ชุมชนปลอดภัย.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
Advertisements

กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการจัดการสหกรณ์
ปทุมธานี นางปลื้มจิตต์ เนี้ยวคงศักดิ์ นายอารัต เมืองจร
สถานการณ์และการเตรียมความพร้อม การป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
ข้อสรุปจากวีดีทัศน์ “ผีปู่แสะย่าแสะ” 1. การมีส่วนร่วมของชุมชน 2
ผอ. สำนักควบคุมและ ตรวจสอบอาคาร (1/1) สำนักงานคณะกรรมการ ควบคุมอาคาร ข้าราชการ พนักงานราชการ 66 ลูกจ้างประจำ 11 กลุ่มงานควบคุม โรงมหรสพ ข้าราชการ.
พังงา นางสาวอัญชลี ตันวานิช สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับระบบการควบคุมภายใน ระดับสถานศึกษา ประจำปี 2559.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบ คุณภาพ.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
การจัดทำหลักสูตร พัฒนาหัวหน้างาน เพื่อรองรับประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การแพร่กระจายนวัตกรรม Diffusion of Innovation
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
หลักการของจริยธรรมทางกฎหมาย
ระดับความเสี่ยง (QQR)
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
อบรมความปลอดภัยในการทำงาน
# ความปลอดภัยในการทำงาน #
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
หลักธรรมาภิบาล ความหมายของธรรมาภิบาล
การบริหารความเสี่ยงและ การวางระบบการควบคุมภายใน ของคณะวิทยาศาสตร์
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
กลุ่มเกษตรกร.
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
สอนโดย : อาจารย์กุสุมา ยกชู
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
กิตติกรรมประกาศ งานวิจัยนี้สำเร็จได้ด้วยความอนุเคราะห์ของบุคคลหลายท่านซึ่งไม่สามารถกล่าวไว้ในที่นี้ได้ทั้งหมดทุกท่าน ซึ่งท่านแรก ผู้จัดทำต้องขอขอบคุณ.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ชุมชนปลอดภัย

แนวคิดเกี่ยวกับอุบัติเหตุ อุบัติเหตุ หมายถึง เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ และเหตุการณ์นั้นต้องทำให้บุคคลถึงแก่ความตาย บาดเจ็บ หรือทรัพย์สินเสียหาย

แนวคิดเกี่ยวกับอุบัติเหตุ อุบัติเหตุสามารถจำแนกประเภท ได้ดังนี้ 1. อุบัติเหตุในเคหสถาน หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้นในครอบครัว อาจเกิดขึ้นได้ทั้งในบ้านและนอกบ้าน เช่น ไฟฟ้าดูด น้ำร้อนลวก และอื่นๆ 2. อุบัติเหตุจากการประกอบอาชีพ หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้นเนื่องจากการทำงานหรืออาชีพบางอาชีพ เช่น การทำงานในโรงงาน การทำงานก่อสร้าง

แนวคิดเกี่ยวกับอุบัติเหตุ 3. อุบัติเหตุในสาธาณสถาน หมายถึง เหตุที่เกิดขึ้นในโรงเรือน โรงภาพยนตร์ โรงมหรสพ รวมทั้งอัคคีภัย เป็นต้น 4. ภัยพิบัติจากธรรมชาติ เช่น น้ำท่วม ไฟป่า แผ่นดินไหว เป็นต้น 5. อุบัติเหตุ จากการจราจร หมายถึง อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นเนื่องจากกานคมนาคม หรือการขนส่ง ได้แก่อุบัติเหตุทางอากาศ ซึ่งอุบัติเหตุจากกาจจราจร ทางบกเป็นอุบัติเหตุ ที่มีปริมาณที่เกิดขึ้นบ่อยที่สุด

การป้องกันอุบัติเหตุ หลักการวิเคระห์ความปลอดภัย 3 ประการ ดังนี้ 1.การแยกแยะ 2.การควบคุม 3.การประเมินผล

หลัก 3 E ในการป้องกันอุบัติเหตุ หลักการ 3 E ในการป้องกันอุบัติเหตุ โดยเพื่อเป็นการเสริมสร้างความปลอดภัยในโรงงานอุตสาหกรรมอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ต้องยึดหลักการ 3 E ได้แก่ 1.E ตัวแรก คือ Engineering คือ การใช้ความรู้ทางวิชาการ ด้านวิศวกรรมศาสตร์ในวณ และออกแบบเครื่องจักร เครื่องมือ ที่มีสภาพการใช้งานที่ปลอดภัยที่สุด การติดตั้งเครื่องป้องกัน อันตรายให้แกส่วนที่เคลื่อนไหว หรืออันตรายของเครื่องจักร การวางผังโรงงานระบบไฟฟ้า แสงสว่าง เสียง การระบายอากาศ เป็นต้น

