(บรรยายตามงานงวดที่ 5) โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2561 – 2564 และแผนปฏิบัติการ 4 ปี สำนักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2561 – 2564 (บรรยายตามงานงวดที่ 5) รองศาสตราจารย์ ดร. ปกรณ์ ศิริประกอบ
การทบทวนสภาพแวดล้อม แผนยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม ฉบับที่ ๒ ๒๕๔๙-๒๕๕๒ ฉบับที่ ๓ ๒๕๕๓-๒๕๕๖ ฉบับที่ ๔ ๒๕๕๗-๒๕๖๐ DATE
วิสัยทัศน์แผนยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๔๙– ๒๕๕๒ ศาลยุติธรรมเป็นสถาบันหลักในการอำนวยความยุติธรรม และคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชนด้วยความเที่ยงธรรมและเสมอภาค ภายใต้หลักนิติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๓ – ๒๕๕๖ ศาลยุติธรรมดำรงไว้ซึ่งความเป็นธรรม ภายใต้หลักนิติธรรมเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ทั้งมุ่งส่งเสริมบทบาทการศาลยุติธรรมไทยให้เป็นที่ประจักษ์ในระดับสากลภายในปี พ.ศ. ๒๕๕๖ พ.ศ. ๒๕๕๗ – ๒๕๖๐ ศาลยุติธรรมเป็นผู้ใช้อำนาจตุลาการในการดำรงอำนาจอธิปไตยและรักษาความสงบเรียบร้อยของสังคม โดยการอำนวยความยุติธรรมภายใต้หลักนิติธรรมด้วยความรวดเร็ว เป็นธรรมและมีมาตรฐานเป็นที่ยอมรับในระดับสากล ทั้งมุ่งนำเทคโนโลยีที่เหมาะสมและทันสมัยมาใช้ เพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการอำนวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรมได้โดยง่าย ภายใน พ.ศ. ๒๕๖๐
วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ 3 แผน วิเคราะห์ยุทธศาสตร์ 3 แผน ประเด็นหลัก 49-52 53-56 56-60 รวม อำนวยความยุติธรรม X สิทธิ เสรีภาพ เสมอภาค มาตรฐานสากล 3 การสนับสนุนการอำนวยความยุติธรรม ยกระดับธุรการ การร่วมมือยุติธรรมระหว่างประเทศ (ในและระหว่าง) พัฒนาการให้บริการประชาชน พัฒนาการอำนวยการความยุติธรรมให้ศาลชำนัญพิเศษ - ศูนย์กลางด้านกฎหมาย/คดีชำนัญการพิเศษ 2 การประสานความร่วมมือยุทธศาสตร์ชาติด้านข้อพิพาทเชิงเศรษฐกิจ 1 เพิ่มศักยภาพการบริหารงานบุคคล ศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านกฎหมายและอำนวยความยุติธรรม
2. การสัมภาษณ์เชิงลึก 2.1 ผู้บริหารศาลยุติธรรมระดับสูงของ ศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม 2.2 ผู้ทรงคุณวุฒิในกระบวนการยุติธรรม ทั้ง อัยการ ตำรวจ ราชทัณฑ์ ทนายความ 2.3 ผู้บริหารจากกระทรวงยุติธรรม และอดีต ผู้บริหารสำนักงานศาลปกครอง 2.4 นักวิชาการด้านกระบวนการยุติธรรมและ การจัดทำแผนยุทธศาสตร์
3. การประชุมเชิงปฏิบัติการ เพื่อระดมความคิดเห็นจากผู้บริหาร ผู้ทรง- คุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญกระบวนการยุติธรรมถึงสภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอกของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรม จำนวน 1 ครั้ง เมื่อวันที่ 25 พฤษภาคม 2559 ณ โรงแรมเจ้าพระยา ปาร์ค (Clicker)
หลักการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมของศาลยุติธรรม © Copyright Showeet.com
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก P By 3 Cs clicker cricket clicked DATE
ท่านอยากเห็นศาลยุติธรรมมีวิสัยทัศน์แบบใด สั้น กระชับ ง่ายตอ่การจดจำ ยาวเพื่อเก็บใจความสำคัญได้ครบถ้วน Voted: 29
อำนวยความยุติธรรม 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน Voted: 29
การสนับสนุนการอำนวยความยุติธรรม 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน Voted: 29
การประสานความร่วมมือยุทธศาสตร์ชาติด้านข้อพิพาทเชิงเศรษฐกิจ 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน Voted: 29
การร่วมมือยุติธรรมระหว่างประเทศ 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน Voted: 29
การพัฒนาการให้บริการประชาชน 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน Voted: 29
เพิ่มศักยภาพการบริหารงานบุคคล 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน Voted: 29
พัฒนาการอำนวยการความยุติธรรมให้ศาลชำนัญพิเศษ 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน Voted: 29
ศูนย์กลางการเรียนรู้ด้านกฎหมายและอำนวยความยุติธรรม 1 คะแนน 2 คะแนน 3 คะแนน 4 คะแนน 5 คะแนน Voted: 29
ท่านประสงค์ให้ยุทธศาสตร์ของศาลยุติธรรม (2561-2564) มีรูปแบบใดดังต่อไปนี้ แบบจุฬาฯ ใช้ ภาษาไทยสองพยางค์ แบบเป็นประเด็น Florida State Court แบบชื่อศาล JUSTICE แบบเรียงตัวอักษร ABCDE Voted: 29
4. การประชุมกลุ่มย่อย เพื่อให้ผู้บริหารศาลยุติธรรมระดับสูงและผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญได้ให้ข้อแนะนำต่อ (ร่าง) วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ ตัวชี้วัด จำนวน 2 ครั้ง ณ ห้องประชุมราชาวดี 3-4 โรงแรมโกลเด้น ทิวลิป ซอฟเฟอริน ครั้งที่ 1 วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 09.00-12.00 น. ครั้งที่ 2 วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559 เวลา 13.00-16.00 น.
การประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559
การประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559
การประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559
การประชุมเชิงปฏิบัติการ วันที่ 15 พฤศจิกายน 2559
เพื่อรับฟังความคิดเห็น 5. การประชุมสัมมนา เพื่อรับฟังความคิดเห็น เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการให้ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเพื่อนำไปเป็นข้อมูลในการปรับปรุงร่างแผนยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2561-2564 จำนวน 2 ครั้ง ณ ห้องประชุมบอลรูม ฟอร์เย่ โรงแรมเจ้าพระยา ปาร์ค ครั้งที่ 1 วันที่ 6 มกราคม 2560 ครั้งที่ 2 วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560
การประชุมสัมมนา เพื่อรับฟังความคิดเห็น
6. การศึกษาดูงานศาล 6.1 ศาลจังหวัดมีนบุรี 6.2 ศาลแขวงพัทยา วันที่ 28 ธันวาคม 2559
การศึกษาเอกสาร การศึกษาเอกสาร การศึกษาเอกสาร การศึกษาเอกสาร
วิสัยทัศน์ “ศาลยุติธรรมเป็นสถาบันที่อำนวยความยุติธรรมเพื่อให้สังคมสงบสุข เป็นธรรมและเสมอภาคโดยยึดหลักนิติธรรม”
4 พันธกิจ 7 ยุทธศาสตร์ 7 เป้าประสงค์ 62 ตัวชี้วัด 77 แนวทาง แผนยุทธศาสตร์ศาลยุติธรรม พ.ศ. 2561 – 2564 และแผนปฏิบัติการ 4 ปี สำนักงานศาลยุติธรรม พ.ศ. 2561 – 2564 4 พันธกิจ 7 ยุทธศาสตร์ 7 เป้าประสงค์ 62 ตัวชี้วัด 77 แนวทาง
พันธกิจ 1. อำนวยความยุติธรรมเพื่อสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม 2. พัฒนาและสร้างระบบสนับสนุนการอำนวยความยุติธรรมให้มีความรวดเร็ว สะดวก ทันสมัยและเป็นสากล 3. เสริมสร้างความร่วมมือทางการศาลและกระบวนการยุติธรรมไทยและต่างประเทศ ธำรงความศรัทธาและเชื่อมั่นในการอำนวยความยุติธรรมเพื่อความสงบสุขและมั่นคงของสังคมไทยที่ยั่งยืน
ยุทธศาสตร์ JUSTICE J Justice for All ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลัก นิติธรรม U Uplift and Uphold Standard ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรมสู่ ระดับสากล S Stronger Specialized Court เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษ T Trusted Pillar เพิ่มความเชื่อมั่นศรัทธาในการอำนวยความ ยุติธรรม I Innovation พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรมของ ศาลยุติธรรม C Collaboration เร่งบูรณาการเครือข่ายด้านการยุติธรรมทั้ง ภายในประเทศและระหว่างประเทศ E Excellence Organization เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ
ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ J Justice for All ยึดมั่นการอำนวยความ ยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม สังคมไทยมีความสงบสุขเรียบร้อย สามัคคีปรองดอง อย่างมั่นคงและยั่งยืน U Uplift and Uphold Standard ยกระดับมาตรฐานระบบงาน ศาลยุติธรรมสู่ระดับสากล การอำนวยความยุติธรรมที่มีมาตรฐานใน ระดับสากลของศาลยุติธรรม S Stronger Specialized Court เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาล ชำนัญพิเศษ ศาลชำนัญพิเศษมีความเชี่ยวชาญในการ พิจารณาพิพากษาคดีชำนัญพิเศษและมี ระบบการสนับสนุนการอำนวยความ ยุติธรรมที่สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะ ของแต่ละประเภทคดี T Trusted Pillar คงความเชื่อมั่นศรัทธาในการ เป็นสถาบันหลักด้านการ อำนวยความยุติธรรม ประชาชนและสังคมศรัทธาและเชื่อมั่น ในกระบวนการอำนวยความยุติธรรมของ ศาลยุติธรรม
ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ I Innovation พัฒนานวัตกรรมการอำนวย ความยุติธรรมของศาล ยุติธรรม การบริหารคดีและการบริการของศาล ยุติธรรมมีความสะดวก รวดเร็วและเสีย ค่าใช้จ่ายน้อย C Collaboration เร่งบูรณาการเครือข่าย กระบวนการยุติธรรมทั้ง ภายในประเทศและระหว่าง ประเทศ หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมใน ประเทศและต่างประเทศ รวมถึง องค์การระหว่างประเทศให้การยอมรับ และให้ความร่วมมือทางการศาล การ ยุติธรรม และทางวิชาการ E Excellence Organization เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความ เป็นเลิศ ศาลยุติธรรมมีระบบงานตุลาการและ ระบบงานส่งเสริมงานตุลาการที่มีขีด สมรรถนะสูงในการสนับสนุนการอำนวย ความยุติธรรมให้ดำเนินไปอย่างมี ประสิทธิภาพ
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม เป้าประสงค์ สังคมไทยมีความสงบสุขเรียบร้อย สามัคคีปรองดองอย่างมั่นคงและยั่งยืน 9 ตัวชี้วัด – 9 แนวทาง
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 1.ผู้พิพากษา บุคลากรในกระบวนการยุติธรรมและผู้มาติดต่อราชการมีความมั่นใจในระบบและมาตรการรักษาความปลอดภัยของศาลยุติธรรม 2.จำนวนผู้ที่หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาลที่สามารถติดตามและประสานจับกุมได้มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง 1.จัดตั้งหน่วยงาน (Court Marshal) และเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร ระบบและมาตรการเพื่อรักษาและคุ้มครองความปลอดภัยของศาลยุติธรรมบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมและผู้มาที่ติดต่อราชการ รวมทั้งติดตามผู้ที่หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาลยุติธรรม สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล ตรวจสอบจากสถิติ
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 3. คู่ความ ผู้ต้องหา และผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพยานที่เป็นเด็ก เยาวชน สตรีผู้สูงอายุ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพทุกคนได้รับการคุ้มครองสิทธิจากการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลตามที่กฎหมายบัญญัติ 2.เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานศูนย์คุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน 3.ช่วยเหลือประชาชนให้สามารถยื่นคำร้องหรือฟ้องคดีด้วยตนเองได้ในคดีความผิดเล็กน้อยหรือคดีไม่มีข้อยุ่งยาก เช่น คดีผู้บริโภค คดีจัดการมรดก/คดีรับรองบุตร (ไม่มีข้อพิพาท) สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 4. คู่ความมีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการระบบทนายขอแรงของศาลยุติธรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงทนายขอแรงที่มีคุณภาพของศาลยุติธรรม สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล 5. ผู้ต้องหา จำเลย ผู้ประกันและผู้เกี่ยวข้องมีความพึงพอใจในมาตรฐานของระบบการขอปล่อยชั่วคราวไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ภายในปี พ.ศ. 2564 5. ยกระดับกระบวนการขอให้ปล่อยชั่วคราวตามหลักสิทธิมนุษยชนและเกณฑ์ที่กำหนด สร้างแบบสอบถามเพื่อเก็บข้อมูล
