Cancer J Clin 2007;57:7–28. p11, LH column.

การติดเชื้อไวรัสเอชพีวี เป็นโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์ที่พบบ่อยที่สุด ส่วนใหญ่หายได้เอง แต่ส่วนน้อยติดเชื้อต่อเนื่อง สตรีที่มีเพศสัมพันธ์ มีโอกาสติดเชื้อ 80 % ในช่วงชีวิต สตรีมีโอกาสติดเชื้อ 46 % ใน 3 ปี แม้มีคู่นอนคนเดียว เพศสัมพันธ์ ไม่หาย หาย ติดไวรัส HPV เซลล์ปากมดลูก ผิดปกติ มะเร็งปากมดลูก

การติดเชื้อไวรัสเอชพีวี ส่วนใหญ่ติดทางเพศสัมพันธ์ ติดโดยการสัมผัสทางผิวหนังโดยตรง ถุงยางสามารถป้องกันการติดเชื้อได้บ้าง

การป้องกันมะเร็งปากมดลูก 1 หลีกเลี่ยง เพศสัมพันธ์ การมีคู่นอนหลายคน เพศสัมพันธ์ขณะอายุน้อย 2 ตรวจคัดกรองมะเร็งปากลูก” เพื่อดูการเปลี่ยนแปลงของเซลล์ที่ปากมดลูก ตรวจตั้งแต่ยังไม่เป็นโรค ต้องตรวจเป็นประจำ 3. ฉีดวัคซีนเอชพีวีเพื่อป้องกันการติดเชื้อ HPV ที่เป็นสาเหตุของมะเร็งปากมดลูก

ปัจจุบันมีวัคซีนป้องกันเอชพีวี 2 ชนิด ชนิด 4 สายพันธุ์ ชนิด 2 สายพันธุ์ บริษัทผู้ผลิต MSD (GARDASIL) GlaxoSmithKline (CERVARIX) แอนติเจน 6, 11, 16, 18 16, 18 Indication มะเร็งปากมดลูก มะเร็งช่องคลอด มะเร็งปากช่องคลอด มะเร็งปากทวารหนัก หูดหงอนไก่ มะเร็งปากมดลูก อายุ 9-26 ปี (ถึง 45 ปี) หญิง &ชาย 9-25 ปี เฉพาะหญิง ตารางการฉีด (IM) 9-14 ปี 2 เข็ม 0, 6 เดือน >15 ปี 0, 2,6 เดือน 0, 1,6 เดือน ประสิทธิศักย์(Efficacy) ต่อ CIN2/3 ร้อยละ 98 (ต่อสายพันธุ์ 16 และ 18) ร้อยละ 92.9

ข้อควรเข้าใจเกี่ยวกับวัคซีนป้องกันเอชพีวี วัคซีนเอชพีวีป้องกันได้เฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อ HPV ที่มีในวัคซีน และป้องกันข้ามสายพันธุ์ได้บ้าง วัคซีนไม่ป้องกันสายพันธุ์ที่มีการติดเชื้อไปแล้ว การตรวจเช็คมะเร็งปากมดลูกและมะเร็งอื่นๆ ยังมีความจำเป็น แม้จะได้รับการฉีดวัคซีนแล้วก็ตาม ไม่จำเป็นต้องตรวจหาเชื้อ HPV ก่อนการฉีดวัคซีน วัคซีนไม่สามารถรักษาโรคที่เกิดจากเชื้อ HPV ได้

ใครควรฉีดวัคซีนเอชพีวี เด็กวัยรุ่นทั้งหญิงและชายที่อายุมากกว่า 9 ปี แนะนำให้ฉีดช่วง 11-12 ปี เพราะยังไม่เริ่มมีเพศสัมพันธ์ และตอบสนองต่อวัคซีนดีกว่า ถ้าฉีดผู้หญิงได้น้อยกว่า 80% การฉีดผู้ชายด้วย จึงจะคุ้ม ผู้หญิงทุกคนที่อายุน้อยกว่า 26 ปี พิจารณาให้ในหญิงทุกคนที่อายุ 26-55 ปี ที่ยังมีความเสี่ยง พิจารณาผู้ชายทุกคนที่อายุ 9-21 ปี ชายรักชายทุกคนที่อายุ 9-26 ปี

