Service Plan สาขาสูติกรรม

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
จังหวัดสกลนคร ตั้งอยู่ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
Advertisements

Postpartum Hemorrhage
ภาวะตกเลือดทางสูติศาสตร์
Birth asphyxia Pakamas Srisuvunrat.
Cardiac Center Maharatnakhonratchasima Hospital service plan 2016
กระบวนการและเทคนิค การพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐระดับพื้นฐาน การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย.
SERVICE PLAN สาขาศัลยกรรม จังหวัดกาฬสินธุ์. การดำเนินงานปี 2557 KPI  Refer out รพ. แม่ข่าย (M2, F1) < 40%  รพ. แม่ข่าย (M2, F1) ผ่าตัดไส้ติ่ง เพิ่มขึ้น.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
งานข้อมูลสารสนเทศ กลุ่มยุทธศาสตร์และงานวิชาการ
Facilitator: Pawin Puapornpong
Facilitator: Pawin Puapornpong
Prolapsed cord.
Morning talk with executive
Zero MMR Our Ultimate Goal นพ.ยุทธนา พูนพานิช สาธารณสุขนิเทศก์ เขต 9.
ภาวะตกเลือดทางสูติศาสตร์
การดำเนินงาน RTI.
รองอธิบดีกรมควบคุมโรค นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
Case study 52 Facilitator: Pawin Puapornpong.
รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ โรงพยาบาลยะลา
การจัดการการดูแล ทารกแรกเกิดระยะวิกฤติ
ครั้งที่ 10/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
Facilitator: Pawin Puapornpong
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
การดำเนินงานService Plan จ.กำแพงเพชร ปี 2561
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
Facilitator: Pawin Puapornpong
Risk Management System
4 เมษายน 2561 โดย นพ.ธานินทร์ โตจีน ประธาน MCH Board เขตสุขภาพที่ 4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
Service Plan สาขาแม่และเด็ก
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service Plan จังหวัดเชียงใหม่
คัดกรองพัฒนาการเด็ก คปสอ.หนองใหญ่
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
คณะทำงานสาขามารดาและ ทารกแรกเกิด เขตสุขภาพที่ 12 (MCH Board)
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
การดำเนินการ CIPO Sepsis เขตสุขภาพที่ 1 ปีงบประมาณ 2560
เทศบาลนครขอนแก่น ยินดีต้อนรับ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
4.1 งานนโยบายรัฐบาล ปีงบประมาณ 2560 เดือน สิงหาคม 2560
วันที่พุธที่ 7 พฤศจิกายน 2561 เวลา – น.
มาตรการ/กลวิธีสำคัญในการดำเนินงาน
กรอบการบริหารยุทธศาสตร์ด้านสุขภาพ ปี 2560
Performance Agreement : PA ปี 2560
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
พญ.มยุรี ไกรศรินท์ สูตินรีแพทย์ ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
ผลการดำเนินงาน ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพและอนามัยสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 –
อัตราส่วนการตายมารดาต่อการเกิดมีชีพแสนคน
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
คณะ 1 การส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และการจัดการสุขภาพ
อนามัยแม่และเด็กอำเภอ
ผลการดำเนินงานระบบการแพทย์ฉุกเฉินครบวงจรและระบบส่งต่อ
ครั้งที่ 6/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
จุดที่ควรปรับปรุง SR 1 และ SR 2.
Appropriate caesarean section
เขตสุขภาพที่ 10 สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ปี 61
การพัฒนาระบบบริการจังหวัดอำนาจเจริญ
PA Mother & Child Health
Service Profile หน่วยงาน : ห้องคลอด รพร.เดชอุดม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ตึกผู้ป่วยในพิเศษสูติ-นรีเวชกรรม Presentation
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ใบงานกลุ่มย่อย.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Service Plan สาขาสูติกรรม จังหวัด พิษณุโลก