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 6. ศาลยุติธรรมมีกฎหมายคุ้มครองผู้พิพากษาจากการถูกฟ้องร้องอันเนื่องมาจากการปฏิบัติหน้าที่ 6. ดำเนินการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้มีผลคุ้มครองการปฏิบัติงานของผู้พิพากษา ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 7. คู่ความมีความพึงพอใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ของอนุญาโตตุลาการของสำนักอนุญาโตตุลาการ สำนักงานศาลยุติธรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 7. สร้างระบบประกันคุณภาพของการปฏิบัติงานอนุญาโตตุลาการ ให้ครอบคลุมการคัดเลือกจนกระทั่งการตรวจสอบการปฏิบัติงานของอนุญาโตตุลาการ สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 8. คู่ความมีความพึงพอใจต่อกระบวนการและความรู้ความสามารถของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยของศาลยุติธรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 8. เพิ่มระดับสมรรถนะบุคลากรผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยข้อพิพาท สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล 9. การระงับข้อพิพาทด้วยวิธีการอนุญาโตตุลาการ แล้วเสร็จไม่ต่ำกว่าร้อยละ 50 ภายในปี พ.ศ.2564 9. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานในการดำเนินกระบวนพิจารณาในชั้นอนุญาโตตุลาการ ตรวจสอบจากสถิติ
ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรม สู่ระดับสากล เป้าประสงค์ การอำนวยความยุติธรรมที่มีมาตรฐานในระดับสากลของศาลยุติธรรม 9 ตัวชี้วัด – 13 แนวทาง
ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรม สู่ระดับสากล ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 1. ศาลยุติธรรมมีผลคะแนนผ่านเกณฑ์ของทุกมาตรฐานสากลในด้านการอำนวยความยุติธรรมในระดับไม่ต่ำกว่าร้อยละ 80 (หรือเทียบเคียง) 1. มีหน่วยประกันคุณภาพของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรมเพื่อทำหน้าที่ในการเก็บรวบรวมผลการปฏิบัติงานของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรมตามมิติต่างๆของตัวชี้วัดตามมาตรฐานสากล ตรวจสอบจากผลประเมินของแต่ละตัวชี้วัดของมาตรฐานสากล
ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรม สู่ระดับสากล ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 2. อัตราการเลื่อนคดีที่ลดลงจากเดิมร้อยละ 10 2. เพิ่มประสิทธิภาพระบบการติดตามพยานที่สนับสนุนและสอดส่องให้คู่ความนำพยานมาเบิกความโดยไม่ต้องเลื่อนคดี ตรวจสอบ จากสถิติ 3. คู่ความที่เป็นคนพิการและผู้สูงอายุมีความพึงพอใจต่อการติดต่อศาลยุติธรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 3. ดำเนินการปรับปรุงอาคารสถานที่เดิมและแบบแปลนศาลใหม่ให้สอดคล้องกับหลัก Universal Design รวมทั้งมีการจัดเตรียมอุปกรณ์ต่างๆที่จำเป็นสำหรับคนพิการในห้องพิจารณาคดี สร้างแบบ สอบถามเพื่อเก็บข้อมูล
ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรม สู่ระดับสากล ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 4. คู่ความมีความพึงพอใจในบริการของล่ามแปลภาษาของศาลยุติธรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 4. เพิ่มประสิทธิภาพระบบการคัดเลือกและจัดสรร การพัฒนาและตรวจสอบประสิทธิภาพ รวมทั้งค่าตอบแทนของล่ามแปลภาษาของศาลยุติธรรม สร้างแบบ สอบถามเพื่อเก็บข้อมูล 5. ผู้ใช้งานเว็บไซต์ศาลยุติธรรมมีความพึงพอใจไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 5. พัฒนาเนื้อหาและรูปแบบการใช้งานของเว็บไซต์ศาลยุติธรรมให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งาน รวมทั้งครอบคลุมการเข้าถึงของกลุ่มคนพิการทางการมองเห็น
ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรม สู่ระดับสากล ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 6. คดีที่ขึ้นสู่ศาลพิจารณาแล้วเสร็จในแต่ละปี 6.1 ศาลชั้นต้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 6.2 ศาลอุทธรณ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 6.3 ศาลฎีกา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 6. เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบองค์คณะในการพิจารณาพิพากษาคดีและศาลสูงให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 7. พัฒนามาตรฐานการพิจารณาพิพากษาคดีอาญาให้มีความรวดเร็วต่อเนื่องและเป็นธรรม 8. จัดระบบการบริหารความเสี่ยงและระบบควบคุมภายในระบบงานธุรการศาลยุติธรรม ตรวจสอบ จากสถิติ
ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรม สู่ระดับสากล ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 7. ศาลยุติธรรมมีคดีที่ค้างพิจารณาของศาลชั้นต้นเกิน 2 ปีลดลง 9. เพิ่มศักยภาพกองผู้ช่วยผู้พิพากษาของศาลชั้นต้นให้สามารถสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีได้อย่างรวดเร็ว เป็นธรรม 10. เสริมสร้างมาตรฐานการพิจารณาพิพากษาคดีแต่ละประเภทให้แล้วเสร็จตามกรอบระยะเวลาที่กำหนด 11. กำหนดระยะเวลาในการพิจารณาคดีตามปกติ (Time Standard) ตรวจสอบ จากสถิติ
ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรม สู่ระดับสากล ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 8. จำเลยและผู้ต้องขังมีความพึงพอใจต่อสภาพห้องขังของศาลยุติธรรม ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 12. ดำเนินการสำรวจและปรับปรุงสภาพห้องขังของศาลยุติธรรม สร้างแบบ สอบถามเพื่อเก็บข้อมูล 9. ศาลมีฐานข้อมูลค่าใช้จ่ายในการพิจารณาพิพากษาคดีภายในปี พ.ศ. 2564 13. ดำเนินการศึกษาเพื่อจัดทำเป็นฐานข้อมูลการคำนวณค่าใช้จ่ายในการพิจารณาพิพากษาคดี มีรายงานผลการศึกษา
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษ และศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ เป้าประสงค์ ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษมีความเชี่ยวชาญในการพิจารณาพิพากษาคดีชำนัญพิเศษและมีระบบการสนับสนุนการอำนวยความยุติธรรมที่สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของแต่ละประเภทคดี 13 ตัวชี้วัด – 12 แนวทาง
