การให้การปรึกษาเฉพาะ สำหรับกลุ่ม Key Affected Populations (KAPs)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โครงการการป้องกันเอชไอวีในกลุ่มประชากรที่มีพฤติกรรมเสี่ยง
Advertisements

สิทธิมนุษยชน กับ ความหลากหลายทางเพศ
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
Prevention With Positives Anupong Chitwarakorn Senior Expert Department of Disease Control.
บทเรียน.. การดำเนินงานพัฒนาคุณภาพบริการ ด้วยรูปแบบ HIVQAUL-T ในเขต 13
Resurgence of HIV/AIDS epidemic in Thailand
นโยบายการป้องกัน การถ่ายทอดเชื้อเอชไอวีจากแม่สู่ลูก สำหรับประเทศไทย พ
การให้การปรึกษาในการตรวจเอชไอวี แบบฟังผลในวันเดียว Counseling with Same Day HIV Testing 12 July 2011.
Case Scenario. นส. ชมพู่ อายุ 26 ปี ไม่มีอาการ มารับการตรวจคัดกรองโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ Case 1 วันที่ รับบริการ ประเภท ผู้ป่วย ใหม่ / เก่า เพศอายุสัญชาติ
บทบาทของผู้ให้บริการ ในการเสริมสร้างคุณภาพระบบบริการ ในการเพิ่มประสิทธิภาพการดูแล รักษา มุมมองผู้ให้บริการในพื้นที่ พญ.พัชรี ขันติพงษ์ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
การสร้างความต้องการในการตรวจเอชไอวี
Assist. Prof. Surinporn Likhitsathian Department of Psychiatry
Elimination of Mother-to-Child HIV Transmission: Knowledge to Practice
แนวทาง การดำเนินงาน องค์กรหัวใจดี แนวทาง แพทย์หญิงจุรีพร คงประเสริฐ 24 ธ.ค
การจัดบริการที่เป็น มิตรและสอดคล้อง กับความต้องการ และบริบทของ วัยรุ่น.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
นางประภาภรณ์ กิจวัฒนาชัย พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
โครงการพัฒนารูปแบบการจัดบริการเชิงรุกเพื่อค้นหาโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ในเรือนจำ นพ.สุเมธ องค์วรรณดี ผู้อำนวยการสำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
โครงการ PrEP PACKAGE ปี 2561
พรทิพย์ เข็มเงิน ศูนย์อำนวยการบริหารจัดการปัญหาเอดส์แห่งชาติ
บทที่ 10 พฤติกรรมของสัตว์
สถานการณ์ /นโยบาย แนวทาง การดำเนินงานควบคุมโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
นายแพทย์พสุวัฒน์ คงศีล คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล
การพัฒนาความเข้มแข็งของระบบบริการ RRTTR
การเบิกจ่าย ค่าชดเชยการรักษา (E-Claim palliative)
การดำเนินงานมาตรฐานศูนย์บริการชุมชน สมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
พญ. นิตยา ภานุภาค ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย
นโยบายแนวทางการส่งเสริมสุขภาพวัยเรียน
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
HON’s activities Care and Support Program
วิชาการทำฟาร์มสุกร บทที่ 7 การจัดการสุกร.
นโยบายในการยุติปัญหาเอดส์ กลยุทธ์ RRTTR
แผนปฏิบัติการ เร่งรัดการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ
การดำเนินงาน ด้านเอดส์ในแม่และเด็ก
ICD 10 TM for PCU ศวลี โสภา เจ้าพนักงานเวชสถิติชำนาญงาน โรงพยาบาลสตูล.
รู้เท่าทัน... พนมพร ห่วงมาก พยาบาลวิชาชีพ ชำนาญการ
วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
Pre-Exposure Prophylaxis for HIV prevention
สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การผลักดันเชิงนโยบายในการสนับสนุน และส่งเสริมการบริหารจัดการถุงยางอนามัย ระดับประเทศ โดย แพทย์หญิงมณฑินี วสันติอุปโภคากร นายแพทย์ชำนาญการพิเศษ สำนักโรคเอดส์
4.2.4 แผนปฏิบัติงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ
บูรณาการ“เข้าใจ เข้าถึง”
การจัดกิจกรรมพิเศษ (Event)
เพศสัมพันธ์ในวัยเรียน
ก้าวสู่ปีที่ 10 จาก การรณรงค์ป้องกันการติดเชื้อรายใหม่ในกลุ่มMSM สู่การ ยอมรับ เข้าใจ ไม่มีการติดเชื้อใหม่ใน MSM/TG ดนัย ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย.
ศูนย์ความร่วมมือไทย-สหรัฐฯ (TUC) มูลนิธิพนักงานบริการ (SWING)
ดนัย(เมี้ยว) ลินจงรัตน์ ผู้อำนวยการสมาคมฟ้าสีรุ้งแห่งประเทศไทย
มุ่งสู่ความเป็นศูนย์: การเลือกปฏิบัติด้านเอดส์ 10 กันยายน 2557
(ร่าง) กรอบยุทธศาสตร์ 20 ปี กรมควบคุมโรค
นโยบายการดำเนินงาน PrEP กับการยุติปัญหาเอดส์
ก้าวทันโรค - - ก้าวต่อไปในการดำเนินโครงการ
ความเป็นมาของโครงการ และแนวคิดของรูปแบบการจัดบริการปรึกษาและตรวจเอชไอวีโดยเน้นชุมชนเป็นศูนย์กลาง (community-centered service model) พญ.นิตยา ภานุภาค พึ่งพาพงศ์
PrEP คืออะไร Pre- Exposure Prophylaxis ยาต้านไวรัสเพื่อการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี รูปยา.
พระพุทธศาสนา.
หลักสูตรและกระบวนการ
การผลิตซ้ำมายาคติ เกี่ยวกับเพศอื่นๆ ในระบบการศึกษา
การจัดการเชิงรุกรายบุคคล
โรงพยาบาลดอยหล่อ อ.ดอยหล่อ จ.เชียงใหม่
เทคนิค & คุณภาพการให้บริการสำหรับMSM/TG ด้านโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
Public Health Nursing/Community Health Nursing
4 กรกฎาคม 2556 ณ.โรงแรมเอเซีย แอร์พอร์ต จังหวัดปทุมธานี
สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 23 เมษายน 2557
แนวทางการปฏิบัติเมื่อบุคลากรสัมผัสเลือด หรือสิ่งคัดหลั่งขณะปฏิบัติงาน
วิภาส วิมลเศรษฐ มีนาคม 2556
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ กองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติ
Adam’s Love.
การทำงาน MSM-TG สำคัญอย่างไร มุมมองทั่วไปและด้านระบาด สาธารณสุข
การดำเนินงานการจัดบริการเอชไอวี/เอดส์ โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และวัณโรค สำหรับภาคีเครือข่ายศูนย์บริการชุมชน (DIC- Cluster) ในระดับ อำเภอ/องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ.
Law & sexuality กฎหมายกับเพศวิถี
ขอชื่นชมอาจารย์ วิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี ที่มีผลงานวิชาการ นำเสนอในเวทีระดับชาติ และตีพิมพ์ในวารสาร TCI ประจำปี พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การให้การปรึกษาเฉพาะ สำหรับกลุ่ม Key Affected Populations (KAPs) ฉวีวรรณ คล้ายนาค สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์