ข้อมูลพื้นฐาน การคลอด รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก (ราย)   ปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 2560(6ด) ผู้รับบริการทั้งหมด (ตั้งครรภ์เสี่ยงสูง + มารดาคลอด) 4,745 (629+4116) 4,941 (689+4252) 5,456 (951+4505) (770+4005) 1,956 (236+1723) รับ Refer ในจังหวัด 1,020 1,189 1,197 1,107 460 รับ Refer ในเขต / นอกเขต 22 28 35 31 7 จำนวนมารดาที่คลอด 4,116 4,252 4,488 4,005 1,723 จำนวนมารดาคลอดอายุ < 20 ปี 697 678 676 571 230 จำนวนทารกเกิดมีชีพ 4,122 4,242 4,463 3,973 1,299

ข้อมูลพื้นฐาน การคลอด รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก (ราย)   ปีงบประมาณ 2556 2557 2558 2559 2560(6ด) มารดาคลอด 4,116 4,252 4,488 4,005 1,723 คลอดปกติ 1,903 (45.6%) 1,966 (46.2%) 2,008 (44.7%) 1,953 (48.8%) 1,008 (58.5%) ผ่าตัดคลอด 1,908 (46.4%) 1,996 (46.9%) 2,154 (48%) 1,828 (45.6%) 615 (35.6%) ใช้คีมคีบ 3 5 2 V/E 224 209 223 142 56 ท่าก้น 27 22 43 30 10 ครรภ์แฝด 50 55 32

ให้บริการผ่าตัดคลอดได้ ร้อยละ 25 1. ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอด ใน รพ.ระดับ M2 ของจังหวัดพิษณุโลก ให้บริการผ่าตัดคลอดได้ ร้อยละ 25 โรงพยาบาล ระดับ ปี 2559 ร้อยละ ปี 2560 (ต ค.59 - มี ค.60) ปี 2560 ร้อยละ รพ.พุทธชินราช A 1,823 ราย 45.6% 615 ราย 35.6% รพ.นครไทย M2 1 ราย /1823 0.055% รพ.วังทอง F1 38/1823 2.0 8% 21 ราย /615 3.4 % M 2 รพ.วังทอง สูติแพทย์ 1 คน กุมารแพทย์ 1 คน วิสัญญีแพทย์ 1 คน M 2 รพ.นครไทย สูติแพทย์ 0 คน กุมารแพทย์ 1 คน วิสัญญีแพทย์ 0 คน

2. อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด 2. อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด เป้าหมาย ร้อยละ 0 ข้อมูล ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 (ต ค.59 - มี ค.60) จำนวนมารดาหลังคลอดที่เสียชีวิตจากการตกเลือด 1 จำนวนมารดาหลังคลอดที่ตกเลือดใน โรงพยาบาล 215 118 64 ร้อยละ 0.46 %

3. อัตรามารดาตกเลือดหลังคลอด 3. อัตรามารดาตกเลือดหลังคลอด เป้าหมาย น้อยกว่า ร้อยละ 5 ข้อมูล 2557 2558 2559 2560 (6ด) จำนวน PPH. (ราย) 167 (3.92%) 215 (4.8%) 118 (2.9%) 64 (3.7%) PPH. Case คลอด vagina 49 (2.2%) 62 (3.8%) 39 (1.8%) 33 (3.0%) PPH. Case ผ่าตัดคลอด 117 (5.8%) 124 (5.7%) 79 (4.3%) 31 (5.04%) สาเหตุ - Uterine atony 144 191 112 63 - รกค้าง 7 11 1 - แผล Episiotomy ลึก 6 13 5 ตัดมดลูกเพื่อช่วยชีวิต 9

ตัวชี้วัด 3 สาขาหลัก สาขาสูติ-นรีเวชกรรม 1 คำนิยาม ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลระดับ M2 ผ่าตัดคลอด หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลรักษาผ่าตัดคลอด (รหัส ICD 740-744 , 7491 ,7499) โรงพยาบาลระดับ M2 หมายถึง โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย ( M2 ) เกณฑ์เป้าหมาย สูตรคำนวณตัวชี้วัด ร้อยละ 25 A/B X 100 A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลระดับ M2 B = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลระดับA S

