นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
Advertisements

การอบรมทีมเฝ้าระวังสอบสวนเคลื่อนที่เร็ว(SRRT) เครือข่ายอำเภอเมืองนครปฐม วันที่ 27 มิถุนายน 2557 ณ ห้องประชุมอำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม ดรุณี โพธิ์ศรี
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
1. การให้การดูแลผู้ป่วยแบบ ปฐมภูมิ 2. การประเมินผู้ป่วยตามความ รุนแรง 3. การดูแลผู้ป่วยที่อาจมีอาการ เปลี่ยนแปลง 4. การป้องกันและการเฝ้าระวัง การติดเชื้อในชุมชน.
เครื่องชี้วัดคุณภาพ วัตถุประสงค์: เพื่อให้ผู้เรียน
โรงพยาบาลอ่างทอง ชื่อผู้ติดต่อ นางรัตนา งิ้ววิจิตร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ กลุ่มงาน เวชกรรมสังคม โทรศัพท์ อีเมล์
โรงพยาบาลเขาชัยสน ขนาด 30 เตียง จังหวัดพัทลุง
ปี จะเห็นได้ว่า ร้อยละของการตรวจคัดกรอง ภาวะแทรกซ้อนทางเท้า สามารถทำได้ดีขึ้นเรื่อยๆ คิด เป็น %,90.81.
การประเมินผู้ป่วยบาดเจ็บศีรษะ
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
พระเครื่องเมืองกำแพงเพชร
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
กลุ่มวัยผู้สูงอายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
การดูแลระยะกลาง (Intermediate Care)
แนวทาง การดำเนินงาน ป้องกันการจมน้ำ สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
จำนวนเตียงจำนวนผู้รับบริการ
Ob-Gyn, Surg, Med, Ped, Ortho
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
Service plan สาขาทารกแรกเกิดจังหวัดเพชรบูรณ์
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ เขตสุขภาพที่ 2 สาขาโรคหัวใจ
การบริหารการเงินการคลัง ปีงบประมาณ 2562
ระบบเฝ้าระวังการตายมารดา
ยุทธศาสตร์ ที่ 2 Service Excellence (ยุทธศาสตร์ด้านบริการเป็นเลิศ)
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
การติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๐
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
สรุปผลการพัฒนาระบบส่งต่อข้อมูลการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน ด้วยโปรแกรม Smart COC ฉะเชิงเทรา 1 ตุลาคม พฤศจิกายน 2561 กลุ่มงานการพยาบาลชุมชนรพ.พุทธโสธร.
ศูนย์อนามัยที่ 5 ราชบุรี
รพ.สต.สายใยรัก อำเภอสัตหีบ
สาขาออร์โธปิดิกส์ โรงพยาบาลอุดรธานี นำเสนอเขต 8
การพัฒนาระบบการดูแลผู้รับบริการเพื่อตรวจรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
สรุปผลการนิเทศงานเฉพาะกิจ งานข้อมูลและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ครั้งที่ 7/2560 สรุปผลการประชุม คณะอนุกรรมการด้านบริการ
การประชุมคณะทำงานการดูแลผู้ป่วย โรคติดเชื้อในกระแสเลือด (Sepsis) จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและเครือข่ายสาธารณสุข สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดพิษณุโลก.
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยรับยาต้านไวรัสเอดส์
Service Profile : งานกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู
นพ.ชัยวัฒน์ ทองไหมนายแพทย์สาธารณสุข
ขดลวดพยุงสายยาง.
สาขาสุขภาพช่องปาก เขตสุขภาพที่ 2
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
Service Profile :PCT ศัลยกรรม รพร.เดชอุดม
2.ตัวชี้วัด/ค่าเป้าหมาย : การเข้าถึงบริการโรคสมาธิสั้นร้อยละ 9
งานวิสัญญี รพร.เดชอุดม
ระบบบริการสาขาสุขภาพจิตและจิตเวช และยาเสพติด เขตสุขภาพที่ 3 ปีงบประมาณ – 9 พฤษภาคม 2560 โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
Service Profile : ตึกศัลยกรรมกระดูก ความเสี่ยง/ความท้าทาย
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ Service plan สาขา SEPSIS เขตสุขภาพที่ 11
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
1.ประเด็น : การบริหารการเงินการคลังอย่างมีประสิทธิภาพ
คุณต้องรู้ว่าคุณกำลังมีปัญหาอะไร?
อำเภอวังทอง อ.วัดโบสถ์ อ.นครไทย อ.เมือง อ.เนินมะปราง อ.เมืองพิจิตร
จุดเน้นในการพัฒนา/แผนพัฒนา ความเสี่ยง/ความท้าทาย
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ Service plan 5 สาขาหลัก สูตินรีเวชกรรม  ศัลยกรรม  อายุรกรรม  กุมารเวชกรรม  ออร์โธปิดิกส์ นพ. ธวัชชัย เศรษฐศุภพนา นายแพทย์เชี่ยวชาญ