หลัก 3 E ในการป้องกันอุบัติเหตุ 2. E ตัวที่สอง คือ Education คือ การให้การศึกษา หรือการฝึกอบรม และแนะนำคนงาน หัวหน้างาน ตลอดจน ผู้ที่เกี่ยวข้องในการทำงาน ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการป้องกันอุบัติเหตุ และการเสริมสร้างความปลอดภัยในโรงงาน ให้รู้ว่าอุบัติเหตุจะเกิดขึ้น และป้องกันได้อย่างไร และจะทำงานวิธีใดจะปลอดภัยที่สุด เป็นต้น Education = เอดยุเค-ฌัน [n.] การศึกษา การเรียน, การให้ความรู้ 

หลัก 3 E ในการป้องกันอุบัติเหตุ 3. E ตัวที่สาม คือ Enforcement คือ การกำหนดวิธีการทำงานอย่างปลอดภัย และมาตรการควบคุมบังคับให้คนงานปฏิบัติตามเป็นระเบียนปฏิบัติที่ต้องประกาศให้ทราบทั่วกันหากผู้ใดฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามจะต้องถูกลงโทษ เมื่อให้เกิดสำนึก และหลีกเลี่ยง การกระทำที่ไม่ถูกต้อง หรือเป็นอันตราย Enforcement = เอ็นโฟซ-เม็นท [n.] ใช้ (กฎหมาย)บังคับ, บังคับ, บังคับการให้เป็นไปตาม(กฏหมาย)

การวางแผนและการกำหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริมความปลอดภัย อุบัติเหตุ (Accident) หมายถึง เหตุการณ์อันตรายที่เกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือคาดคิดมาก่อนทำให้เกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สินบุคคลได้รับ อันตรายทั้งร่างกาย และจิตใจ อาจบาดเจ็บ พิการ หรือรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต

การวางแผนและการกำหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริมความปลอดภัย การลดอุบัติเหตุ คือ การลดหรือป้องกันเหตุการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นโดยไม่ได้ตั้งใจ หรือคาดคิดมาก่อนทำให้ลดการเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน และบุคคลได้รับอันตรายทั้งร่างกาย และจิตใจ และอาจลดการ บาดเจ็บ พิการ หรือรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้

การวางแผนและการกำหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริมความปลอดภัย การวางแผนและการกำหนดแนวทางลดอุบัติเหตุและสร้างเสริมความปลอดภัย มีขั้นตอนดังนี้ 1.การสำรวจข้อมูลในชุมชน สำรวจปัญหาต่างๆ สำรวจความต้องการของคนในชุมชน จัดลำดับความสำคัญของปัญหา ศึกษาแนวทางและหลักการในการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน จัดลำดับความสำคัญในการแก้ปัญหา

การวางแผนและการกำหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และสร้างเสริมความปลอดภัย 2.การกำหนดวางแผนเพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินงาน การระบุข้อมูลเกี่ยวกับสภาพปัญหาและความต้องการ การพิจารณาแนวโน้มการพยากรณ์ในอนาคต การกำหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายชัดเจน การกำหนดวิธีการดำเนินงาน การปฏิบัติตามแผน การประเมินผล

สรุป ชุมชนปลอดภัย สร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน มีความสำคัญต่อสุขภาพ และความปลอดภัยในชีวิตของบุคคลที่อาศัยอยู่ในชุมชน ซึ่งหลักการดำเนินงานของกระบวนการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชนที่มีประสิทธิภาพนั้น ต้องยึดหลักความร่วมมือกันของคนในชุมชนเป็นพื้นฐาน ตลอดจนต้องมีการประเมินกระบวนการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชนที่มีความถูกต้องตรงกับข้อเท็จจริง เพื่อนำผลที่ได้มาปรับปรุงแก้ไขโครงการสร้างเสริมความปลอดภัยที่กำลังดำเนินการและที่จะจัดทำต่อไปในอนาคตบรรลุผลสัมฤทธิ์ที่ดียิ่งขึ้น ทั้งนี้ชุมชนจะต้องสร้างความตระหนักในความปลอดภัยของบุคคลในชุมชนด้วย รวมทั้งต้องร่วมกันเรียนรู้และทำความเข้าใจเกี่ยวกับกฎหมายด้านความปลอดภัย และทราบแหล่งให้คำปรึกษาและช่วยเหลือด้านความปลอดภัย เพื่อการคุ้มครองความปลอดภัยของตนเอง ครอบคัว และชุมชน ความปรารถนาที่จะมีชีวิตที่มีความสุขและปลอดภัยจากภัยอันตราย เป็นความต้องการตามธรรมชาติของเราทุกคน กระบวนการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชนเป็นความจำเป็นพื้นฐานที่ทุกชุมชนควรดำเนินการ เพื่อส่งเสริมความปลอดภัยและการมีชีวิตที่ดีของคนในชุมชน การเรียนรู้และทำความเข้าใจเรื่องกระบวนการสร้างเสริมความปลอดภัยในชุมชน จะช่วยให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการสร้างเสริมความปลอดภัยให้เกิดขึ้นในชุมชนของตนเองได้

THE END