Service Plan 3 สาขาหลัก สาขาสูติกรรม (1) เป้าหมาย : ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลระดับ M2 ประเด็นที่มุ่งเน้น มาตรการ แนวทางการตรวจติดตาม รพ.ระดับ M2 สามารถให้บริการผ่าตัดคลอดได้ 25% 1.การถ่ายทอดนโยบายและการขับเคลื่อนงาน 2.การจัดการระบบข้อมูลและการเฝ้าระวัง 3.พัฒนาระบบบริการและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 4. สร้างเครือข่ายการดูแลรักษา 1.1 มีการถ่ายทอดนโยบายจากส่วนกลางถึงผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 2.1 มีการประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ ข้อมูลการ การให้บริการผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 ระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ 2.2 มีการสนับสนุนรพ. M2 จาก รพ. S,A ด้านวิชาการ และด้านอื่นๆ 3.1 มีแนวทางปฏิบัติในการให้บริการผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 และจัดอบรมภายในจังหวัด 3.2 รพ.M2 สามารถให้บริการผ่าตัดคลอดได้ 3.3 ประเมินห้องคลอดคุณภาพ 3.4 มีธนาคารเลือดที่โรงพยาบาล M2 ขึ้นไป 4.1 มีระบบปรึกษาที่มีประสิทธิภาพ 4.2 มีระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในระดับต่ำกว่า และสูงกว่า M2 Small success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.มีแผนงาน/โครงการดูแลรักษาผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 2 มีการประชุมคณะกรรมการService Planสาขาสูติ-นรีเวชกรรมระดับจังหวัด และระดับเขต จังหวัดมีระบบประเมิน/ติดตาม การให้บริการผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 มีการให้บริการผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 ที่มีประสิทธิภาพ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน รพช. M2 สามารถให้บริการผ่าตัดคลอดได้ร้อยละ25

ตัวชี้วัด 3 สาขาหลัก สาขาสูติ-นรีเวชกรรม 2 คำนิยาม อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด หมายถึง มารดาที่เสียชีวิตหลังคลอดภายใน42วันจากการตกเลือด แต่ไม่ใช่จากอุบัติเหตุที่ไม่เกี่ยวข้องต่อการเกิดมีชีพแสนคน ตกเลือดหลังคลอด หมายถึง การเสียเลือดมากกว่า 500 มิลลิลิตร หลังการคลอดทางช่องคลอด หรือมากกว่า 1000 มิลลิลิตร หลังการผ่าตัดคลอด (รหัสโรค ICD10 O72 เกณฑ์เป้าหมาย สูตรคำนวณตัวชี้วัด ร้อยละ 0 A/B X 100 A = จำนวนมารดาหลังคลอดที่เสียชีวิตจากการตกเลือด B = จำนวนมารดาหลังคลอดที่ตกเลือดในโรงพยาบาล

อบรมเชิงปฏิบัติการและทักษะดูแลมารดาที่มีภาวะ PPH, PIH, Prolapsed cord วันที่ 17 เม.ย.60 ณ 9.00-15.00 น. ห้องคลอดรพ.พุทธชินราช พิษณุโลก Clinical evaluation is more important… ACTION

อบรมเชิงปฏิบัติการและทักษะการช่วยคลอดติดไหล่ วันที่ 17 เม. ย. 60 ณ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการและทักษะการช่วยคลอดติดไหล่ วันที่ 17 เม.ย.60 ณ 9.00-15.00 น. ห้องคลอดรพ.พุทธชินราช พิษณุโลก

อบรมเชิงปฏิบัติการและทักษะการช่วยคลอดท่าก้น วันที่ 17 เม. ย. 60 ณ 9 อบรมเชิงปฏิบัติการและทักษะการช่วยคลอดท่าก้น วันที่ 17 เม.ย.60 ณ 9.00-15.00 น. ห้องคลอดรพ.พุทธชินราช พิษณุโลก

อบรมเชิงปฏิบัติการและทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วันที่ 10 -11 เม. ย อบรมเชิงปฏิบัติการและทักษะการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ วันที่ 10 -11 เม.ย.60 ณ ห้องเบนทูล รพ.พุทธชินราช พิษณุโลก