VCT for MARPs คู่มือการอบรม การให้การปรึกษาเพื่อการตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี โดยสมัครใจในกลุ่มประชากร ที่เข้าถึงยาก (Voluntary Counseling and Testing for Most at risk population : VCT for MARPs) เล่มนี้ ดำเนินการแปลมาจาก HIV Counselling Trainer’s Manual for Voluntary Counselling and Testing, Provider-Initiated Testing and Counselling, and Care Counselling for the Asia and Pacific Regions. ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย DR.Kathleen Casey. FHI ซึ่งเนื้อหาในคู่มือนี้ ประกอบด้วย วัตถุประสงค์ กิจกรรม ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรม เนื้อหาที่เกี่ยวข้อง และวัสดุอุปกรณ์ที่จำเป็น สำหรับทีมวิทยากรใช้ประกอบการอบรมผู้ให้การปรึกษาในสถานบริการสาธารณสุข โดย สำนักโรคเอดส์ วัณโรค และโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ร่วมกับ DR.Kathleen Casey. FHI. ได้ปรับระยะเวลาในการอบรมให้เหลือเพียงจำนวน 3 วัน โดยผ่านการพิจารณากลั่นกรองคัดเลือกเฉพาะหัวข้อที่เกี่ยวข้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์และกลุ่มเป้าหมาย คือ ผู้รับบริการปรึกษา (อันได้แก่ กลุ่มชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) และกลุ่มพนักงานบริการหญิง (FSW)) รวมทั้ง ด้วยข้อจำกัดของวงเงินสนับสนุนของผู้ให้ทุนหลัก นั้นเพียงพอสำหรับการจัดอบรมได้เพียง 3 วันเท่านั้น และมีเอกสารที่ใช้ในประกอบการอบรมบางส่วนนำมาจากเนื้อหาในหนังสือ HIV Counseling and Testing for Most-at-risk Population Using the Bi-Regional. ด้วยเช่นกัน ดังนั้น เพื่อให้การจัดอบรม VCT for MARPs บรรลุวัตถุประสงค์ คือ ผู้ให้การปรึกษาสามารถให้บริการปรึกษาเพื่อตรวจเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวีในกลุ่มเป้าหมายที่เข้าถึงยากได้ แปลมาจาก HIV Counselling Trainer’s Manual for Voluntary Counselling and Testing, Provider-Initiated Testing and Counselling, and Care Counselling for the Asia and Pacific Regions. ซึ่งพัฒนาขึ้นโดย DR.Kathleen Casey. FHI (จัดพิมพ์ 2554 และ 2555)