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 1.ฐานข้อมูลคำพิพากษา /คำสั่งที่เป็นมาตรฐานเดียวกันในคดีแต่ละประเภทที่มีข้อเท็จจริงทำนองเดียวกันศาลชำนัญพิเศษแต่ละประเภทและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษภายในปี พ.ศ. 2562 และศาลต่าง ๆ สามารถสืบค้นได้ภายในปี พ.ศ. 2564 1.จัดทำฐานข้อมูลคำพิพากษา/คำสั่งศาลที่เกี่ยวข้องเพื่อให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษใช้เป็นแนวทางในการพิพากษาคดี ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 2. ศาลชำนัญพิเศษอย่างน้อย 1 ศาลสามารถใช้ภาษาอังกฤษในกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีได้ 2. พัฒนาระบบการบริหารจัดการคดีและบุคลากรที่เกี่ยวข้องให้สามารถ รองรับการพิจารณาพิพากษาคดีโดยใช้ภาษาอังกฤษ ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 3. ศาลยุติธรรมจัดตั้งศาลชำนัญพิเศษคดีพาณิชย์ภายในปี พ.ศ. 2562 3. ดำเนินการศึกษาความเหมาะสมในการจัดตั้งศาลชำนัญพิเศษคดีพาณิชย์ มีการจัดตั้งศาลชำนัญพิเศษ คดีพาณิชย์
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 4. สำนวนและคำพิพากษา/คำสั่งศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษมีความครบถ้วน 4. สร้างระบบตรวจสอบสำนวนและตรวจร่างคำพิพากษา/คำสั่งของศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ 5. เพิ่มศักยภาพกองผู้ช่วยผู้พิพากษาของศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีให้สามารถสนับสนุนการพิจารณาพิพากษาคดีได้อย่างรวดเร็ว เป็นธรรม ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 5. แผนความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ (Career Path) เพื่อเลื่อนตำแหน่งและแต่งตั้งผู้พิพากษาในศาลชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2561และถูกนำไปใช้ 6. จัดทำแผนความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ (Career Path) เพื่อเลื่อนตำแหน่งและแต่งตั้งผู้พิพากษาในศาลชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 6. การเลื่อนตำแหน่งและแต่งตั้งผู้พิพากษาในศาลชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษเป็นไปตามแผนความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ (Career Path) ภายในปี พ.ศ. 2562
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 7. การพัฒนาผู้พิพากษาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษเป็นไปตามแผนพัฒนาผู้พิพากษาและผู้พิพากษาอาวุโสรายบุคคลภายในปี พ.ศ. 2563 7. จัดทำแผนพัฒนาผู้พิพากษาและผู้พิพากษาอาวุโสรายบุคคล (IDP) ในศาลชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในคดีชำนัญพิเศษและมีความรู้ความสามารถในระดับสากล ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 8. ผู้พิพากษาและผู้พิพากษาอาวุโสในศาลชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษมีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในคดีชำนัญพิเศษและมีความรู้ความสามารถในระดับสากล สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 9. การเลื่อนตำแหน่งและการแต่งตั้งโยกย้ายของผู้พิพากษาในศาลชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษใช้ข้อมูลจากผลการประเมินตามเกณฑ์ภายในปี พ.ศ. 2563 8. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานการประเมินผลงานระดับบุคคล (IDP) ของผู้พิพากษาในศาลชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ โดยคำนึงถึงความรู้ความสามารถในคดีชำนัญพิเศษเป็นองค์ประกอบสำคัญ ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 10. ผู้พิพากษาสมทบในศาลชำนัญพิเศษ (ศาลแรงงาน และศาลเยาวชนและครอบครัว) มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในคดีชำนัญพิเศษและมีความรู้ความสามารถในระดับสากล 9. จัดทำแผนพัฒนาผู้พิพากษาสมทบในศาลชำนัญพิเศษ (ศาลแรงงาน และศาลเยาวชน) ให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในคดีชำนัญพิเศษและมีความรู้ความสามารถในระดับสากล สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 11. ผู้พิพากษาศาลชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษมีความพึงพอใจในศักยภาพของข้าราชการศาลยุติธรรมในการสนับสนุนการปฏิบัติงานของผู้พิพากษาให้มีประสิทธิภาพไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 10. จัดทำแผนพัฒนาข้าราชการศาลยุติธรรมในศาลชำนัญพิเศษทุกประเภทคดีและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษให้มีความรู้ความสามารถและความเชี่ยวชาญในระดับที่สามารถสนับสนุนการปฏิบัติงานของผู้พิพากษาให้มีประสิทธิภาพ สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์คดีชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 12. คู่ความมีความเชื่อมั่นต่อความรู้ความสามารถของผู้พิพากษาในการไกล่เกลี่ยของศาลชำนัญพิเศษไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 11. ยกระดับความรู้ความสามารถในการไกล่เกลี่ยของผู้พิพากษาศาลชำนัญพิเศษเพื่อให้สามารถดำเนินการไกล่เกลี่ยได้อย่างมีประสิทธิภาพ สร้างแบบสอบถาม เพื่อเก็บข้อมูล 13. ผู้พิพากษามีความพึงพอใจต่อผลการปฏิบัติหน้าที่ของผู้พิพากษาสมทบศาลชำนัญพิเศษ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 12. ปรับปรุงหลักเกณฑ์การคัดเลือกและวิธีการอบรมผู้พิพากษาสมทบของศาลชำนัญพิเศษให้มีความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านและมีความรู้ความสามารถระดับสากล
ยุทธ์ศาสตร์ T (Trusted Pillar) เพิ่มความเชื่อมั่นศรัทธาในการอำนวยความยุติธรรม เป้าประสงค์ ประชาชนและสังคมศรัทธาและเชื่อมั่นในกระบวนการอำนวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรม 8 ตัวชี้วัด – 8 แนวทาง
