การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ปีงบประมาณ 2558

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
โอกาสและความท้าทาย ของศูนย์เด็กเล็ก และโรงเรียนอนุบาลปลอดโรคในอนาคต
Advertisements

แนวทางการบริหารงบประมาณ
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
มาตรฐานคุณภาพการสอน ของ คณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพครู (The National Board for Professional Teaching Standards) วิกฤติอาชีพครู พัฒนาวิชาชีพครู
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การสอบประเมินความสามารถทางภาษาอังกฤษ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทย บริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัด.
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 39 สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน 16 พฤษภาคม 2558 ณ โรงแรมน่านเจ้า จังหวัดพิษณุโลก การประชุมชี้แจง เรื่อง.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
แผนงาน / กิจกรรมตามนโยบายการ จัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของ กระทรวงศึกษาธิการ สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
1 2 ผลผลิต 2 โครงการพัฒนาความรู้ สารสนเทศ ด้านการบัญชี (PC1) หน่วย วัด แผนง าน ไตร มาส 3 แผนง าน ทั้งสิ้น ผลงา น ไตร มาส 3 ร้อยละ ไตร มาส 3 ร้อย ละ.
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ (กพค.)
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
Boot Camp & Regional English Training Centres
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
กลุ่มพัฒนาเครือข่ายและสถานศึกษาต้นแบบ (กพค.)
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศ ศธ. การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ชั้น ป. 1-3 ลว. 31 ต. ค
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
เปิดบ้าน ชื่อโรงเรียน วันที่.
หมวดศึกษาทั่วไป ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2556 ผู้สอน : อ.สำราญ ผลดี
ผู้อำนวยการสถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
ศาสตราจารย์คลินิก นายแพทย์อุดม คชินทร รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงศึกษาธิการ เป็นประธานการประชุมเรื่อง นโยบายและแนวทางของหลักสูตรครูคุณภาพเป็นเลิศ มหาวิทยาลัยราชภัฏ.
กลุ่มที่ 7 กาฬสินธุ์ ขอนแก่น ชัยภูมิ มหาสารคาม ร้อยเอ็ด นครราชสีมา.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
สถาบันภาษา Language Institute.
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การดำเนินงานต่อไป.
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่นโดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง (TOR) คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม . . ฝ่ายวิชาการ . .
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ปีงบประมาณ 2558 สถาบันภาษาอังกฤษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ลงวันที่ ๑๔ มกราคม ๒๕๕๗

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ๑. ใช้กรอบมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล ได้แก่ The Common European Framework of Reference for Languages (CEFR) เป็น กรอบความคิดหลักในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของประเทศไทย ทั้งในการออกแบบหลักสูตร การพัฒนาการเรียนการสอน การทดสอบ การวัดผล การพัฒนาครู รวมถึงการกำหนดเป้าหมายการเรียนรู้ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ๒. ปรับจุดเน้นการเรียนการสอน ภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามธรรมชาติ ของการเรียนรู้ภาษาที่เน้นการสื่อสาร (Communicative Language Teaching : CLT) โดยปรับการเรียนการสอนจาก การเน้นไวยากรณ์มาเป็นเน้นการสื่อสารที่เริ่มจาก การฟัง ตามด้วยการพูด การอ่าน และการเขียนตามลำดับ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ๓. ส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานหลัก ด้วยหลักสูตร แบบเรียน สื่อการเรียนการสอน แต่ด้วยวิธีการที่แตกต่างกันได้ ทั้งนี้ตามความพร้อมของแต่ละสถานศึกษา และแสดงถึงความถนัดและความสนใจของผู้เรียน ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ๔. ส่งเสริมการยกระดับความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ ได้แก่ ๔.๑) ขยายโครงการพิเศษด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ได้แก่ (๑) English Program (EP) (๒) Mini English Program (MEP) (๓) International Program (IP) (๔) English Bilingual Education (EBE) (๕) English for Integrated Studies (EIS) ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ๔.๒) พัฒนาห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (Enrichment Class) พัฒนาห้องเรียนสนทนาภาษาอังกฤษ (Conversation Class) รวมถึงการพัฒนาหลักสูตรและรายวิชาภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ๔.๓) ให้มีการเรียนการสอนวิชาสนทนาภาษาอังกฤษเป็นการทั่วไป และมีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษแบบเข้มข้น รวมถึงจัดให้เป็นสาระเพิ่มเติมในลักษณะวิชาเลือกได้ด้วย เพื่อให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความสนใจ ความถนัด และศักยภาพ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ๕. ยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสาร (CLT) และเป็นไปตามกรอบความคิดหลัก CEFR ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ๖. ส่งเสริมให้มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการช่วยพัฒนาความสามารถทางภาษาของครูและผู้เรียน ทั้งการส่งเสริมให้มีการผลิต การสรรหา e-content, learning applications รวมถึงแบบฝึกและแบบทดสอบที่ได้มาตรฐานและมีคุณภาพสำหรับการเรียนรู้ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ประกาศ สพฐ เกี่ยวกับ แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