คู่มือวิทยากร : หลักสูตรอบรม 3 วัน คู่มืออ่านประกอบ การให้การปรึกษาเรื่องเอชไอวี 1. ความรู้พื้นฐานสำหรับผู้ให้การปรึกษาเกี่ยวกับเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และวัณโรค 2. องค์ประกอบที่สำคัญในการให้การปรึกษาเรื่องเอชไอวี อย่างมีจรรยาบรรณและมีประสิทธิภาพ 3. กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกระบวนการให้การปรึกษา เรื่องเอชไอวี 4. การให้การปรึกษาเพื่อตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี 5. การทำงานกับผู้รับการปรึกษาที่มีความคิดอยากฆ่าตัวตาย 6. การให้การปรึกษาเกี่ยวกับการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวีกับสุขภาพ 7. การช่วยเหลือในการเปิดเผยสถานะการติดเชื้อเอชไอวี/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 8. การให้การปรึกษาเพื่อการปฏิบัติตามแผนการรักษาอย่างเคร่งครัด 9. การให้การปรึกษาตามความต้องการเฉพาะกลุ่ม 10. ความเศร้าโศก การสูญเสีย และการตาย 11. การดูแลตนเองของผู้ให้การปรึกษา และ ภาคผนวก M1 : ความรู้พื้นฐานสำหรับผู้ให้การปรึกษาเกี่ยวกับเอชไอวี โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และวัณโรค M2 : องค์ประกอบที่สำคัญในการให้การปรึกษาเรื่องเอชไอวี อย่างมีจรรยาบรรณและมีประสิทธิภาพ M3 : กลยุทธ์การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในกระบวนการให้การปรึกษา เรื่องเอชไอวี M4 : การให้การปรึกษาก่อนการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี M5 : การให้การปรึกษาหลังการตรวจหาการติดเชื้อเอชไอวี M6 : การช่วยเหลือในการเปิดเผยสถานะการติดเชื้อเอชไอวี/โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ M7 : การให้การปรึกษาชายที่มีเพศสัมพันธ์กับชาย (MSM) และคนข้ามเพศ M8 : การให้การปรึกษาในกลุ่มผู้ขายบริการทางเพศ M9 : การให้การปรึกษากับกลุ่มผู้รับบริการที่ดื่มสุราและใช้สารเสพติด สาระสำคัญ ของหนังสือแต่ละเล่ม คู่มือวิทยากร ประกอบด้วย 9 แผนการสอน (Module) คู่มืออ่านประกอบ การให้การปรึกษาเรื่องเอชไอวี ประกอบด้วยเนื้อหา 11 บท (259 หน้า) พิมพ์ครั้งแรก 200 เล่ม ครั้งที่ 2 จำนวน 300 เล่ม ครั้งที่ 3 จำนวน 3,000 เล่ม

การให้การปรึกษาในกลุ่ม MSM CO สามารถทำสิ่งต่อไปนี้ : 1. อธิบายสาเหตุที่ MSM มีความเสี่ยงสูงในการติดเชื้อเอชไอวี 2. ระบุความต้องการด้านสุขภาพทางเพศและอุปสรรคต่อการเข้าถึงบริการ 3. ระบุประเด็นทางด้านจิตใจและสังคมของ MSM 4. อธิบายมาตรการป้องกันการติดเชื้อสำหรับ MSM 5. เข้าใจอุปสรรคที่อาจเกิดขึ้น เมื่อแนะนำการป้องกันการติดเชื้อและการแก้ไขอุปสรรค สาระสำคัญ : หลัก 3 ประการ ที่จะบอกว่า MSM คือ? , แบบจำลองพัฒนาการทางด้านอัตลักษณ์ทางเพศ 6 ระยะของแคส , ประเด็นสำคัญในการให้การปรึกษา , การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

MSM คือใคร..... หลัก 3 ประการ 1. พฤติกรรมทางเพศ (Sexual behavior) มีเพศสัมพันธ์ กับ - ชาย - หญิง - ชายและหญิง 2. รสนิยมทางเพศ (Sexual orientation) - ดึงดูดทางเพศ / - ความซู่ซ่า - ความต้องการทางเพศ 3. อัตลักษณ์ทางเพศ (Sexual identity) ฉันเป็นใคร และฉันยอมรับหรือไม่ MSM มี 1 ใน 10 ของชายทั่วไป กระจายอยู่ทั่วไป มีความชุกของการติดเชื้อเอชไอวีสูง การแสดงออกเกิดจากสังคม

อัตลักษณ์ทางเพศ สังคมรับรู้ ตัวเองรับรู้ Heterosexual Bisexual Homosexual มีทั้งที่แสดงเจตนาให้สังคมรับรู้และไม่แสดงให้สังคมรับรู้ อาจมีในช่วงใด ช่วงหนึ่งของอายุ หรือตลอดช่วงอายุของเขา มีในทุกสาขาอาชีพ