ยุทธ์ศาสตร์ T (Trusted Pillar) เพิ่มความเชื่อมั่นศรัทธาในการอำนวยความยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 1. ศาลยุติธรรมมีคู่มือการติดต่อราชการทั้งเอกสารและสื่ออิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 5 ภาษา ภายในปี พ.ศ. 2564 1. จัดทำคู่มือการติดต่อราชการของศาลแต่ละประเภทและทุกชั้นศาล พร้อมทั้งดำเนินการแปลเป็นภาษาต่างประเทศ ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 2. ศาลมีสื่อในรูปแบบต่างๆ ทั้งเอกสาร คลิปวีดีโอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในการสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางเลือกภายในปี พ.ศ. 2564 2. จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการยุติธรรมทางเลือก ผ่านเว็บไซต์ในรูปแบบสื่อต่างๆ ทั้งเอกสาร คลิปวีดีโอทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ยุทธ์ศาสตร์ T (Trusted Pillar) เพิ่มความเชื่อมั่นศรัทธาในการอำนวยความยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 3. ศาลยุติธรรมมีสถิติและฐานข้อมูลต่างๆ ที่สามารถสืบค้นผ่านเว็บไซต์ ภายในปี พ.ศ. 2563 3. จัดทำฐานข้อมูลต่างๆของศาลยุติธรรมเพื่อให้ศาลยุติธรรมและหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมสามารถสืบค้นได้ผ่านเว็บไซต์ ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 4. ฐานข้อมูลแนวคำพิพากษา/คำสั่งศาลฎีกาแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2562 และศาลต่าง ๆ สามารถสืบค้นได้ภายในปี พ.ศ. 2564 4. จัดทำฐานข้อมูลแนวคำพิพากษา/คำสั่งศาลฎีกาเพื่อให้ศาลต่างๆใช้เป็นแนวทางในการพิพากษาคดี
ยุทธ์ศาสตร์ T (Trusted Pillar) เพิ่มความเชื่อมั่นศรัทธาในการอำนวยความยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 5. ฐานข้อมูลแนวคำพิพากษา/คำสั่งศาลอุทธรณ์ ภายในปีงบประมาณ 2562 และศาลต่าง ๆ สามารถสืบค้นได้ภายในปีงบประมาณ 2564 5. จัดทำฐานข้อมูลแนวคำพิพากษา/คำสั่งศาลชั้นอุทธรณ์เพื่อให้ศาลชั้นอุทธรณ์ทั้งหมดและศาลชั้นต้นใช้เป็นแนวทางในการพิพากษาคดี ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 6. ศาลมีฐานข้อมูลที่จำเป็นสำหรับการศึกษาค้นคว้าด้านกฎหมายสำหรับประชาชนแล้วเสร็จและให้บริการได้ภายในปี พ.ศ. 2563 6. จัดตั้งศูนย์กลางทางวิชาการด้านกฎหมายและคดีเพื่อให้บริการแก่ประชาชนและผู้เกี่ยวข้อง
ยุทธ์ศาสตร์ T (Trusted Pillar) เพิ่มความเชื่อมั่นศรัทธาในการอำนวยความยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 7. ศาลยุติธรรมมีการดำเนินการแก้ไขตามข้อร้องเรียนให้เสร็จสิ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของข้อร้องเรียนในแต่ละปี 7. วางระบบการรับเรื่องร้องเรียน บริหารและติดตามการดำเนินการจัดการตามข้อร้องเรียน ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 8. การพิจารณาคดีตามปกติของศาลยุติธรรมเสร็จสิ้นภายในระยะเวลาที่กำหนด (Time Standard) 8. ปรับปรุงขั้นตอนการดำเนินการของศาลยุติธรรมให้มีคล่องตัว สะดวก รวดเร็วมากขึ้น
ยุทธศาสตร์ I Innovation พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม ของศาลยุติธรรม เป้าประสงค์ การบริหารคดีและการบริการของศาลยุติธรรมมีความสะดวก รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายน้อย 5 ตัวชี้วัด – 15 แนวทาง
ยุทธศาสตร์ I Innovation พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม ของศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 1.ศาลยุติธรรมมีระบบการบริหารคดีอิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 5 ระบบภายในปี พ.ศ. 2564 1. ต่อยอดการนำระบบดิจิตอลมาใช้เพื่อสนับสนุนให้การเข้าถึงและการอำนวยความยุติธรรมสะดวก รวดเร็วมากยิ่งขึ้น 2. เพิ่มประสิทธิภาพระบบการยื่นและส่งคำคู่ความหรือคำสั่งศาลและเอกสารอื่นโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ให้มีประสิทธิภาพและทั่วถึง ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
ยุทธศาสตร์ I Innovation พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม ของศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 1.ศาลยุติธรรมมีระบบการบริหารคดีอิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 5 ระบบภายในปี พ.ศ. 2564 (ต่อ) 3.เพิ่มประสิทธิภาพระบบการพิจารณาคดีโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 4.เพิ่มประสิทธิภาพระบบห้องพิจารณาคดีอิเล็กทรอนิกส์และฐานข้อมูลเพื่อการสืบค้น 5.เพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดเก็บสำนวนแลข้อมูลคดีโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ 6.เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารจัดการข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์และข้อมูลสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจของผู้บริหาร ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
ยุทธศาสตร์ I Innovation พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม ของศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 1.ศาลยุติธรรมมีระบบการบริหารคดีอิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 5 ระบบภายในปี พ.ศ. 2564 (ต่อ) 7.เพิ่มประสิทธิภาพระบบการจัดเก็บและให้บริการคัดสำเนาคำพิพากษาระหว่างศาลทั่วประเทศในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ 8.เพิ่มประสิทธิภาพระบบงานและบูรณาการฐานข้อมูลการบังคับคดีประกัน 9.เพิ่มประสิทธิภาพระบบสารสนเทศสำนวนคดีศาลยุติธรรมให้มีประสิทธิภาพ ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
ยุทธศาสตร์ I Innovation พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม ของศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 2. ศาลยุติธรรมมีงานวิจัยและผลงานทางวิชาการที่สนับสนุนระบบงานส่งเสริมงานตุลาการอย่างน้อย 5 เรื่องต่อปี 10. สนับสนุนให้บุคลากรของศาลยุติธรรมจัดทำผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการที่สนับสนุนระบบงานส่งเสริมงานตุลาการ ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 3. จำนวนกฎหมายที่ศาลยุติธรรมเสนอเพื่อขอแก้ไขบทบัญญัติให้สามารถคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้เพิ่มขึ้น อย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง 11. ผลักดันให้มีจัดกิจกรรมทางวิชาการเพื่อรวบรวมประเด็นที่ควรเสนอปรับแก้ไขกฎหมายอย่างต่อเนื่องให้สามารถคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้เพิ่มขึ้น
ยุทธศาสตร์ I Innovation พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม ของศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 4. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของศาลยุติธรรมในงานที่นอกเหนือจากการพิจารณาพิพากษาคดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 12. ริเริ่มมาตรการหรือวิธีการที่ช่วยลดระยะเวลารอการประกันตัวของผู้ต้องหา 13. นำมาตรการหรือวิธีการที่สามารถป้องกันการหลบหนีมาใช้แทนการเรียกหลักประกันเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาหรือจำเลยในการปล่อยชั่วคราว 14. ส่งเสริมการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาเพื่อแก้ไขเยียวยาผู้เสียหาย ผู้กระทำผิด ชุมชนและป้องกันการกระทำผิด สร้างแบบ สอบถามเพื่อเก็บข้อมูล