ความเป็นมาของการบริการ

ความเป็นมา ปี 2555 คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค คณะอนุกรรมการสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค  กรมควบคุมโรควางแผนและดำเนินการ โครงการนำร่องให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในโรงเรียน เริ่มปี 2557 เป้าหมาย: เด็กหญิง ป. 5 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา พิจารณาและเห็นชอบ

โครงการนำร่องให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในโรงเรียนเขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วัตถุประสงค์ : เพื่อพิจารณาความเป็นไปได้ (feasibility) ของการให้บริการและบรรจุวัคซีนป้องกันเอชพีวีเข้าสู่แผนงาน EPI ตารางวัคซีน : 2 เข็ม (ห่างกัน 6 เดือน) เข็มที่ 1 เดือนกรกฎาคม 2557 (เทอมต้น) เข็มที่ 2 เดือนมกราคม 2558 (เทอมปลาย)

ความเป็นไปได้ของการนำวัคซีนป้องกันเอชพีวี มาให้บริการในแผนงานสร้างเสริมภูมิคุ้มกันโรค การยอมรับวัคซีนของผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ และคุณครู ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวี อาการไม่พึงประสงค์ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวี การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกภายหลังเริ่มให้บริการ วัคซีนป้องกันเอชพีวีในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

การยอมรับวัคซีนป้องกันเอชพีวี ของผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ และคุณครู

ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวี ปีแรก (2557) ความครอบคลุมปีที่ 2 (2558) เทอมที่ 1 ร้อยละ 97.6 เทอมที่ 2 ร้อยละ 96.42 ความครอบคลุมปีที่ 3 (2559) เทอมที่ 1 ร้อยละ 97.31

อาการไม่พึงประสงค์ ภายหลังการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวี

การบริหารจัดการวัคซีนและระบบลูกโซ่ความเย็น: อัตราการสูญเสียวัคซีน (vaccine wastage rate)

การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ภายหลังให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ความเห็นของเจ้าหน้าที่เรื่องจำนวน ผู้มาตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก จำนวนผู้มารับบริการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก ในสถานพยาบาลที่สุ่มสำรวจ HPV

สรุปผลการให้บริการวัคซีนเอชพีวีในโรงเรียน เขตพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปี 2557 ผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ และคุณครู ให้การยอมรับวัคซีนป้องกันเอชพีวี ในระดับสูง ความครอบคลุมการได้รับวัคซีนป้องกันเอชพีวีจากการสุ่มสำรวจ - เข็มที่ 1 ร้อยละ 91.0 - เข็มที่ 2 ร้อยละ 87.4 ไม่มีรายงานอาการไม่พึงประสงค์ภายหลังรับวัคซีนที่รุนแรง อัตราการสูญเสียวัคซีนป้องกันเอชพีวีอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน WHO ไม่พบผลกระทบของการให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวี ต่อการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกอย่างชัดเจน

แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวี

แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวี การเตรียมกลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมาย 1. นักเรียนหญิงชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 2. เด็กหญิงอายุ 11-12 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบที่ไม่ได้อยู่ในระบบการศึกษา เช่น เด็กในสถานเลี้ยงเด็กกำพร้าที่ไม่ได้เรียนหนังสือ หรือเด็กที่มีความพิการทางสมอง อาจพิจารณาให้วัคซีนเป็นกรณีไป

ชนิดของวัคซีนเอชพีวี สี่สายพันธุ์ (Type 6, 11, 16, 18) สองสายพันธุ์ (Type 16, 18)

กำหนดการฉีดวัคซีนเอชพีวี อายุ นักเรียนหญิง ป.5 ขณะฉีดเข็มแรก จำนวนครั้งที่ฉีด และระยะห่างจากเข็มแรก 0 เดือน 1-2 เดือน 6 เดือน 9 - 14 ปี √ (เทอม 1 มิ.ย.-ก.ค.) (เทอม 2 ธ.ค.-ม.ค.) ≥ 15 ปี

การเตรียมกลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ของหน่วยบริการประสานงานกับโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ ทำความเข้าใจในการนำวัคซีนเอชพีวีมาให้บริการแก่นักเรียน ให้ความรู้แก่คุณครูเรื่องโรคมะเร็งปากมดลูก การป้องกัน และวัคซีน สำรวจจำนวน นร.หญิง ป. 5 แต่ละโรงเรียนในพื้นที่รับผิดชอบ (ถ้าในขณะนั้น ไม่สามารถหาจำนวน นร.หญิง ป. 5 ได้ ให้ใช้จำนวน นร. หญิง ป. 4 ที่กำลังจะขึ้น ป.5) เพื่อ เป็นข้อมูลสำหรับส่งให้กับโรงพยาบาลแม่ข่ายใช้ในการเบิกวัคซีน (CUP จะเบิกวัคซีนเอชพีวีในช่วง พ.ค.– มิ.ย. และ พ.ย. – ธ.ค.) Update รายชื่อและชั้นเรียนในโปรมแกรมบันทึกสุขภาพ/ทะเบียนจัดทำเอง เตรียมการให้บริการและเตรียมบันทึกผลการดำเนินงาน

การเตรียมกลุ่มเป้าหมาย เตรียมสมุดบันทึกสุขภาพประจำตัวนักเรียน (สศ.3) หรือ แบบบันทึกสุขภาพอื่นๆ ที่โรงเรียนใช้ตามปกติ นัดหมายวันให้บริการวัคซีนป้องกันเอชพีวีกับโรงเรียน การขอความยินยอมจากผู้ปกครองให้บุตรหลานฉีดวัคซีน ขอให้ดำเนินการเช่นเดียวกับการขอความยินยอมในการฉีดวัคซีนโรงเรียนปกติ

ตรวจสอบจำนวนกลุ่มเป้าหมาย หลังจากทราบผลการยินยอมให้นักเรียนหญิง ป.5 ฉีดวัคซีนเอชพีวี เจ้าหน้าที่ตรวจสอบจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ต้องให้บริการจริง ก่อนการเบิกวัคซีนเพื่อให้บริการ การจัดบริการ: หากไม่สามารถให้บริการวัคซีนนักเรียนพร้อมกันในวันเดียว ควรพิจารณาให้บริการวัคซีนตามตามลำดับความเร่งด่วน ดังนี้ 1. วัคซีนเอชพีวีสำหรับนักเรียนหญิง ป.5 2. วัคซีน dT สำหรับนักเรียนชั้นป. 6 3. วัคซีนเก็บตกสำหรับนักเรียน ป.1

แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวี การคาดประมาณและการเบิกจ่ายวัคซีน

การเบิกวัคซีนเอชพีวี แบ่งเป็น 2 รอบ HPV เข็ม 1 เข็ม 2 ระยะห่างระหว่างเข็ม 6 เดือน รอบแรก เทอมต้น รอบสอง เทอมปลาย การเบิก: เดือน พ.ค.- มิ.ย. การเบิก: เดือน พ.ย.-ธ.ค. การให้บริการ: เดือน มิ.ย.- ก.ค. การให้บริการ: เดือน ธ.ค.-ม.ค.

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยบริการ (รพ.สต. และ หน่วยบริการในโรงพยาบาล) 1 สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 2 คลังวัคซีนในโรงพยาบาล 3