การแพร่เชื้อ HIV หรือ STIs ไม่ได้ขึ้นอยู่กับรสนิยมทางเพศ (Sex orientation) แต่ขึ้นอยู่กับ พฤติกรรมเสี่ยง (risk behavior) ความเสี่ยงและความเปราะบาง (vulnerabilities) ชนิดของการมีเพศสัมพันธ์ / ช่องทางที่ใช้ในการมีเพศสัมพันธ์ การปฏิบัติทางเพศ (Sexual action) MSM เกี่ยวข้องกับเอชไอวีอย่างไร ความเสี่ยง (risk) หมายถึง สิ่งที่ปฏิบัติ หรือการกระทำ ซึ่งการกระทำนั้นมีโอกาสให้ติดเชื้อเอชไอวี อาจเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมทางเพศหรือไม่ก็ได้ เช่น - มีเพศสัมพันธ์ไม่ใช้ถุงยางอนามัย - ใช้เข็มฉีดร่วมกับผู้อื่น - มีเพศสัมพันธ์กับคนหลายคน ความเปราะบาง (vulnerabilities) หมายถึง ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยส่งเสริม ปัจจัยที่ส่งผลกระทบหรือสิ่งที่ทำให้ MSM กระทำพฤติกรรมเสี่ยงนั้นๆ เช่น ความเหงา ความโดดเดี่ยว อยู่ในสถานการณ์ที่ทำให้ติดเชื้อ ขาดข้อมูล เข้าใจผิด ประเมินผิด หรือขาดความ สามารถที่จะป้องกันตนเอง เช่น การไม่กล้าซื้อถุงยาง หรือ ซื้อสารหล่อลื่น ใช้ผิดวิธี อาชีพที่เสี่ยง ในบางประเทศมีปัญหาทางกฎหมาย หรือศาสนา

เพราะเหตุใด MSM จึงมีพฤติกรรมเสี่ยง ขึ้นอยู่กับตัวชายรักชายเองว่า ยอมรับ อัตลักษณ์ทางเพศของตนที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ Bisexual Heterosexual โดยทั่วไป คนเราจะเข้าใจ และยอมรับอัตลักษณ์ทางเพศของตนเอง เมื่อเวลาผ่านไป แต่บางคนการพัฒนาการอาจไม่เป็นไปตามขั้นตอน ตั้งแต่ต้นจนจบ บางคนอาจย้อนกลับไป กลับมาได้ Homosexual

แบบจำลองพัฒนาการทางด้านอัตลักษณ์ทางเพศ 6 ระยะของแคส มีประโยชน์ต่อผู้ให้การปรึกษาในการทำความเข้าใจว่า “ผู้รับบริการปรับตัวเข้ากับเพศวิถีและรสนิยมทางเพศที่เกิดขึ้นใหม่ของตนอย่างไร” ระยะที่ 1 : สับสน ระยะที่ 2 : เปรียบเทียบ ระยะที่ 3: เริ่มยอมรับ ระยะที่ 4 : ยอมรับในอัตลักษณ์ ระยะที่ 5 : ภูมิใจในอัตลักษณ์ ระยะที่ 6 : ลงตัวในอัตลักษณ์ ดูรายละเอียดที่ คู่มืออ่านประกอบ การให้การปรึกษาเรื่องเอชไอวี ภาคผนวก 7 หน้า 224 พิมพ์ครั้งที่ 3 ปี 2555 อาจต้องฉาย คลิป Sugar Baby Love (ประมาณ 3 นาที ให้ดูเวลา ว่าพอหรือไม่) และ บรรยายเพิ่มเติมเกี่ยวกับ 6 ระยะ ที่มีผลต่อ ประเด็น อารมณ์ ความรู้สึก และความเสี่ยงและความเปราะบาง

การแก้ไข - ให้ได้รับข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้อง จัดกิจกรรมลงพื้นที่ รู้จัก/ยอมรับว่าตัวเองเป็นใคร ให้กำลังใจและเห็นคุณค่าในตัวเอง - ตรวจสอบให้แน่ใจว่า CL. ทราบวิธีการป้องกัน และเข้าถึงบริการ - ทราบวิธีการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยแม้จะมีคู่หลายคน ทราบวิธีการเจรจาเพื่อให้มีการใช้ถุงยางอนามัยกับคู่ที่มีอำนาจเหนือกว่า ทราบช่องทางการมีเพศสัมพันธ์ สำหรับการตรวจและประเมินความเสี่ยง

ประเด็นสำคัญในการให้การปรึกษา - ความเชื่อเกี่ยวกับลักษณะความเป็นผู้ชาย (masculinity) - ความรู้สึกเกลียดชังความเป็นตัวเอง (internalized homophobia) - การวินิจฉัยและการรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - ความบกพร่องทางเพศ (Sexual dysfunction) * ปลุกเร้าไม่ได้จึงต้องเป็นฝ่ายรับ หรือใช้ยา * ขณะใช้ถุงยางจะแข็งตัวไม่เต็มที่ ไม่ถึงจุดสุดยอด จึงถอดถุงยาง * เมื่อทราบว่าติดเชื้อเอชไอวี * บางรายใช้ยา viaga ช่วยให้แข็งตัวนานขึ้นปัญหาที่ตามมา คือ การหลั่งช้าลง - ความรุนแรงทางเพศ - ความคิดอยากฆ่าตัวตาย - ความยากจน