กิจกรรมพี่เยี่ยมน้อง 7 เม ย.60 กิจกรรมพี่เยี่ยมน้อง 7 เม ย.60

ขอบคุณ

www.themegallery.com

www.themegallery.com

ข้อมูลพื้นฐาน การคลอด 2556 2557 2558 2559 2560(6ด) จำนวน PPH. (ราย) 172 (4.2%) 167 (3.92%) 215 (4.8%) 118 (2.9%) 64 (3.7%) PPH. Case คลอด vagina 47 (2.2%) 49 (2.2%) 62 (3.8%) 39 (1.8%) 33 (3.0%) PPH. Case ผ่าตัดคลอด 125 (6.6%) 117 (5.8%) 124 (5.7%) 79 (4.3%) 31 (5.04%) สาเหตุ - Uterine atony 90 144 191 112 63 - รกค้าง 6 7 11 1 - แผล Episiotomy ลึก 47 13 5 ตัดมดลูกเพื่อช่วยชีวิต 10 9

ปี 2556 = 2 ราย 1. N/D with PPH 2. ITP ปี 2557 = 2 ราย 1. Dx.HELLP , sepsis , DIC, Hypoxemia and Retroviral infection Refer จาก รพช.หนองไผ่ 2. Dx. Postpartum hemorrhage Refer จากรพ.ศรีสังวร จ.สุโขทัย ปี 2558 = 4 ราย 1. Dx. Placenta previa totalis with Postpartum hemorrhage 2. Dx. Sever PIH Eclampsia 3. Dx. N/D with Ileal perforation with Sepsis shock 4. Dx. Post C/S with Sepsis ปี 2559 = 1 ราย 1. Dx. Heart disease ปี 2560 = 0

อัตราการตายปริกำเนิด (เป้าหมาย 9 : 1000 ทารกมีชีพ) ข้อมูล 2556 2557 2558 2559 2560(6ด) อัตราตายปริกำเนิด (:1000 มีชีพ) 10.3 8.9 6.8 9.11 6.83 จำนวนทารกตาย 0 - 7 วัน(ราย) 43 38 31 37 12 สาเหตุ - ตายเปื่อยยุ่ย (ราย) 15 17 10 6 - anomaly (ราย) 13 11 4 2 - preterm (ราย) 5 3 1 - ขาดออกซิเจน (ราย)

ผลลัพธ์การเกิด birth asphyxia ข้อมูล 2556 2557 2558 2559 2560(6 ด) อัตรา birth asphyxia :1000มีชีพ 48.0 59.6 69.9 66.7 64.1 จำนวน birth asphyxia (ราย) 198 253 312 265 110 term (ราย) 91 149 202 147 (55.5%) 58 (52%) preterm (ราย) 107 104 118 (44.5%) 52 (47%) ข้อมูล 2556 2557 2558 2559 2560(6ด) อัตรา Birth asphyxia ที่ 5 นาที : 1000 14.4 16.0 17.0 17.4 15.7 จำนวน Birth asphyxia ที่ 5นาที (ราย) 66 76 69 27

สาเหตุ 5 อันดับการเกิด birth asphyxia (ราย)

ผลลัพธ์การเกิด Low birth weight ข้อมูล 2556 2557 2558 2559 2560(6 ด) จำนวนทารกเกิดมีชีพ 4,122 4,242 4,463 3,973 1,299 ทารกน้ำหนักน้อยกว่า 2500 กรัม (ราย) 578 540 609 600 247 อัตราการเกิด Low birth weight (%) 14 % 12.7% 13.6% 15.1% 19% Term (ราย) 261 233 256 239 (39.8%) 67 (27%) preterm (ราย) 317 307 353 361 (60.2%) 180 (72%) BW. < 1,000 กรัม (ราย) 31 33 26 19 BW. 1,000 – 1,499 กรัม (ราย) 53 49 45 68 25 BW. 1,500 – 2,499 กรัม (ราย) 496 227 255 267 209

ข้อมูลการคลอด Refer(ราย)

รพช. ข้อบ่งชี้ C/S 60 71 55 45 C/S 141 69 139 64 130 72 119 66 Refer (ราย) N/D C/S ข้อบ่งชี้ C/S Breech CPD Fetal distress previous C/S sever e PIH Eclampsia placenta previa Abruptio Placenta failed induction prolapsed cord twins HIV failed V/E พรหมพิราม 141 69 60 5 23 9 16 2 3 -   - นครไทย 139 64 71 6 30 24 4 1 บางระกำ 130 72 55 10 21 15 วังทอง 119 66 45 8 18