แต่ละรอบการให้วัคซีนเอชพีวี หน่วยบริการ นักเรียนหญิงชั้น ป.5 ทุกคน และ เด็กหญิงอายุ 11-12 ปี ที่ไม่ได้อยู่ใน ระบบการศึกษาที่พิจารณาความจำเป็นแล้ว แต่ละรอบการให้วัคซีนเอชพีวี คาดประมาณจำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย กรอกข้อมูลเพื่อเบิกวัคซีนเอชพีวีพร้อมกับวัคซีนอื่นในแบบฟอร์ม ว.3/1 เข็มที่ 1 ให้เบิกในรอบการเบิกวัคซีนเดือน พ.ค.- มิ.ย. เพื่อนำมาใช้ให้บริการเดือน มิ.ย. - ก.ค. เข็มที่ 2 ให้เบิกในรอบการเบิกวัคซีนเดือน พ.ย.- ธ.ค. เพื่อนำมาใช้ให้บริการเดือน ธ.ค. - ม.ค. ส่งแบบฟอร์ม ว.3/1 ตามระบบปกติ ในเวลาที่กำหนด รพ.สต. ส่งให้ สสอ. หน่วยบริการในโรงพยาบาล ส่งให้ ฝ่ายเภสัชกรรมของโรงพยาบาลแม่ข่าย

แบบฟอร์ม ว.3/1 กรอกข้อมูลในช่อง

การคำนวณจำนวนวัคซีนเอชพีวีที่ต้องการใช้ในแต่ละรอบ วัคซีนเอชพีวีเป็นชนิด Single dose อัตราสูญเสียวัคซีนร้อยละ 1 (ตัวคูณการสูญเสียวัคซีนเท่ากับ 1.01) จำนวนวัคซีนเอชพีวีที่ต้องการใช้ใน มีสูตรคำนวณดังนี้ จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ (โด๊ส) = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย x 100 (100 - อัตราสูญเสียวัคซีน) หรือ จำนวนวัคซีนที่ต้องการใช้ (โด๊ส) = จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมาย x 1.01

สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ แต่ละรอบการให้วัคซีนเอชพีวี ตรวจสอบข้อมูลการเบิกวัคซีนในแบบฟอร์ม ว.3/1 ของทุก รพ.สต. ตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลการเบิก ตรวจสอบความสอดคล้องของการเบิก ต้องสัมพันธ์กับ.. จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่จะให้บริการจริง จำนวนวัคซีนคงเหลือในหน่วยบริการ การเบิกเข็มที่ 2 ต้องสอดคล้องกับจำนวนเด็กที่ได้รับวัคซีนในเข็มที่ 1 หากพบว่าไม่มีความสอดคล้อง ขอให้สอบถามกลับไปยังหน่วยบริการ รวบรวมแบบฟอร์ม ว.3/1 ส่งให้ฝ่ายเภสัชกรรมของโรงพยาบาลแม่ข่าย

คลังวัคซีนในโรงพยาบาล แต่ละรอบการให้วัคซีนเอชพีวี การเบิกและรับวัคซีน Key on hand และ จำนวนเด็กนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย ในระบบ VMI ตามกำหนดการเบิกวัคซีนนักเรียน เข็มที่ 1 ให้ Key ข้อมูลช่วงเดือน พ.ค. – มิ.ย. เข็มที่ 2 ให้ Key ข้อมูลช่วงเดือน พ.ย. – ธ.ค. พิเศษ: การเบิกครั้งแรกให้ Key zero on hand (On hand เป็นศูนย์) และครั้งต่อๆไปให้ Key on hand ตามจำนวนคงคลังจริง GPO จัดส่งวัคซีนให้คลังวัคซีนในโรงพยาบาลในช่วง... เข็มที่ 1 จัดส่งให้ช่วงเดือน มิ.ย. – ก.ค. เข็มที่ 2 จัดส่งให้ช่วงเดือน ธ.ค. – ม.ค. เมื่อดำเนินการตรวจรับวัคซีนเสร็จ ให้รีบนำวัคซีนเข้าตู้เย็นทันที !! ถ้าวัคซีนไม่พอ สามารถเบิกนอกรอบได้