ประเด็นสำคัญในการให้การปรึกษาถ้ามีคู่ผู้หญิง การเปิดเผยอัตลักษณ์ทางเพศต้องเกิดจากความสมัครใจ ควรมีการตกลงบริการ 3 C ก่อนประเมินความเสี่ยง และเน้นย้ำ “การรักษาความลับ” การใช้คำถามด้านคู่เพศสัมพันธ์เหมาะสมกว่าคำถามด้านอัตลักษณ์ทางเพศ “เมื่อคุณมีเพศสัมพันธ์ คุณมีกับผู้ชาย ผู้หญิง หรือทั้งสองเพศ?” - ถ้าไม่สามารถใช้ถุงยางอนามัยกับคู่ต่างเพศ ควรได้รับคำแนะนำให้ตรวจเอชไอวีเป็นประจำ และควรใช้ถุงยางอนามัยกับคู่ที่เป็นชาย ให้คำแนะนำเรื่องการป้องกันการตั้งครรภ์โดยไม่ตั้งใจ และส่งต่อไปรับบริการวางแผนครอบครัว ย้ำเตือนในเรื่องการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี ในขณะที่คู่อยู่ในช่วงให้นมบุตรด้วยนมแม่ ส่วนผู้ชายที่มีผลตรวจเลือดเป็นบวก ควรสนับสนุนการเปิดเผยสถานะการติดเชื้อเอชไอวีให้คู่ของเขาได้ทราบ ในคู่หญิงกับหญิง มีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อเอชไอวีต่ำ แต่ต้องหาสาเหตุว่าทำไมต้องมาตรวจ เช่น กรณีต้องการตั้งครรภ์ ไปขอน้ำเชื้อจากเพื่อนเกย์ติดเชื้อ

คนข้ามเพศ (Transgender) ไม่ประสงค์ผ่าตัดแปลงเพศ ยังไม่ได้ผ่าตัดแปลงเพศ เพศกำกวม (intersex) การแต่งกายข้ามเพศ (Cross-dressing) คนข้ามเพศ (Transgender) ผู้แปลงเพศ (transsexual) เพศกำกวม (intersex) ไม่ประสงค์ผ่าตัดแปลงเพศ (”no-op”) ยังไม่ได้ผ่าตัดแปลงเพศ (“pre-op”) การแต่งกายข้ามเพศ (Cross-dressing) ไม่พบข้อขัดแย้งใดๆ ระหว่างสิ่งที่ปรากฎทางร่างกายกับอัตลักษณ์ด้านเพศของเขา ส่วนใหญ่เป็นผู้ชายที่รักต่างเพศ แต่เป็นการแต่งกายข้ามเพศเพื่อความสนุกสนาน หรือเพื่อสมมุติบทบาท หรือเพื่อลดความเครียด หรือเพื่อให้ได้รับความพึงพอใจทางเพศเพิ่มขึ้น ผ่าตัดแปลงเพศแล้ว (“post-op”)

เพศกำกวม (intersex) การระบุเพศตามลักษณะของอวัยวะเพศที่เด่นชัดมาแต่กำเนิด แต่บางคนภาวะเพศกำกวมอาจปรากฏเด่นชัดขึ้นในภายหลังโดยมาก พบในช่วงย่างเข้าสู่วัยรุ่น เช่น ในหญิงอาจไม่มีประจำเดือน มีหนวด ลูกกระเดือก เป็นต้น คนข้ามเพศ (Transgender) หมายถึง “ชายหรือหญิง” ที่ปฏิเสธเพศสภาพที่ถูกกำหนดมาตั้งแต่แรกเกิด หรือ ผู้ที่รู้สึกว่า อัตลักษณ์ทางเพศของตนไม่ตรงกับร่างกายที่เกิดมา ผู้แปลงเพศ (transsexual) ผู้ที่แปลงเพศจากชายเป็นหญิง (male-to-female - MTF) หรือจากหญิงเป็นชาย (female-to-male - FTM) เพศกำกวม (intersex) บางครั้งอาจให้การรักษาทางการแพทย์ หรือผ่าตัด เพื่อช่วยให้การพัฒนาการดังกล่าวนี้เป็นไปตามปกติเท่าที่จะสามารถทำได้ บางคนเกิดอาการซึมเศร้าอย่างรุนแรงได้ ในเด็กวัยรุ่นและอาจรวมถึงพ่อแม่ของเด็กด้วย ส่งผลให้เกิดความรู้สึกอาย โกรธ หรือซึมเศร้า ควรส่งตัวให้ไปพบกับจิตแพทย์หรือผู้เชี่ยวชาญ