๑. ใช้กรอบ CEFR เป็นกรอบความคิดหลักในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ level group A B C level group name Basic User ผู้ใช้ภาษาขั้นพื้นฐาน Independent User ผู้ใช้ภาษาขั้นอิสระ Proficient User ผู้ใช้ภาษาขั้นคล่องแคล่ว level A1 A2 B1 B2 C1 C2 level name Breakthrough or beginner Waystage or elementary Threshold or intermediate Vantage or upper intermediate Effective Operational Proficiency or advanced Mastery or proficiency ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง นโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

แนวทางในการดำเนินการ 1. ใช้ CEFR เป็นกรอบความคิดหลักในการเป้าหมายการจัดการเรียนรู้/การพัฒนา ระดับนักเรียน ระดับความสามารถ ทางภาษา ระดับความสามารถทางภาษาตามกรอบ CEFR ผู้สำเร็จการศึกษาระดับประถมศึกษา (ป.6) ผู้ใช้ภาษาขั้นเริ่มต้น A1 ผู้สำเร็จการศึกษาภาคบังคับ (ม.3) A2 ผู้สำเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.6/ปวช.) ผู้ใช้ภาษาขั้นอิสระ B1 แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ระดับ คำอธิบาย A1 ผู้เรียนสามารถใช้และเข้าใจประโยคง่ายๆในชีวิตประจำวัน สามารถแนะนำตัวเองและผู้อื่น ทั้งยังสามารถตั้งคำถามเกี่ยวกับบุคคลอื่นได้ เช่น เขาอยู่ที่ไหน รู้จักใครบ้าง มีอะไรบ้าง และตอบคำถามเหล่านี้ได้ ทั้งยังสามารถเข้าใจบทสนทนาเมื่อคู่สนทนาพูดช้าและชัดเจน A2 สามารถใช้และเข้าใจประโยคในชีวิตประจำวันในระดับกลางเช่น ข้อมูลเกี่ยวกับครอบครัวการจับจ่ายใช้สอย สถานที่ ภูมิศาสตร์ การทำงาน และสามารถสื่อสารในประโยคในการแลกเปลี่ยนข้อมูลทั่วไป และการใช้ชีวิตประจำวัน สามารถบรรยายความฝัน ความคาดหวัง ประวัติ สิ่งแวดล้อม และสิ่งอื่นๆที่จำเป็นต้องใช้ B1 ผู้เรียนสามารถพูด เขียน และจับใจความสำคัญของข้อความทั่วๆไปได้ เมื่อเป็นหัวข้อที่คุ้นเคย หรือสนใจ เช่น การทำงาน โรงเรียน เวลาว่าง ฯลฯ สามารถจัดการกับสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นระหว่างการเดินทางในประเทศที่ใช้ภาษาได้ สามารถบรรยายประสบการณ์ เหตุการณ์ ความฝัน ความหวัง พร้อมให้เหตุผลสั้นๆได้ แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

2. ใช้พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 3 2.ใช้พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 3. ใช้ในการจัดการเรียนการสอน 4. ใช้ในการทดสอบ และการวัดผล 5. ใช้เป็นกรอบในการพัฒนาครู CEFR Level TOEIC TOEFL Paper TOEFL CBT TOEFL IBT IELTS CU-TEP A1 0-110 0 - 310 0 - 30 0 - 8 0 - 1 n/a A2 110- 250 310 - 343 33 - 60 9 - 18 1 - 1.5 B1 255 - 400 347 - 393 63 - 90 19 - 29 2 - 2.5 397 - 433 93 - 120 30 - 40 3 - 3.5 B2 405 - 600 437 - 473 123 - 150 41 - 52 4 แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