รพช. ข้อบ่งชี้ C/S C/S Refer (ราย) 90 55 33 73 39 28 31 34 50 13 36 20 N/D C/S ข้อบ่งชี้ C/S Breech CPD Fetal distress previous C/S sever e PIH Eclampsia placenta previa Abruptio Placenta failed induction prolapsed cord twins HIV failed V/E เนินมะปราง 90 55 33 2 18 8 -   - 1 วัดโบสถ์ 73 39 28 11 7 บางกระทุ่ม 31 34 4 ชาติตระการ 50 13 36 9 รพ อื่นๆในพล 20   3

ประชากรรวม 3,486,025 คน การบริหารในเขต MCH Board เขต คณะกรรมการ Service Plan สูติกรรม ระดับเขต อุตรดิตถ์ สุโขทัย พิษณุโลก ตาก เพชรบูรณ์ การบริหารในจังหวัด MCH Board จังหวัด คณะกรรมการ Service Plan สาขาสูติกรรม ระดับจังหวัด คณะอนุกรรมการพัฒนาเด็กปฐมวัย ระดับจังหวัด 27

อัตรากำลังการดูแลในพื้นที่ A รพ.อุตรดิตถ์ สูติแพทย์ 3 คน กุมารแพทย์ 3 คน วิสัญญีแพทย์ 3 คน M 2 รพ.ท่าสองยาง สูติแพทย์ 0 คน กุมารแพทย์ 0 คน วิสัญญีแพทย์ 0 คน M 1 รพ.ศรีสังวร สูติแพทย์ 4 คน กุมารแพทย์ 4 คน วิสัญญีแพทย์ 0 คน M 2 รพช.นครไทย สูติแพทย์ 0 คน กุมารแพทย์ 1 คน วิสัญญีแพทย์ 0 คน M 2 รพ.สวรรคโลก สูติแพทย์ 2 คน กุมารแพทย์ 1 คน วิสัญญีแพทย์ 4 คน M 2 รพ.หล่มสัก สูติแพทย์ 1 คน กุมารแพทย์ 1 คน วิสัญญีแพทย์ 1 คน S รพ.ตสม. สูติแพทย์ 6 คน กุมารแพทย์ 3 คน วิสัญญีแพทย์ 1 คน S รพ.สุโขทัย สูติแพทย์ 4 คน กุมารแพทย์ 4 คน วิสัญญีแพทย์ 3 คน S รพ.เพชรบูรณ์ สูติแพทย์ 3 คน กุมารแพทย์ 3 คน วิสัญญีแพทย์ 3 คน S รพ.แม่สอด สูติแพทย์ 5 คน กุมารแพทย์ 3 คน วิสัญญีแพทย์ 3 คน A รพ.พุทธชินราช สูติแพทย์ 11 คน กุมารแพทย์ 38 คน วิสัญญีแพทย์ 14 คน M 2 รพ.อุ้มผาง สูติแพทย์ 0 คน กุมารแพทย์ 1 คน วิสัญญีแพทย์ 0 คน M 2 รพ.วิเชียรบุรี สูติแพทย์ 4 คน กุมารแพทย์ 2 คน วิสัญญีแพทย์ 0 คน

ตัวชี้วัด สาขาสูติกรรม คำนิยาม ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลระดับ M2 ผ่าตัดคลอด หมายถึง ผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลรักษาผ่าตัดคลอด (รหัส ICD 740-744 , 7491 ,7499) โรงพยาบาลระดับ M2 หมายถึง โรงพยาบาลชุมชนแม่ข่าย ( M2 ) เกณฑ์เป้าหมาย สูตรคำนวณตัวชี้วัด ร้อยละ 25 A/B X 100 A = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลระดับ M2 B = จำนวนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลระดับA S