ยุทธศาสตร์ I Innovation พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรม ของศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 5. ศาลมีข้อสรุปเกี่ยวกับการจัดตั้งวิทยาลัยเพื่อสร้างหลักสูตรการพัฒนาผู้พิพากษาสมทบ ผู้ประนีประนอมและอนุญาโตตุลาการที่ตอบสนองภารกิจของศาลยุติธรรมและสำนักงานศาลยุติธรรมภายในปี พ.ศ. 2564 15. ศึกษาความจำเป็นและความคุ้มค่าในการจัดตั้งวิทยาลัยเพื่อเป็นสถาบันที่พัฒนาผู้พิพากษาสมทบ ผู้ประนีประนอมและอนุญาโตตุลาการ มีการจัดทำข้อสรุป
ยุทธศาสตร์ C (Collaboration) เร่งบูรณาการเครือข่ายด้านความยุติธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ เป้าประสงค์ หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงองค์การระหว่างประเทศให้การยอมรับและให้ความร่วมมือทางการศาล การยุติธรรม และทางวิชาการ 7 ตัวชี้วัด – 7 แนวทาง
ยุทธศาสตร์ C (Collaboration) เร่งบูรณาการเครือข่ายด้านความยุติธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 1. ศาลยุติธรรมมีระบบฐานข้อมูลคดีที่หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมสามารถเข้าถึงและสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ในปี พ.ศ. 2563 1.พัฒนา/บูรณาการความร่วมมือในการจัดทำฐานข้อมูลกลางหรือการแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ต้องหาหรือจำเลยหรือข้อมูลคดีเช่นประวัติการต้องโทษหรือพ้นโทษกับหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
ยุทธศาสตร์ C (Collaboration) เร่งบูรณาการเครือข่ายด้านความยุติธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 2. กิจกรรมภายใต้การประสานความร่วมมือด้านการยุติธรรมในประเทศไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ได้ถูกนำไปใช้ให้เกิดผลในทางปฏิบัติภายในปี พ.ศ.2561 2.ร่วมมือกับหน่วยงานอื่นในกระบวนการยุติธรรมเพื่อขับเคลื่อนนโยบายและสร้างความร่วมมือด้านกระบวนการยุติธรรมในการอํานวยความยุติธรรมให้แก่ประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
ยุทธศาสตร์ C (Collaboration) เร่งบูรณาการเครือข่ายด้านความยุติธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 3. ศาลยุติธรรมมีความรู้ความเข้าใจในข้อเท็จจริงและสภาพการปฏิบัติงานของหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมเพิ่มมากขึ้น 3.จัดกิจกรรมระหว่างศาลยุติธรรมและหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลและความรู้เข้าใจกระบวนงานที่จะสร้างประสิทธิภาพการทำงานของภาครัฐและสามารถตอบสนองความต้องการของผู้มีส่วนได้เสีย สร้างแบบสอบถาม เพื่อเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจก่อน-หลัง
ยุทธศาสตร์ C (Collaboration) เร่งบูรณาการเครือข่ายด้านความยุติธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 4. ศาลยุติธรรมมีข้อตกลงความร่วมมือในการสืบพยานทางไกลกับต่างประเทศ 4.ประสานความร่วมมือในการได้มาซึ่งพยานหลักฐานที่อยู่ต่างประเทศหรือการส่งหมายระหว่างประเทศ/ความร่วมมือในการสืบพยานทางไกลผ่าน VDO Conference มีการลงนามในข้อตกลงความร่วมมือ 5. ศาลเยาวชนและครอบครัวทั่วประเทศมีเครือข่ายชุมชนที่มีส่วนร่วมในการแก้ไขบำบัดฟื้นฟูเด็ก เยาวชนและครอบครัวเพิ่มขึ้นร้อยละ10 5. จัดให้มีระบบบริหารเครือข่ายชุมชนที่มีประสิทธิภาพและสามารถผลักดันให้เกิดการแก้ไขบำบัดฟื้นดูเด็ก เยาวชนและครอบครัวได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตรวจสอบจากจำนวนข้อมูลเครือข่าย
ยุทธศาสตร์ C (Collaboration) เร่งบูรณาการเครือข่ายด้านความยุติธรรม ทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 6. ศาลมีองค์ความรู้เกี่ยวกับระบบศาลนานาชาติที่ถูกต้อง เป็นปัจจุบันและ สามารถนำความรู้ไปถ่ายทอดแก่สังคมได้ 6.ขยายความร่วมมือทางด้านวิชาการการฝึกอบรมและการแลกเปลี่ยนบุคลากรกับต่างประเทศ -มีการปรับปรุงข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน -มีการจัดกิจกรรมทางวิชาการถ่ายทอดองค์ความรู้ 7.ศาลยุติธรรมมีข้อสรุปเกี่ยวกับความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคอาเซียนด้านการฟื้นฟูเยาวชนต่างด้าวผู้กระทำความผิดภายในปี พ.ศ. 2564 7.ศึกษาแนวทางความร่วมมือกับประเทศในภูมิภาคอาเซียนด้านการฟื้นฟูเยาวชนต่างด้าวผู้กระทำความผิด มีการจัดทำข้อสรุป
ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ เป้าประสงค์ ศาลยุติธรรมมีระบบงานตุลาการและระบบงานส่งเสริมงานตุลาการ ที่มีขีดสมรรถนะสูงในการสนับสนุนการอำนวยความยุติธรรมให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ 11 ตัวชี้วัด – 13 แนวทาง
ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้พิพากษาได้รับการทบทวนและปรับปรุงภายในปี พ.ศ. 2562 ทบทวนและปรับปรุงระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานของผู้พิพากษาให้สามารถสะท้อนผลการปฏิบัติงานที่เป็นจริง ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 2. หลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรของศาลยุติธรรมได้รับการประเมินและปรับปรุงไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 2. ทบทวนและปรับปรุงหลักสูตรการฝึกอบรมของบุคลากรของศาลยุติธรรมให้มีความรู้ความสามารถทันกับบริบททางกฎหมาย ระเบียบและสังคมที่เปลี่ยนไป และรองรับการทำงานแบบหลายภาระงาน (multi-function)
ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 3. ศาลยุติธรรมมีข้อสรุปเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรภายในปี พ.ศ. 2562 3.ปรับปรุงโครงสร้างและระบบงานของสํานักงานศาลยุติธรรมและสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาคโดยมุ่งเน้นการกระจายอํานาจเพื่อสนับสนุนภารกิจของศาลยุติธรรมตลอดจนวางแผนและจัดการบริหารงานบุคคลให้เหมาะสม มีการจัดทำข้อสรุป 4.ศาลยุติธรรมมีช่องทาง Social Media เพื่อสื่อสารกับบุคลากรภายในศาลยุติธรรมครบทุกสำนัก และมีการปรับให้เป็นปัจจุบันตลอดเวลา 4.เพิ่มช่องทางในการสื่อสารเพื่อประชาสัมพันธ์ของสำนักต่าง ๆ ไปยังบุคลากรของศาลยุติธรรมผ่าน Social Media มากขึ้น เพื่อให้สามารถรับทราบความเคลื่อนไหวของกฎหมาย ระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 5. ฐานข้อมูลบุคลากรของศาลยุติธรรมแบบ Real-time ถูกจัดทำขึ้น 5. จัดทำระบบการจัดเก็บข้อมูลบุคลากรของศาลยุติธรรมที่สามารถนำเสนอรายงานได้แบบ Real-time ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 6. ศาลมีระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของระบบบริหารและระบบสำนักงานที่มีความเชื่อมโยงที่มีความปลอดภัย และนำไปใช้ภายในปี พ.ศ. 2562 อย่างน้อย 2 ระบบ 6.เพิ่มประสิทธิภาพระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรองรับระบบบริหารและระบบสำนักงาน
ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 7. โครงสร้างและแผนอัตรากำลังข้าราชการศาลยุติธรรมที่กำหนดจำนวนอัตรากำลังที่เหมาะสมสอดคล้องกับภารกิจตามแผนยุทธศาสตร์ ได้รับการทบทวนแล้วเสร็จและนำไปใช้เป็นกรอบในการบริหารทรัพยากรบุคคลภายในปี พ.ศ. 2563 7. ทบทวนความเหมาะสมของการจัดสรรกำลังคนและดำเนินการวางแผนกำลังคนของศาลยุติธรรมเพื่อให้สามารถอำนวยความยุติธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ตรวจสอบ จากข้อเท็จจริง
ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 8. ศาลยุติธรรมเป็น Happy Workplace 8. จัดสวัสดิการและยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้พิพากษาและบุคลากรในศาลยุติธรรมทุกระดับเพื่อให้มีความเข้มแข็ง มั่นคง มีความพร้อมในการปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ 9. จัดทำแผนสร้างสมดุลยภาพระหว่างชีวิตและการทำงาน(Work-Life-Balance) 10. ลดขั้นตอนการขออนุมัติเบิกจ่าย/ซ่อมแซมวัสดุ/ครุภัณฑ์ /อาคารบ้านพัก สร้างแบบ สอบถามเพื่อเก็บข้อมูล
ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 9. ศาลมีการปรับปรุงเงินเดือน ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์ และสวัสดิการให้สูงขึ้นอย่างน้อย 1 เรื่อง ภายในปี พ.ศ. 2562 11. ศึกษาทบทวนเงินเดือน ค่าตอบแทน สิทธิประโยชน์และสวัสดิการของบุคลากรศาลยุติธรรมให้สอดคล้องกับบริบทในอนาคต ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง 10. ตัวชี้วัดมาตรฐานการประเมินบุคคลในแต่ละสายงานจัดทำแล้วเสร็จภายในปี พ.ศ. 2563 12. จัดทำเกณฑ์มาตรฐานการประเมินผลงานของบุคลากรทุกระดับ / ประเภท (Standard to be used in evaluating of performance) ที่ใช้เป็นข้อมูลประกอบการแต่งตั้ง การเลื่อนตำแหน่งและการโยกย้ายแต่งตั้ง
ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ วิธีการวัดผลตัวชี้วัด 11. ศาลยุติธรรมจัดทำแผนความก้าวหน้าในสายอาชีพของผู้พิพากษาและข้าราชการศาลยุติธรรมแล้วเสร็จ และนำไปใช้เป็นเกณฑ์ในการบริหารทรัพยากรบุคคล ภายในปี พ.ศ. 2562 13. จัดทำแผนความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ (Career Path) ของผู้พิพากษาและข้าราชการศาลยุติธรรมรายตำแหน่งที่ชัดเจนที่ส่งเสริมขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน ตรวจสอบจากข้อเท็จจริง
Project Ideas นำเสนอ ร่างแผน ฯ ฉบับที่ 5 ทบทวน ปรับแก้ การประชุม กบศ การประชุม กบศ 22 พ.ค. 60 ทบทวน ปรับแก้ ทบทวน สอบทาน Project Ideas แผนการปฏิรูป ศาลยุติธรรม ตาม ร.ธ.น. 2560
ประเด็นในการพิจารณา Project Ideas “เรื่อง” แผนการปฏิรูปศาลยุติธรรมตาม รธน 2560 “แนวทาง” (กลยุทธ์) ร่างแผนฯ 5 ฉบับแก้ไขตามมติ กบศ สอดคล้องกัน ตัวอย่าง 13 แนวทาง ยกเว้นยุทธศาสตร์ T /C Project Ideas
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม เป้าประสงค์ สังคมไทยมีความสงบสุขเรียบร้อย สามัคคีปรองดอง อย่างมั่นคงและยั่งยืน
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 1.ผู้พิพากษา บุคลากรในกระบวนการยุติธรรมและผู้มาติดต่อราชการมีความมั่นใจในระบบและมาตรการรักษาความปลอดภัยของศาลยุติธรรม 2.จำนวนผู้ที่หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาลที่สามารถติดตามและประสานจับกุมได้มีจำนวนเพิ่มขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง 1. จัดตั้งหน่วยงาน (Court Marshal) และเตรียมความพร้อมด้านบุคลากร ระบบและมาตรการเพื่อรักษาและคุ้มครองความปลอดภัยของศาลยุติธรรมบุคลากรในกระบวนการยุติธรรมและผู้มาที่ติดต่อราชการ รวมทั้งติดตามผู้ที่หลบหนีการปล่อยชั่วคราวโดยศาลยุติธรรม ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การจัดตั้ง “Court Marshal” เพื่อปฏิบัติภารกิจในการติดตามจับกุม ผู้หลบหนีการปล่อยชั่วคราว
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 3. คู่ความ ผู้ต้องหา และผู้ที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งพยานที่เป็นเด็ก เยาวชน สตรีผู้สูงอายุ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพทุกคนได้รับการคุ้มครองสิทธิจากการดำเนินกระบวนพิจารณาในศาลตามที่กฎหมายบัญญัติ 3. ช่วยเหลือประชาชนให้สามารถยื่นคำร้องหรือฟ้องคดีด้วยตนเองได้ในคดีความผิดเล็กน้อยหรือคดีไม่มีข้อยุ่งยาก เช่น คดีผู้บริโภค คดีจัดการมรดก/คดีรับรองบุตร (ไม่มีข้อพิพาท) ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การจัดการคดีเล็ก ๆ น้อย หรือคดีไม่มีข้อยุ่งยาก (Small Claim Court)
ยุทธ์ศาสตร์ J (justice for all) ยึดมั่นการอำนวยความยุติธรรมด้วยหลักนิติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 4. คู่ความมีความพึงพอใจต่อการบริหารจัดการระบบทนายขอแรงของศาลยุติธรรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 4. เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงทนายขอแรงที่มีคุณภาพของศาลยุติธรรม ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การเพิ่มประสิทธิภาพการอำนวยความยุติธรรมของทนายขอแรง และที่ปรึกษากฎหมาย
ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรม สู่ระดับสากล เป้าประสงค์ การอำนวยความยุติธรรมที่มีมาตรฐานในระดับสากลของศาลยุติธรรม
ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรมสู่ระดับสากล ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 7. คดีที่ขึ้นสู่ศาลพิจารณาแล้วเสร็จในแต่ละปี 7.1 ศาลชั้นต้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 95 7.2 ศาลอุทธรณ์ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 7.3 ศาลฎีกา ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 75 7. เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบองค์คณะในการพิจารณาพิพากษาคดีและศาลสูงให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การเสริมสร้างประสิทธิภาพในการนั่งพิจารณาคดีครบองค์คณะ