ประเด็นสำคัญในการให้การปรึกษา - บริการปรึกษาเรื่องกลยุทธ์ในการลดความเสี่ยงในด้านต่างๆ - การสวนล้างช่องทวารหนักหรือการสวนล้างช่องคลอดเทียม (neo-vagina douching) - คำแนะนำให้ระวังป้องกันหลังการผ่าตัดแปลงเพศ - การใช้สารหล่อลื่นชนิดน้ำกับช่องคลอดเทียม - การกำจัดขน การใช้เทปปิด การรัด หรือการหนีบ เข็มฉีดยา

บทที่ 3 หน้า 41 ระยะสิ้นสุด Termination ขั้นตอนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อ้างอิงมาจาก โปรชาสก้าและไดคลีเม้นท์ การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของคนส่วนใหญ่ค่อยเป็นค่อยไป โดยจะค่อยๆเปลี่ยนจากไม่เห็นปัญหา / ไม่สนใจตัวเอง ไม่มีความตระหนักหรือไม่มีความต้องการที่จะเปลี่ยน ไปเป็นเริ่มสนใจปรับเปลี่ยน (หรือคิดที่จะเปลี่ยน) นำไปสู่การตัดสินใจ หรือเตรียมพร้อมที่จะเปลี่ยน จากนั้นลงมือทำ และในระยะยาวก็จะเกิดความพยายามที่จะรักษาพฤติกรรมใหม่ไว้ได้ กายเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการที่จะนำไปสู่ความยั่งยืนของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ส่วนการหวนกลับไปมีพฤติกรรมเดิม ก็อาจเกิดขึ้นได้ ส่วนใหญ่ พบในกลุ่มผู้ใช้ยา (PHDU)

การให้การปรึกษาเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ระบุได้ว่า พฤติกรรมใดที่เป็นอันตราย (ต่อสุขภาพ ของตนเองและคู่/ครอบครัว วิถีชีวิต) เช่น พฤติกรรมทางเพศ การใช้สารเสพติด การดื่มสุรา และการไม่ปฏิบัติตามขั้นตอนการรักษาโรค เข้าใจทางเลือกที่มีอยู่ (อธิบายข้อดี-ข้อเสียของพฤติกรรมต่างๆ ทางเลือกที่ปลอดภัยและยั่งยืน) สามารถปฏิบัติตนตามความรู้ที่เกี่ยวข้องได้ ได้รับการสนับสนุนที่จำเป็น เพื่อให้เกิดความยั่งยืนในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นความท้าทาย ควรได้รับการปรึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อพัฒนากลยุทธ์ที่มีประสิทธิภาพในการแก้ไขปัญหาที่อาจเกิดขึ้น ให้กำลังใจ CL. ไม่ว่าการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมจะบรรลุผลอย่างไรก็ตาม) กลยุทธ์ในการลดความเสี่ยงในการติดเชื้อ STIs ได้แก่ การกำจัดความเสี่ยง การลดความเสี่ยง และการลดอันตราย กลยุทธ์การป้องกันการกลับไปมีพฤติกรรมเดิม ได้แก่ ระบุสถานการณ์ที่มีความเสี่ยงสูง (มีสิ่งกระตุ้น) ทักษะในการจัดการกับสิ่งกระตุ้น ซักซ้อมในการจัดการกับสิ่งกระตุ้น การแก้ไขปัญหาแบบเป็นขั้นตอน การกลับมาสู่แนวทางเดิมหลังจากการก้าวถอยหลัง ทั้งนี้ มีอีกหลายกลยุทธ์ที่ผู้ให้การปรึกษาสามารถนำมาใช้ในกระบวนการให้การปรึกษาได้ เช่น การสนทนาเพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจ การฟังอย่างตั้งใจ เทคนิคอนาคตก่อนแล้วค่อยปัจจุบัน การจัดทำแผนปฏิบัติการโดยมีกำหนดเวลา การทดลองปรับเปลี่ยน และการใช้กลยุทธ์ต่างๆ เป็นต้น

การให้การปรึกษาในกลุ่ม FSW CO สามารถทำสิ่งต่อไปนี้ : ระบุพฤติกรรมเสี่ยงต่อการถ่ายทอดเชื้อเอชไอวี เข้าใจประเด็นทางด้านจิตใจและสังคมของ FSW เข้าใจความจำเป็นที่ต้องปรับปรุงบริการสุขภาพ STIsและ VCT ที่ตอบสนองความต้องการเฉพาะของ FSW

สาระสำคัญ ใครคือพนักงานบริการ (Female sex worker) - ปัจจัยที่ทำให้ FSW เสี่ยงต่อการติดเชื้อ HIV & STIs การให้การปรึกษาแก่ FSW และการดูแลด้านจิตใจและสังคม แตกต่างจากการให้บริการประชากรกลุ่มอื่นๆ ? การให้บริการด้านสาธารณสุขแก่ FSW FSW + ประเภทของสถานบริการทางเพศ