คลังวัคซีนในโรงพยาบาล (ต่อ) แต่ละรอบการให้วัคซีนเอชพีวี การจ่ายวัคซีนให้หน่วยบริการในเครือข่าย พิจารณาจ่ายจากข้อมูลการเบิกวัคซีนในแบบฟอร์ม ว.3/1 ทั้งนี้ต้อง... ตรวจสอบข้อมูลการเบิกวัคซีนในแบบฟอร์ม ว.3/1 ของหน่วยบริการในโรงพยาบาล เช่นเดียวกับ สสอ. ตรวจสอบความครบถ้วนของข้อมูลการเบิก ตรวจสอบความสอดคล้องของการเบิก ต้องสัมพันธ์กับ.. จำนวนเด็กกลุ่มเป้าหมายที่จะให้บริการจริง จำนวนวัคซีนคงเหลือในหน่วยบริการ การเบิกเข็มที่ 2 ต้องสอดคล้องกับจำนวนเด็กที่ได้รับวัคซีนในเข็มที่ 1 หากพบว่า ไม่มีความสอดคล้อง ขอให้สอบถามกลับไปยังหน่วยบริการ สุ่มตรวจสอบข้อมูลการเบิกวัคซีนในแบบฟอร์ม ว.3/1 ของ รพ.สต.

สรุปการเบิกวัคซีนเอชพีวี HPV เข็ม 1 เข็ม 2 ระยะห่างระหว่างเข็ม 6 เดือน รอบแรก เทอมต้น รอบสอง เทอมปลาย หน่วย งาน กำหนดการเบิกวัคซีนเอชพีวี เข็ม 1 เข็ม 2 หน่วยบริการ เบิกพร้อมวัคซีนนักเรียนในรอบที่ใช้ ให้บริการ มิ.ย.-ก.ค. ให้บริการวัคซีน มิ.ย. - ก.ค. ให้บริการ ธ.ค.-ม.ค. ให้บริการวัคซีน ธ.ค. – ม.ค. คลังวัคซีน รพ. Key on hand+จำนวนนักเรียน ใน VMI ช่วง พ.ค.-มิ.ย. จะได้รับวัคซีนช่วง มิ.ย. – ก.ค. จ่ายวัคซีนแก่ลูกข่ายช่วง มิ.ย. – ก.ค. ช่วง พ.ย.-ธ.ค. จะได้รับวัคซีนช่วง ธ.ค. – ม.ค. จ่ายวัคซีนแก่ลูกข่ายช่วง ธ.ค. – ม.ค.

แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวี การเตรียมอุปกรณ์และสถานที่

เตรียมอุปกรณ์สำหรับให้บริการวัคซีน อุปกรณ์ฉีดวัคซีน - vaccine carrier + icepack บรรจุวัคซีน - เข็มฉีดยา, ไซริงจ์ - สำลี, แอลกอฮอล์, พลาสเตอร์ - กล่องทิ้งเข็มฉีดยา อุปกรณ์กู้ชีพกรณีเกิด Anaphylaxis - Adrenaline - IV set - Normal saline หรือ Ringer’s Lactate - Ambu bag - Oxygen face mask - Endotracheal tube - Laryngoscope เอกสารสำหรับบันทึกการให้บริการ แบบบันทึกสุขภาพนักเรียน เช่น สศ.3 บัญชีรายชื่อนักเรียน ที่จะฉีดวัคซีน/ทะเบียนรับบริการ

เตรียมสถานที่สำหรับให้บริการวัคซีน อยู่ในที่ร่ม มีที่ให้เด็กนั่งรอ แยกส่วนกับที่ฉีดวัคซีน เพื่อลดความตื่นตระหนกของเด็ก วางอุปกรณ์ใช้งานให้อยู่ในบริเวณที่หยิบจับง่าย และไม่เกิดการปนเปื้อน http://www.vns.ac.th/news-detail_1589_6341 http://www.sk1edu.go.th/web2014/?p=63433

แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวี การตรวจสอบ ซักประวัติ และประเมินคัดกรอง การเตรียมวัคซีน การฉีดวัคซีน การสังเกตอาการหลังได้รับวัคซีน บันทึกผลการให้บริการ