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ ยุทธ์ศาสตร์ U (Uplift and uphold Standard) ยกระดับมาตรฐานระบบงานศาลยุติธรรมสู่ระดับสากล ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 11. ศาลยุติธรรมมีคดีที่ค้างพิจารณาของศาลชั้นต้นเกิน 2 ปีลดลง 12. กำหนดระยะเวลาในการพิจารณาคดีตามปกติ (Time Standard) ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การกำหนดระยะเวลาในการพิจารณาพิพากษาคดี
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษ และศาลอุทธรณ์ชำนัญพิเศษ เป้าประสงค์ ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์ชำนัญพิเศษมีความเชี่ยวชาญในการพิจารณาพิพากษาคดีชำนัญพิเศษและมีระบบการสนับสนุนการอำนวยความยุติธรรมที่สอดคล้องกับลักษณะเฉพาะของแต่ละประเภทคดี
ยุทธ์ศาสตร์ S (Stronger Specialized Court) เพิ่มความเข้มแข็งให้ศาลชำนัญพิเศษและศาลอุทธรณ์ชำนัญพิเศษ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 3. จัดตั้งศาลชำนัญพิเศษคดีพาณิชย์ภายในปี พ.ศ. 2562 3. ดำเนินการศึกษาความเหมาะสมในการจัดตั้งศาลชำนัญพิเศษคดีพาณิชย์ ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การจัดตั้งศาล/แผนกคดีพิเศษ (แผนกคดีพาณิชย์)
ยุทธศาสตร์ I (Innovation) พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรม เป้าประสงค์ การบริหารคดีและการบริการของศาลยุติธรรม มีความสะดวก รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายน้อย
ยุทธศาสตร์ I (Innovation) พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรมของ ศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 2. ศาลยุติธรรมมีระบบการบริหารคดีอิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อย 5 ระบบภายในปี พ.ศ. 2564 2.พัฒนาและต่อยอดการนำระบบดิจิตอลมาใช้เพื่อสนับสนุนให้การเข้าถึงและการอำนวยความยุติธรรมสะดวกรวดเร็วมากยิ่งขึ้น ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การใช้เทคโนโลยีและสารสนเทศในการบริหารจัดการคดีและการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ ยุทธศาสตร์ I (Innovation) พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 5. จำนวนกฎหมายที่ศาลยุติธรรมเสนอเพื่อขอแก้ไขบทบัญญัติให้สามารถคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้เพิ่มขึ้น อย่างน้อยปีละ 1 เรื่อง 11. ผลักดันให้มีจัดกิจกรรมทางวิชาการเพื่อรวบรวมประเด็นที่ควรเสนอปรับแก้ไขกฎหมายอย่างต่อเนื่องให้สามารถคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้เพิ่มขึ้น ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การแก้ไขกฎหมายการใช้โทษปรับตามรายได้ (Day Fines) เพื่อทดแทนโทษจำคุกในกรณีที่กระทำความผิดที่มิใช่ความผิดอุจฉกรรณ์และวิธีการบังคับค่าปรับ (แผนปฏิรูปศาลยุติธรรม)
ยุทธศาสตร์ I (Innovation) พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 6. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของศาลยุติธรรมในงานที่นอกเหนือจากการพิจารณาพิพากษาคดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 13. นำมาตรการหรือวิธีการที่สามารถป้องกันการหลบหนีมาใช้แทนการเรียกหลักประกันเพื่อคุ้มครองสิทธิของผู้ต้องหาหรือจำเลยในการปล่อยชั่วคราว ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การประเมินความเสี่ยงและการกำกับดูแลในชั้นการปล่อยชั่วคราว
ยุทธศาสตร์ I (Innovation) พัฒนานวัตกรรมการอำนวยความยุติธรรมของศาลยุติธรรม ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 6. ประชาชนมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของศาลยุติธรรมในงานที่นอกเหนือจากการพิจารณาพิพากษาคดีไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 14. ส่งเสริมการใช้มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาเพื่อแก้ไขเยียวยาผู้เสียหาย ผู้กระทำผิด ชุมชนและป้องกันการกระทำผิด ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การช่วยเหลือ สงเคราะห์และการแก้ไขบำบัดฟื้นฟู ในคดีอาญา
ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ เป้าประสงค์ ศาลยุติธรรมมีระบบงานตุลาการและระบบงานส่งเสริมงานตุลาการ ที่มีขีดสมรรถนะสูงในการสนับสนุนการอำนวยความยุติธรรมให้ดำเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 3. ศาลยุติธรรมมีข้อสรุปเกี่ยวกับการปรับปรุงโครงสร้างองค์กรภายในปี พ.ศ. 2562 3.ปรับปรุงโครงสร้างและระบบงานของสํานักงานศาลยุติธรรมและสํานักงานอธิบดีผู้พิพากษาภาคโดยมุ่งเน้นการกระจายอํานาจเพื่อสนับสนุนภารกิจของศาลยุติธรรมตลอดจนวางแผนและจัดการบริหารงานบุคคลให้เหมาะสม ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การพัฒนาโครงสร้างศาล
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 7. โครงสร้างและแผนอัตรากำลังข้าราชการศาลยุติธรรมที่กำหนดจำนวนอัตรากำลังที่เหมาะสมสอด คล้องกับภารกิจตามแผนยุทธศาสตร์ได้รับการทบทวนแล้วเสร็จและนำไปใช้เป็นกรอบในการบริหารทรัพยากรบุคคลภายในปี พ.ศ. 2563 7.ทบทวนความเหมาะสมของการจัดสรรกำลังคนและดำเนินการวางแผนกำลังคนของศาลยุติธรรมเพื่อให้สามารถอำนวยความยุติธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การสร้างมาตรฐานระบบงานเจ้าพนักงานคดีเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมและช่วยเหลือศาลในการดำเนินกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีให้มีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ ยุทธศาสตร์ E (Excellence Organization) เพิ่มศักยภาพองค์กรสู่ความเป็นเลิศ ตัวชี้วัด แนวทางการดำเนินการ 11.ศาลยุติธรรมจัดทำแผนความก้าวหน้าในสายอาชีพของผู้พิพากษาและข้าราชการศาลยุติธรรมได้รับการจัดทำแล้วเสร็จ และนำไปใช้เป็นเกณฑ์ในการบริหารทรัพยากรบุคคล ภายในปี พ.ศ. 2562 13.จัดทำแผนความก้าวหน้าในเส้นทางอาชีพ (Career Path) ของผู้พิพากษาและข้าราชการศาลยุติธรรมรายตำแหน่งที่ชัดเจนที่ส่งเสริมขวัญกำลังใจในการปฏิบัติงาน ตัวอย่างโครงการจากแผนการปฏิรูปศาลยุติธรรม การสร้างมาตรฐานระบบงานเจ้าพนักงานคดีเพื่อประโยชน์แห่งความยุติธรรมและช่วยเหลือศาลในการดำเนินกระบวนการพิจารณาพิพากษาคดีให้มีประสิทธิภาพ