ประเด็นสำคัญที่ไม่ควรลืม 1. ตกลงบริการ เน้นย้ำความลับ ยอมรับและให้เกียรติ จริงใจไม่ลุกล้ำและ หมั่นใช้คำถามเปิด (3C) 2. ศึกษาบริบทของแต่ละบุคคล 3. ให้ข้อมูลเรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และการป้องกันกับคู่/สามี 4. แนะนำเรื่องการคุมกำเนิดแบบร่วม และการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีประจำเดือน 5. ให้ข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับการทำความสะอาดอวัยวะเพศ การสวนล้างและการใช้อุปกรณ์ /เครื่องมือทำมาหากิน เช่น ลูกเจี๊ยบ ยาฟิต CONDOM สารหล่อลื่น การสัก เจาะ จิว เป็นต้น 6. ความสวยงาม คือ ภัย

การให้การปรึกษาในกลุ่ม FSW+ - ประเมินภาวะฆ่าตัวตาย - เสริมแรงทางบวกในการดูแลตนเอง เน้นเรื่องการป้องกัน - แนะนำการดูแลรักษา แหล่งช่วยเหลือ และสวัสดิการต่างๆ - สนับสนุนให้เปิดเผยผลเลือด - การวางแผนอนาคต - การคุมกำเนิดแบบร่วม - Hepatitis B ,C

การให้การปรึกษาเรื่อง STIs พัฒนาขึ้นในปี 2551 และ 2547

สิ่งที่ผู้ให้การปรึกษาควรทราบ สาเหตุ ระยะฟักตัว การติดต่อของการเกิดโรค อาการแสดงของผู้ป่วยโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ วิธีการตรวจรักษา ยาที่ใช้ การดูแลสุขภาพ การนัดหมาย การติดตามผู้ป่วย / ผู้สัมผัส สามารถเปิดอ่าน ศึกษาได้ด้วยตนเองในแผ่นดีวีดี เอกสารอ่านประกอบแนวทางการจัดบริการที่เป็นมิตรฯ เพราะจะมีหนังสือ เอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้องมากมาย..ค่ะ

โรค เชื้อสาเหตุ ระยะฟักตัว Syphilis Bact. 9 - 90 days Chancroid Herpes Virus LGV 3 – 30 days GC 3 – 5 days NSU 2 w – 6 m หูด 1 – 6 m พยาธิ โปรโตซัว หิด 2 – 6 w โลน 30 days

ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียว Herpes ยากิน 7 d / มียาทา - LGV โรค การรักษา Syphilis ยากินนาน 15 / 30 d ฉีด Benzathine Chancroid กินครั้งเดียว / 7 d ฉีดเข้ากล้ามครั้งเดียว Herpes ยากิน 7 d / มียาทา - LGV ยากิน 14 d / +7 d GC กินครั้งเดียว NSU ยากิน 14 d พยาธิ กินครั้งเดียว / ยาเหน็บ หูดหงอนไก่ ยาทา

แนะนำตรวจ pap smear ทุก 6 เดือน โรค / การนัดหมาย 7 d 2 w 1 m 3 m Syphilis 3,6,12,24 Chancroid / Herpes LGV GC NSU อื่นๆ หูด แนะนำตรวจ pap smear ทุก 6 เดือน

ความแตกต่างทางจิตวิทยาสังคม ของกลุ่มเป้าหมาย ความแตกต่างระหว่างบุคคล / ระหว่างกลุ่ม - พฤติกรรมทางเพศ - ภาษาที่ใช้สื่อสารเกี่ยวกับเรื่องเพศ - วิถีชีวิต

กลุ่มวัยรุ่น มีเพศสัมพันธ์อายุน้อย <15 ปี มีเพศสัมพันธ์โดยไม่ตั้งใจ ไม่ป้องกัน และอยากรู้ อยากลอง อาย ไม่กล้ามารับการรักษา / ซื้อยากินเอง ขาดความรู้ ความเข้าใจเรื่องโรค การดูแลสุขภาพทางเพศ / การคุมกำเนิด เชื่อฟังคำแนะนำจากกลุ่มเพื่อน มากกว่าผู้ปกครอง

STIs COUNSELLING เน้นเพื่อให้ผู้รับบริการ

ทักษะการสื่อสารที่เน้นความรู้สึก บอกปัญหาที่เกิดขึ้นอย่างชัดเจน “รู้สึกผิดปกติ ไปหาหมอ... หมอบอกว่า... บอกความรู้สึกของผู้พูด “ฉันรู้สึกเป็นห่วง กลัวเธอติดโรคไปด้วย” ระบุพฤติกรรมที่ต้องการให้ผู้รับฟังทราบ “ต้องการงด.. / ต้องการให้ใช้ถุงยาง / ต้องการให้ไปตรวจ....” 4. ถามความคิดเห็นในการตัดสินใจปฏิบัติของอีกฝ่ายหนึ่ง “งด? /ช่วงนี้ขอใช้ถุงยาง.. / ไปตรวจด้วยกันได้ไหม?..”