โครงสร้างเขตบริการสุขภาพที่ 2 F₂= 7 A M₂ M₂ F1 M1 F₂ F₂ F₂= 6 M₂ F₂ A S S S M₂ ระดับ รพ. จำนวน A 2 S 4 M1 1 M2 6 F1 3 F2 27 F₂= 7 F₂ S M₂ F1= 2 F₂= 5 M₂

วัตถุประสงค์ ลดความแออัดในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ เพิ่มศักยภาพการให้บริการ 5 สาขาหลักของ หน่วยบริการเครือข่าย เพื่อลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท.ลดลง ร้อย ละ25 รับการส่งกลับ หลังผู้ป่วยพ้นระยะวิกฤต

สิ่งที่ประชาชนได้รับ อุ่นใจ ใกล้บ้าน เข้าถึงง่าย และรวดเร็ว ลดระยะเวลารอคอย มาตรฐานเดียวกัน ลดค่าใช้จ่าย สร้างความเชื่อมั่นในบริการที่รัฐจัดให้

เป้าหมายของ สธ. เป้าหมายของ เขต 2 เพื่อเพิ่มศักยภาพ รพช. ระดับ M2 ลงมาให้สามารถรักษาผู้ป่วยในโรค 5 สาขาหลัก เพื่อลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท. ลดลงร้อยละ 25 เป้าหมายของ เขต 2 รพ.ระดับ M2 สามารถผ่าตัดคลอดได้ร้อยละ 25 รพ.ระดับ M2 ลงไปผ่าตัด Appendectomy ได้ร้อยละ 25 รพ.ระดับ M2 ลงไปให้การดูแลรักษา sepsis ได้ ลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท. ร้อยละ 30 รพ.ระดับ M2 ลงไปให้การดูแลรักษาเด็กที่มีภาวะ ARIC ได้ ลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท. ร้อยละ 30 รพ.ระดับ M2 ลงไปให้การดูแลรักษา non displaced fracture ได้ร้อยละ 25

การส่งต่อเพื่อ C/S จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ราย รพ.M2 ทุกแห่ง สามารถให้การรักษา C/S

สาขาสูติกรรม GAP Analysis Service delivery 1. การส่งต่อC/S จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ยังมีสูง เพิ่มศักยภาพการให้บริการในรพ.ระดับ M2 พัฒนาทักษะ รพช. /รพ.สต.ในการดูแล ANC คุณภาพ 2.พบว่าการส่งต่อผู้ป่วย Normal Labour สู่ รพท./รพศ. ยังมีสูง รพช.สามารถให้การดูแลผู้ป่วย Normal labour ทบทวนแนวทางการรับส่งต่อ

การส่งต่อในโรคใส้ติ่งอักเสบ จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ราย รพ.M2 สามารถให้การรักษา Appendicitis

อัตราการเสียชีวิตจากใส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน ใน รพช.

สาขาศัลยกรรม GAP Analysis Service delivery 1. การส่งต่อ Appendicitis จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ยังมีสูง เพิ่มศักยภาพการให้บริการในรพ.ระดับ M2 มีการออกหน่วยเคลื่อนที่โดยทีมแพทย์ศัลยกรรม ในรพช.ระดับต่ำกว่า M2 ทำได้ในบางจังหวัด เช่นเพชรบูรณ์ ตาก เพิ่มการผ่าตัดไส้เลื่อนในรพ.ระดับ M2 โดยในระยะแรก เป็นการออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่จาก รพ.แม่ข่าย

การส่งต่อ sepsis จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ราย

ร้อยละผู้ป่วยเสียชีวิตจาก Sepsis ไม่เกินร้อยละ 30

สาขาอายุรกรรม GAP Analysis Service delivery 1. ประชาชนเข้าถึงบริการช้า ไม่รู้ว่าตนเองติดเชื้อในกระแสเลือด ออกสื่อให้ความรู้กับประชาชนให้มีความรู้ในการเฝ้าระวังตนเองการติดเชื้อในกระแสเลือด 2. ติดเชื้อโรคดื้อยา เพิ่มรายการยาต้านจุลชีพในรพ. 3. ระบบบริการทางการแพทย์ - ซักประวัติตรวจร่างกายไม่ละเอียด - ขาดความรู้เรื่อง sepsis ทำให้การรักษาเบื้องต้นล่าช้า - การสนับสนุนเรื่องยาต้านจุลชีพ มีการจำกัดการใช้ยา - LAB มีการเก็บสิ่งส่งตรวจไม่ครบถ้วน จัดทำแนวทางวินิจฉัยและรักษาผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือด อบรมพยาบาลเพื่อสามารถเป็น sepsis nurse รพ.แม่ข่ายสนับสนุน ขวด Hemo – culture พัฒนาคุณภาพการรักษาโดยเก็บข้อมูลการได้รับยา Antibiotic ภายใน 1 ชม.