การตรวจสอบ ซักประวัติ และประเมินคัดกรอง การตรวจสอบ ซักประวัติ และประเมินคัดกรอง ตรวจสอบรายชื่อเด็กที่มารับวัคซีน ควรมีการให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับวัคซีนเอชพีวีแก่เด็ก ซักประวัติ ประเมินคัดกรองเด็ก ว่าสามารถให้วัคซีนได้หรือไม่ ต้องเลื่อนการรับวัคซีนหรือไม่ มีข้อห้าม ข้อควรระวัง ในการได้รับวัคซีนเอชพีวีหรือไม่ เช่น ผู้ที่มีประวัติแพ้ส่วนประกอบของวัคซีน ผู้ที่มีประวัติแพ้วัคซีนเอชพีวีมาก่อน หรือหญิงตั้งครรภ์ http://so740108464.blogspot.com/2015/08/blog-post_8.html

วัคซีนเอชพีวีบรรจุในหลอดฉีดและเข็มพร้อมใช้ การเตรียมวัคซีน วัคซีนบรรจุขวด 1 โด๊ส (0.5 มล.) เลือกใช้เข็มขนาด 23-26 G ยาว 5/8 - 11/4 นิ้ว และไซริงจ์ขนาด 1มล. หรือ 3 มล. วัคซีนบรรจุ prefilled syringe วิธีใช้ให้บิดปลอกพลาสติกปิด หลอดวัคซีนออก เสียบเข็มที่มีมาให้ในกล่องวัคซีน ดึงก้าน หลอดฉีดเล็กน้อยไล่ลมออกก่อนฉีด วัคซีนเอชพีวีบรรจุในหลอดฉีดและเข็มพร้อมใช้

ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง (SC) ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (IM) การฉีดวัคซีน ทำความสะอาดผิวหนังด้วยสำลีชุบแอลกอฮอล์ รอให้แห้ง ฉีดวัคซีนเอชพีวีขนาด 0.5 มล. เข้ากล้าม บริเวณต้นแขน ต่ำจากปุ่มกระดูกประมาณ 2-3 นิ้ว โดยให้เข็มตั้งฉากกับผิวหนัง ขวดวัคซีนที่เปิดแล้วต้องใช้ให้หมดภายใน 8 ชั่วโมงหลังเปิดขวด ฉีดเข้าในหนัง (ID) ฉีดเข้าใต้ผิวหนัง (SC) ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (IM)

การทิ้งเข็มวัคซีนใช้แล้ว การเก็บขวดวัคซีนที่ใช้แล้ว ขวดวัคซีนใช้แล้ว ให้เก็บไว้ในระบบลูกโซ่ความเย็น (2-8oC) อย่างน้อย 7 วัน โดยวางตั้งตรง ไม่ปักเข็มคาไว้ ปากขวดวัคซีนไม่ชนกัน เพื่อตรวจสอบหากเกิดกรณี AEFI

การสังเกตอาการภายหลังได้รับวัคซีน ให้เด็กนักเรียนที่ได้รับบริการวัคซีนอยู่ภายใต้การสังเกตอาการ ของเจ้าหน้าที่หรือคุณครูอย่างน้อย 30 นาที ภายหลังฉีด หากมีอาการผิดปกติรุนแรงควรปฐมพยาบาลเบื้องต้นและรีบนำส่งสถานพยาบาล

แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวี การบันทึกการให้บริการ ทะเบียนผู้มารับบริการ แบบบันทึกสุขภาพนักเรียน (สศ.3) โปรแกรมข้อมูลสุขภาพ 43 แฟ้ม

การบันทึกทะเบียนผู้มารับบริการ การให้บริการวัคซีนเอชพีวีในนักเรียนหญิง ป. 5 หน่วยบริการ : …………………………………………………………………………………………. โรงเรียน : …………………………………………………………………………………………........ ลำดับ ชื่อ -สกุล ชั้น HPVs1 Lot NO. วันหมดอายุ HPVs2 หมายเหตุ 1 ดญ.สุนิสา สีสัน ป.5/1 15/7/60 AHPVA6849 08-2019 2 ดญ.ลลิตา ดวงดีมาก 3 ดญ.พอใจ ไทยยินดี 4 ดญ.ปนัดดา มีสุขใจ 5 ดญ.อารยา บุญใหญ่ - ลาป่วย รอนัด 6 ดญ.พรพรรณ งอกงาม ป.5/2 7 ดญ.ปิยะพร สายเสนา AHPVA7285 10-2019 8 ดญ.อรุณี พิมพ์นิยม 9 ดญ.น้ำฝน ประจำการ 10 ด.ญ.อรพินท์ คำฉันท์ ป.6/1 14/1/60 4-2018