ในกรณีที่ผู้ฟังไม่ยอมรับ 1. ยืนยันพฤติกรรมที่ต้องการของผู้พูด โดย - ยอมรับความรู้สึกของอีกฝ่าย - บอกย้ำความรู้สึกของผู้พูด - ยืนยันพฤติกรรมที่ต้องการของผู้พูด 2. ต่อรอง / ประนีประนอมโดยเสนอพฤติกรรมที่เป็นทางเลือกอื่นทดแทน “หากสามียังยืนยันจะมีเพศสัมพันธ์ ให้คุณใช้วิธีการต่อรอง โดยเสนอทางเลือกที่จะทำให้เขามีความรู้สึกด้วยวิธีอื่น ที่ผ่านมามีบ้างไหม” 3. ผัดผ่อน หรือ หาทางออกในโอกาสต่อไป “หากยืนยันว่าไม่ แต่ยังถูกรบเร้า และการต่อรอง ยังไม่ได้ผล คิดว่าจะทำอย่างไร” “การขอเลื่อนไปเป็นวันอื่น ถือเป็นการผัดผ่อน ซึ่งการขอเลื่อนอาจใช้ร่วมกับ การต่อรองโดยมีข้อเสนอใหม่ หรือสิ่งที่สามีพอใจด้วย คุณคิดว่ามีอะไรบ้าง”

วิธีการปรับปรุงการสื่อสารระหว่างบุคคล ปรับให้เหมาะสมกับ กาลเทศะ โอกาส และสถานการณ์ สร้างความน่าเชื่อถือ ด้วยความจริงใจ มีน้ำใจ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ด้วยวิธีการที่เหมาะสม - เพื่อเป็นแนวทางการคลี่คลายปัญหา - ตั้งคำถาม เพื่อให้เข้าใจปัญหาลึกซึ้ง ฟังและมีปฏิกิริยาตอบสนองด้วยความเข้าใจอันดีต่อกัน การเอาใจเขามาใส่ใจเรา ปกป้องสิทธิของตนโดยไม่แสดงความก้าวร้าว ไม่นำเรื่องราวของผู้อื่นไปเปิดเผย

การให้ความร่วมมือในการรักษาอย่างต่อเนื่อง ลักษณะของโรคที่ป่วยและได้รับการรักษา ลักษณะของยา หรือการรักษาที่ให้กับผู้ป่วย ลักษณะของการบริการสุขภาพ ลักษณะของผู้ป่วยเอง 4. สัมพันธภาพระหว่างผู้รักษา และผู้ป่วย

สรุป การให้บริการปรึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (S1-S4) 1. สำรวจความเข้าใจต่อโรคที่เป็นและวิธีการรักษา - สาเหตุการป่วยด้วยโรค STIs - พฤติกรรมทางเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย - สถานการณ์ที่จะต้องใช้พฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัยทดแทน สำรวจแรงจูงใจในการรักษาอย่างต่อเนื่องจนหาย , safer sex , การสื่อสารเพื่อพาคู่นอนมาตรวจ

3. ระบุแนวทางแก้ไขของการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองที่เกี่ยวกับ - การดูแลตนเองระหว่างการรักษา (มีอะไรบ้าง) - การมารับการรักษาอย่างต่อเนื่องจนหาย (เพราะอะไร) การมาพบแพทย์ตามนัด หลังการรักษา (เป็นอย่างไร) มีพฤติกรรมทางเพศสัมพันธ์ที่ไม่ปลอดภัย (เป็นอย่างไรบ้าง) การบอก/ภรรยา/คู่เพศสัมพันธ์ เรื่องการเจ็บป่วย / การป้องกัน (ฝึก..จะบอกอย่างไร Role play) การพาคู่เพศสัมพันธ์มารับการตรวจ (ฝึก...จะชวนอย่างไร Role play)

4. ประเมินความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติในประเด็นต่างๆตามข้อ 3 5. หากทำไม่ได้ให้ผู้รับบริการสำรวจ/พิจารณาปัญหาที่เกิดขึ้น (ให้ข้อมูลเพื่อให้ผู้รับบริการตัดสินใจ เกิดทางเลือก ปรับแก้ไข) 6. หากทำไม่ได้ให้ผู้รับบริการตรวจสอบ/คาดคะเนปัญหาที่เกิดขึ้น หรือ ผลกระทบที่อาจมองข้าม 7. ให้ผู้รับบริการวางแผนแก้ไข จนได้ข้อสรุปที่สามารถปฏิบัติได้ 8. ให้ผู้รับบริการทบทวนการปฏิบัติตัวตามที่ได้ปรับแก้ 9. ให้กำลังใจผู้รับบริการต่อความตั้งใจ ดูแลตนเองระหว่างการรักษา / ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม มีพฤติกรรมทางเพศที่ปลอดภัย / พาคู่นอนมาตรวจ รักษาอย่างต่อเนื่องจนหาย ประเภทของปัญหาของ CL 1. ปัญหาด้านข้อมูล ความรู้ 2. ปัญหาด้านอารมณ์ ความรู้สึก 3. ปัญหาด้านการตัดสินใจ หรือ ขาดทักษะปฏิบัติ

สวัสดีค่ะ