การส่งต่อในโรคARIC ในเด็ก จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ราย

สาขากุมารเวชกรรม GAP Analysis Service delivery 1. รพช. ส่วนใหญ่ไม่สามารถดูแลผู้ป่วยใช้เครื่องช่วยได้ เพิ่มศักยภาพบุคลากรทางการแพทย์ให้สามารถใช้เครื่องช่วยหายใจได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. จำนวนการส่งต่อผู้ป่วยโรค ARIC สูง 1. พัฒนาระบบ Fast tract

การส่งต่อNon Displace Fracture จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ราย

สาขาออร์โธปิดิกส์ GAP Analysis Service delivery การส่งต่อ non displaced fracture จาก รพช. ไปยัง รพท./รพศ ยังมีสูง (ความต้องการของผู้ป่วยและญาติ) 2. แพทย์ในรพช.มีการหมุนเวียนบ่อย เพิ่มทักษะแพทย์ก่อนออกไป รพช. 3. ผู้ป่วยมีภาวะแทรกซ้อนจากการดูแล และส่งต่อ ที่ไม่ถูกวิธีเป็นจำนวนมาก พัฒนารพช. F1 ลงไปให้สามารถดูแลผู้ป่วยที่ใช้ External skeletal traction (ส่งกลับไปดูแล) 4. มีข้อจำกัดเครื่องมือในการ Rehabilitation ในรพช. และรพ.สต. เพิ่มทักษะเจ้าหน้าที่ในการฟื้นฟูผู้ป่วย

การขอยกระดับสถานบริการ ตาก รพ.แม่ระมาด จากF2 เป็น F1 รพ.พบพระ จากF2 เป็น F1 สุโขทัย 1. รพ.ศรีสังวรสุโขทัย จากM1เป็น S 2. รพ.ศรีสัชนาลัยปรับ F2เป็นM2 3. รพ.คีรีมาศปรับ30เตียงเป็น 60เตียง พิษณุโลก 1. รพ.สมเด็จพระยุพราชนครไทยจาก M2 เป็น M1 2. รพ.วังทอง จาก F2 เป็น F1 เพชรบูรณ์ 1.รพ. วิเชียรบุรี จาก M2 เป็น M1 2.รพ.หล่มสัก จาก M2 เป็น M1 3.รพ. หนองไผ่ จาก F1 เป็น M1 4.สมเด็จพระยุพราชหล่มเก่า จาก F1 เป็น M1 อุตรดิตถ์ 1.รพ.อุตรดิตถ์ ปี 2561 ขอปรับขนาดเตียงเป็น 680 เตียง ปี 2564 ขอปรับขนาดเตียงเป็น 800 เตียง 2.รพ.พิชัย และรพ.ลับแล จาก F2 เป็น F1

โครงสร้างเขตบริการสุขภาพที่ 2 F₂= 7 A M₂ M₂ F1 M1 F₂ F₂ F₂= 6 M₂ F₂ A S S S M₂ ระดับ รพ. จำนวน A 2 S 4 M1 1 M2 6 F1 3 F2 27 F₂= 7 F₂ S M₂ F1= 2 F₂= 5 M₂

การยกระดับสถานบริการ A=680 เตียง F₂= 7 M₂ M₂ F1 S F₂ F₂= 5 F₂ M₂ M1 F1 A S S S F1 F₂= 6 F1 S M1 = 4 F₂= 5 M₂

แพทย์เฉพาะทาง 5 สาขา 9 6 17 7 10 4 41 8 12 5 28 13 40 36 27 34 รวม 43 จังหวัด สูติ ศัลย์ MED กุมารฯ Ortho วิสัญญี วิสัญญีพยาบาล ตาก 9 6 17 7 10 4 41 สุโขทัย 8 12 5 28 พิษณุโลก 13 40 36 27 เพชรบูรณ์ อุตรดิตถ์ 34 รวม 43 74 92 63 49 30 184

แพทย์เฉพาะทาง 5 สาขา ในรพ.ระดับ M2 จังหวัด สูติ ศัลย์ MED กุมารฯ Ortho วิสัญญี วิสัญญีพยาบาล รพ.อุ้มผาง 1 (ไปเรียนปี59) 1 5 (จบปี58 1 คน) รพ.ท่าสองยาง 1 (จบปี 60) 3 รพ.สวรรคโลก 5 รพร.นครไทย 1 (จบปี 61) 2 รพ.วิเชียรบุรี 4 รพ.หล่มสัก

วัตถุประสงค์ ลดความแออัดในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ เพิ่มศักยภาพการให้บริการ 5 สาขาหลักของ หน่วยบริการเครือข่าย เพื่อลดการส่งต่อไปยัง รพศ./รพท.ลดลง ร้อยละ25 รับการส่งกลับ หลังผู้ป่วยพ้นระยะวิกฤต

สิ่งที่ประชาชนได้รับ อุ่นใจ ใกล้บ้าน เข้าถึงง่าย และรวดเร็ว ลดระยะเวลารอคอย มาตรฐานเดียวกัน ลดค่าใช้จ่าย สร้างความเชื่อมั่นในบริการที่รัฐจัดให้