ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆที่ เป็นตัวเลข ข้อความหรือ รายละเอียดซึ่งอาจอยู่ใน รูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
Chapter 1 : Introduction of System ข้อมูล และ สารสนเทศ
Advertisements

Information Systems in the Enterprise
ประเภทของระบบสารสนเทศในองค์กร
ประเภทของระบบสารสนเทศ
รายวิชา ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
33711 ชุดวิชาแนวคิด ทฤษฎี และหลักการ รัฐประศาสนศาสตร์ หน่วยที่ 14
ลักษณะระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
การจัดการสารสนเทศและ ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ MIS Management Information System
Information Technology
ระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหาร
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ และบทบาทของนักวิเคราะห์ระบบ
บทที่ 7 ระบบสารสนเทศ(Information Systems)
Seminar in Information Knowledge and Technology Management ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
บทที่ 11 ระบบสารสนเทศ.
ข้อมูล (Data) หมายถึง ข้อเท็จจริงต่างๆ ที่เรานำมาให้คอมพิวเตอร์ทำการประมวลผล คำนวณ หรือกระทำการอย่างใดอย่างหนึ่งให้ได้มาซึ่งผลลัพธ์ที่ต้องการ ปัจจุบันเราถือว่าข้อมูล.
Irwin/McGraw-Hill Copyright © 2000 by The McGraw-Hill Companies, Inc. All rights reserved. 1 Irwin/McGraw-Hill Copyright © 2000 by The McGraw-Hill Companies,
Introduction to Information Techonology Fundamental วรวิทย์ พูลสวัสดิ์ : Information Technology Fundamental.
ระบบสารสนเทศ อ.วรพจน์ พรหมจักร.
ศูนย์ข้อมูลกลางเพื่อบริหารจัดเก็บและใช้ประโยชน์
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบและการวิเคราะห์ระบบ
Information Systems Development
Chapter 3 : แบบจำลองฐานข้อมูล (Data Model)
การบริหารความสัมพันธ์ลูกค้า Customer Relationship Management: CRM
13 October 2007
บทที่ 4 แบบจำลองฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
บทที่ 4 โครงสร้างฐานข้อมูลแบบ Relational (Relational Database Model)
สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล
Data Management (การจัดการข้อมูล)
11 May 2014
การวิเคราะห์เชิงปริมาณเบื้องต้น
ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ * Management Information Systems
Data mining สุขฤทัย มาสาซ้าย.
เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
ระบบสารสนเทศ (Information System)
การจัดการฐานข้อมูลด้วยโปรแกรม MS Access 2013
บทที่ 1 ความหมายขอบเขต และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศ.
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
ความสำคัญของการบันทึกข้อมูลที่ถูกต้อง และการนำไปใช้ประโยชน์
Introduction to Data mining
(On-Line Analytical Processing)
13 October 2007
บทที่ 3 แบบจำลองของฐานข้อมูล (Database Model)
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
Data Management (การจัดการข้อมูล)
Introduction to information System
Database ฐานข้อมูล.
การจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในสถานศึกษา
บทเรียนที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ข้อมูลและสารสนเทศ.
เรื่อง การวิเคราะห์และออกแบบฐานข้อมูล MySQL Database
ข้อมูลและสารสนเทศ.
โครงสร้างข้อมูล( Data Structure)
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาจารย์ศิริพร ศักดิ์บุญญารัตน์
บทที่ 7 ระบบย่อยของระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ (MIS Subsystems)
รายวิชา ISC2101 ระบบฐานข้อมูลเบื้องต้น 3 (ทฤษฎี2-ปฏิบัติ2-ศึกษาด้วยตนเอง5) หน่วยกิต
การจัดการสารสนเทศ Management Information System (MIS)
ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ Relational Database
ตัวแบบข้อมูล (Data Modeling)
제 10장 데이터베이스.
[ บทที่ 3 ] ระบบสารสนเทศ.
Introduction to Structured System Analysis and Design
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
Data resource management
การรวบรวมข้อมูลข่าวสารการตลาด (The Marketing Information Gathering)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ข้อมูล (data) หมายถึง ข้อเท็จจริงหรือ เหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งต่าง ๆที่ เป็นตัวเลข ข้อความหรือ รายละเอียดซึ่งอาจอยู่ใน รูปแบบต่าง ๆ เช่น ภาพ เสียง วีดิโอ ของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ที่เรา สนใจ

สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูล หรือสิ่งซึ่งได้จากการนำ ข้อมูลที่เก็บรวบรวม ไว้มาประมวลผลเพื่อนำมาใช้ ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์หรือ ข้อมูลที่มีความหมายซึ่งสามารถ นำไปใช้ประโยชน์ สารสนเทศ (Information) หมายถึง ข้อมูล หรือสิ่งซึ่งได้จากการนำ ข้อมูลที่เก็บรวบรวม ไว้มาประมวลผลเพื่อนำมาใช้ ประโยชน์ตามวัตถุประสงค์หรือ ข้อมูลที่มีความหมายซึ่งสามารถ นำไปใช้ประโยชน์

ระบบสารสนเทศ (information system)