สพฐ. - จัดทำเอกสารอธิบายและเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับกรอบมาตรฐาน - กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาครู และนักเรียน - กำหนดเป้าหมายในการพัฒนาครู และนักเรียน - สนับสนุน ให้บริการในการทดสอบวัดระดับความสามารถทางภาษา - รวบรวมแหล่งเรียนรู้ในการฝึกทำแบบทดสอบ แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ประชุมสัมมนา ชี้แจง และสาธิตแก่ครูผู้สอน - จัดหา ผลิตสื่อ สพท./ร.ร. 2. ปรับจุดเน้นการเรียนการสอนภาษาอังกฤษให้เป็นไปตามธรรมชาติของการเรียนรู้ภาษา โดยเน้นการสื่อสาร (Communicative Language Teaching: CLT) สพฐ. - สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ตามธรรมชาติของภาษา โดยการจัดอบรม ประชุมสัมมนา ชี้แจง และสาธิตแก่ครูผู้สอน - จัดหา ผลิตสื่อ สพท./ร.ร. -ศึกษา ทำความเข้าใจ ส่งครูเข้าอบรม - ส่งเสริมการเรียนการสอน แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

3. ส่งเสริมให้มีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษที่มีมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานหลัก สพฐ. จัดทำแนวดำเนินการสำหรับสถานศึกษาที่มีความพร้อมที่แตกต่างกัน (โรงเรียนที่มีความพร้อมน้อย ปานกลาง และ สูง) ส่งเสริมให้สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษอย่างมีมาตรฐาน การเข้าค่ายภาษาอังกฤษแบบเข้ม การเพิ่มชั่วโมงเรียน การจัดสภาพแวดล้อม/บรรยากาศ วางระบบและบริหารจัดการ และให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ สื่อ แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

๔. ส่งเสริมการยกระดับความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ การขยายโครงการพิเศษด้านการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ การพัฒนาห้องเรียนพิเศษภาษาอังกฤษ (Enrichment Class) จัดทำแผนขยายห้องเรียน / ทบทวนระเบียบ แนวปฏิบัติ และเกณฑ์การประเมิน สำหรับโรงเรียน ห้องเรียนโครงการพิเศษ EP/MEP, IP, EBE, EIS แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

5. ยกระดับความสามารถในการจัดการเรียนการสอนของครูให้สอดคล้องกับวิธีการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสาร (CLT) และเป็นไปตามกรอบความคิดหลัก CEFR 6. ส่งเสริมให้มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษาเป็นเครื่องมือสำคัญในการช่วยพัฒนาความสามารถทางภาษาของครูและผู้เรียน แนวปฏิบัติตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายการปฏิรูปการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

แนวดำเนินการ พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ปีงบประมาณ 2558 แนวดำเนินการ พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ปีงบประมาณ 2558

ตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน ๑ ตัวชี้วัดความสำเร็จการดำเนินงาน ๑. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้น โรงเรียนความพร้อมสูง เพิ่มขึ้นร้อยละ ๔-๕ โรงเรียนความพร้อมปานกลาง เพิ่มขึ้นร้อยละ ๓-๕ โรงเรียนความพร้อมน้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ ๒-๕ ๒. ทักษะการสื่อสาร โรงเรียนความพร้อมสูง เพิ่มขึ้นร้อยละ ๘๐ โรงเรียนความพร้อมปานกลาง เพิ่มขึ้นร้อยละ ๖๐ โรงเรียนความพร้อมน้อย เพิ่มขึ้นร้อยละ ๔๐

กิจกรรมส่งเสริมการเรียนการสอนภาษาอังกฤษเพื่อเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปีงบประมาณ 2558 (1) การพัฒนาศึกษานิเทศก์ผู้บริหารโครงการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ (Project Manager) (2) การพัฒนาบุคลากรศูนย์พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ระดับประถมศึกษา (PEER Center) (3) ค่ายวิชาการภาษาอังกฤษแบบเข้ม สำหรับนักเรียน (4) พัฒนารูปแบบการสอนภาษาอังกฤษเพื่ออาชีพ

(5) พัฒนาการเรียนการสอนภาษาอังกฤษตามระดับความพร้อมของโรงเรียน (6) พัฒนาศักยภาพโรงเรียนที่มีความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสูง (7) การประเมินความรู้ความสามารถภาษาอังกฤษของครูผู้สอนวิชาภาษาอังกฤษ (8) การพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษาด้านการวัดและประเมินผลภาษาอังกฤษ

(9) โครงการค่ายภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียน (10) โครงการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบ English Bilingual Education (EBE) (11) โครงการส่งเสริมศักยภาพผู้เรียนและการแข่งขันทักษะภาษาอังกฤษ (12) พัฒนาผู้จัดการศูนย์ ERIC และครูมัธยมศึกษาในเครือข่ายศูนย์ ERIC

Thank you….