การบันทึกในแบบบันทึกสุขภาพ ประจำตัวนักเรียน (สศ.3) บันทึกชื่อวัคซีนและวันที่ฉีด เช่น HPV1 15/7/2560 บันทึกชื่อวัคซีนและวันที่ฉีด เช่น HPV1 15/7/2560

การคำนวณความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเอชพีวี เข็มที่ 1: = จำนวนนักเรียนหญิงป.5 ที่ได้รับวัคซีนเอชพีวีเข็มที่ 1 จำนวนนักเรียนหญิงป.5 ทั้งหมด X 100 ครบถ้วนตามเกณฑ์ (2 เข็ม/3 เข็ม ขึ้นกับอายุที่เริ่มฉีด) = จำนวนนักเรียนหญิงป.5 ที่ได้รับวัคซีนเอชพีวีครบตามเกณฑ์ จำนวนนักเรียนหญิงป.5 ทั้งหมด X100 เป้าหมายการดำเนินงาน เช่นเดียวกับวัคซีนนักเรียนทั่วไป คือ ความครอบคลุมรายโรงเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 และ ความครอบคลุมโดยรวมไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 เช่นกัน

อายุนักเรียนหญิง ป.5 ขณะฉีดเข็มแรก รหัสวัคซีนเอชพีวี (Z25.8) โปรแกรมข้อมูลสุขภาพ 43 แฟ้ม รหัสวัคซีนเอชพีวี อายุนักเรียนหญิง ป.5 ขณะฉีดเข็มแรก รหัสวัคซีนเอชพีวี (Z25.8) HPVs1 (0 เดือน) HPVs+ (1-2 เดือน) HPVs2 (6 เดือน) 9 - 14 ปี 310 320 ≥ 15 ปี 311

แบบรายงานการให้วัคซีนนักเรียนและความครอบคลุมการได้รับวัคซีนเอชพีวีในนักเรียนหญิงป.5

รายงานทะเบียนติดตามความครอบคลุมวัคซีนเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษา

การรายงานผลความครอบคลุม การได้รับวัคซีนเอชพีวี (รายอำเภอ) 2 รอบ คือ ปลายไตรมาส 4 ของปีงบประมาณปัจจุบัน ปลายไตรมาส 2 ของปีงบประมาณถัดไป

แนวทางการให้บริการวัคซีนเอชพีวี การเฝ้าระวังอาการภายหลังได้รับวัคซีน

การเฝ้าระวังและการสอบสวน AEFI แจ้ง SRRT ในหน่วยงานทันที เมื่อพบผู้ป่วย เข้าได้กับนิยาม AEFI SRRT (Surveillance and Rapid Response Team) สอบสวนภายใน 24 ชั่วโมง รายงานภายใน 48 ชั่วโมง สอบสวนเบื้องต้นผู้ป่วย AEFI บันทึกข้อมูลในแบบ AEFI1 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด กรณีAEFI ร้ายแรง แจ้งทันที สอบสวนเชิงลึก (กรณีร้ายแรง) ( AEFI2 และรายงานสอบสวนโรค) : ตาย : ผู้ป่วยในสงสัยเกี่ยวข้องกับวัคซีน : ผู้ป่วยเป็นกลุ่มก้อน : ประชาชนเชื่อว่าเกี่ยวข้องกับ วัคซีน รายงานภายใน 48 ชั่วโมง สำนักระบาดวิทยา ที่มา: สำนักระบาดวิทยา

การรายงาน AEFI มายังสำนักระบาดวิทยา โทรศัพท์ 0-2590-1882, 0-2590-1795 Fax 0-2591-8579 Email outbreak@health.moph.go.th

Thank you