Service Plan 3 สาขาหลัก สาขาสูติกรรม (1) เป้าหมาย : ร้อยละของผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดคลอดในโรงพยาบาลระดับ M2 ประเด็นที่มุ่งเน้น มาตรการ แนวทางการตรวจติดตาม รพ.ระดับ M2 สามารถให้บริการผ่าตัดคลอดได้ 25% 1.การถ่ายทอดนโยบายและการขับเคลื่อนงาน 2.การจัดการระบบข้อมูลและการเฝ้าระวัง 3.พัฒนาระบบบริการและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 4. สร้างเครือข่ายการดูแลรักษา 1.1 มีการถ่ายทอดนโยบายจากส่วนกลางถึงผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 2.1 มีการประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ ข้อมูลการ การให้บริการผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 ระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ 2.2 มีการสนับสนุนรพ. M2 จาก รพ. S,A ด้านวิชาการ และด้านอื่นๆ 3.1 มีแนวทางปฏิบัติในการให้บริการผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 และจัดอบรมภายในจังหวัด 3.2 รพ.M2 สามารถให้บริการผ่าตัดคลอดได้ 3.3 ประเมินห้องคลอดคุณภาพ 3.4 มีธนาคารเลือดที่โรงพยาบาล M2 ขึ้นไป 4.1 มีระบบปรึกษาที่มีประสิทธิภาพ 4.2 มีระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในระดับต่ำกว่า และสูงกว่า M2 Small success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.มีแผนงาน/โครงการดูแลรักษาผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 2 มีการประชุมคณะกรรมการService Planสาขาสูติ-นรีเวชกรรมระดับจังหวัด และระดับเขต จังหวัดมีระบบประเมิน/ติดตาม การให้บริการผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 มีการให้บริการผู้ป่วยผ่าตัดคลอดใน รพช. M2 ที่มีประสิทธิภาพ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน รพช. M2 สามารถให้บริการผ่าตัดคลอดได้ร้อยละ25

Service Plan 3 สาขาหลัก สาขาสูติกรรม (2) เป้าหมาย : อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด ประเด็นที่มุ่งเน้น มาตรการ แนวทางการตรวจติดตาม รพ.ระดับM2ลงไปสามารถให้บริการดูแลรักษามารดาตกเลือดหลังคลอดได้โดยไม่มีมารดาเสียชีวิตจากการตกเลือดหลังคลอด 1.การถ่ายทอดนโยบายและการขับเคลื่อนงาน 2.การจัดการระบบข้อมูลและการเฝ้าระวัง 3.พัฒนาระบบบริการและการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ 4. สร้างเครือข่ายการดูแลรักษา 1.1 มีการถ่ายทอดนโยบายจากส่วนกลางถึงผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่ 2.1 มีการประเมิน วิเคราะห์สถานการณ์ ข้อมูลการ การดูแลรักษามารดาตกเลือดหลังคลอด ระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ 2.2 มีการสนับสนุน รพช. M2 จาก รพ. S,A ด้านวิชาการ และด้านอื่นๆ 3.1 มีแนวทางปฏิบัติ (guide line)ในการดูแลรักษามารดาตกเลือดหลัง คลอด และจัดอบรมการให้ยา Syntocinon ที่ถูกต้องและรวดเร็ว 3.2 มีระบบ fast track อาทิ การส่งห้องคลอด หรือห้องผ่าตัดอย่างรวดเร็ว เพิ่มความปลอดภัยของมารดาและลูก 3.3 ประเมินการตกเลือด ค่าต่ำหรือสูงก็ไม่ดี โดยมีการใช้ถุงตวงเลือด 4.1 มีระบบส่งต่อที่มีประสิทธิภาพ ทั้งในระดับต่ำกว่า และสูงกว่า M2 4.2 มีธนาคารเลือดที่โรงพยาบาลระดับM2 ขึ้นไป Small success 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน 12 เดือน 1.มีแผนงาน/โครงการดูแลรักษามารดาจากการตกเลือดหลังคลอด 2 มีการประชุมคณะกรรมการ สาขาสูติ-นรีเวชกรรมระดับจังหวัด และระดับเขตสุขภาพ จังหวัดมีระบบประเมิน/ติดตาม การดูแลรักษามารดาตกเลือดหลังคลอด มีการดูแลรักษามารดาตกเลือดหลังคลอด ที่มีประสิทธิภาพ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน อัตราตายมารดาจากการตกเลือดหลังคลอด ร้อยละ 0