1. การรวบรวมและตรวจสอบ ข้อมูล ควรประกอบด้วย 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.2 การตรวจสอบข้อมูล 1. การรวบรวมและตรวจสอบ ข้อมูล ควรประกอบด้วย 1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 1.2 การตรวจสอบข้อมูล 2. การดำเนินการประมวลผล ข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจ ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 2.1 การจัดแบ่งข้อมูล 2.2 การจัดเรียงข้อมูล 2.3 การ สรุปผล 2.4 การ คำนวณ 2. การดำเนินการประมวลผล ข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจ ประกอบด้วยกิจกรรมดังต่อไปนี้ 2.1 การจัดแบ่งข้อมูล 2.2 การจัดเรียงข้อมูล 2.3 การ สรุปผล 2.4 การ คำนวณ

3.1 การ เก็บ รักษา ข้อมูล 3.2 การ ค้นหา ข้อมูล 3.3 การ ทำ สำเนา ข้อมูล 3.4 การ สื่อ สาร 3.4 การ สื่อ สาร 3. การดูแล รักษา สารสนเทศ เพื่อการใช้ งาน

ลักษณะสารสนเทศที่ดี 1. มีความถูกต้อง แม่นยำ (accuracy) 2. ทันต่อเวลา (timeliness) 3. มีความสมบูรณ์ครอบ ถ้วน (complete) 4. มีความสอดคล้องกับ ความ ต้องการของผู้ใช้ (relevancy) 5. สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable) 1. มีความถูกต้อง แม่นยำ (accuracy) 2. ทันต่อเวลา (timeliness) 3. มีความสมบูรณ์ครอบ ถ้วน (complete) 4. มีความสอดคล้องกับ ความ ต้องการของผู้ใช้ (relevancy) 5. สามารถพิสูจน์ได้ (verifiable)

องค์ประกอบของระบบ สารสนเทศ

คุณสมบัติของระบบสารสนเทศ เพื่อการจัดการ

ระดับของสารสนเทศในการ ตัดสินใจ 1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในการวางแผน นโยบาย 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในส่วนยุทธวิธี 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในระดับปฎิบัติ การและการควบคุม 1. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในการวางแผน นโยบาย 2. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในส่วนยุทธวิธี 3. ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ในระดับปฎิบัติ การและการควบคุม

1. ระบบ ประมวลผ ล รายการ (Transacti on Processing System :TPS) 1. ระบบ ประมวลผ ล รายการ (Transacti on Processing System :TPS) 2. ระบบจัดการ รายงาน (Man agement Reporting System :MRS) 2. ระบบจัดการ รายงาน (Man agement Reporting System :MRS) 3. ระบบ สนับสนุน การตัดสินใจ (Decision Support System: DSS) 3. ระบบ สนับสนุน การตัดสินใจ (Decision Support System: DSS) 4. ระบบ สารสนเท ศ สำนักงาน (Of fice Information System :OIS) 4. ระบบ สารสนเท ศ สำนักงาน (Of fice Information System :OIS)

ระบบฐานข้อมูล (database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและ ถูกนำมาจัดเก็บในที่ เดียวกัน การจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลมีข้อ ดีกว่าการจัดเก็บข้อมูล ในระบบแฟ้มข้อมูลพอสรุปประเด็นหลัก ๆ ได้ดังนี้ 1. สามารถลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้ 2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ 3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ 4. สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของ ข้อมูล 5. สามารถกำหนดความป็นมาตรฐานเดียวกัน ของข้อมูลได้ 6. สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของ ข้อมูลได้ 7. เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กันและ ถูกนำมาจัดเก็บในที่ เดียวกัน การจัดเก็บข้อมูลในระบบฐานข้อมูลมีข้อ ดีกว่าการจัดเก็บข้อมูล ในระบบแฟ้มข้อมูลพอสรุปประเด็นหลัก ๆ ได้ดังนี้ 1. สามารถลดความซ้ำซ้อนของข้อมูลได้ 2. หลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลได้ 3. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ 4. สามารถรักษาความถูกต้องเชื่อถือได้ของ ข้อมูล 5. สามารถกำหนดความป็นมาตรฐานเดียวกัน ของข้อมูลได้ 6. สามารถกำหนดระบบความปลอดภัยของ ข้อมูลได้ 7. เกิดความเป็นอิสระของข้อมูล

โครงสร้างในการเก็บข้อมูลในระบบ ฐานข้อมูล

ระบบการจัดการฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์ เป็นฐานข้อมูลที่ใช้โมเดลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database Model) ซึ่งผู้คิดค้นโมเดล เชิงสัมพันธ์นี้คือ Dr. E.F. Codd โดยใช้หลัก พื้นฐานทางคณิตศาสตร์ เนื่องด้วยแนวคิดของ แบบจำลองแบบนี้มีลักษณะที่คนใช้กันทั่ว กล่าวคือมีการเก็บเป็นตาราง ทำให้ง่ายต่อการ เข้าใจและการประยุกต์ใช้งาน ด้วยเหตุนี้ ระบบ ฐานข้อมูลแบบนี้จึงที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ในแง่ของ entity แบบจำลองแบบนี้คือ แฟ้มข้อมูลในรูปตาราง และ attribute ก็เปรียบ เหมือนเขตข้อมูล ส่วนความสัมพันธ์คือ ความสัมพันธ์ระหว่าง entity

ขั้นตอนการออกแบบฐานข้อมูล ขั้นที่ 1 เก็บ รวบรวม ข้อมูล รายละเอี ยด ทั้งหมด ขั้นที่ 2 กำหนด โครงสร้ างของ Table ขั้นที่ 3 กำหน ดคีย์ ขั้นที่ 4 การทำ Normalizat ion ขั้นที่ 5 กำหนด ความสัม พันธ์