สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
Advertisements

จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
สรุปผลการตรวจราชการฯ รอบที่ 2 เขตสุขภาพที่ 10 อุบลราชธานี ศรีสะเกษ ยโสธร อำนาจเจริญ มุกดาหาร.
การจัดการการดูแล (Care Management) นางอุไลวรรณ์ ไขสังเกต พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
นำเสนอโดย เกศมณี สิทธิศิลป์ และคณะทำงาน
(P7S10P1G2) การประชุมถ่ายทอดนโยบายและตัวชี้วัดด้านสาธารณสุข
ตรวจราชการรอบที่ 2/2559 โรงพยาบาลศรีสังวาลย์ จังหวัดแม่ฮ่องสอน.
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
นโยบายการดำเนินงาน ปี 2561
นางวนิดา สมภูงา หัวหน้ากลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
สรุปผลการตรวจราชการ รอบที่ 1 ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560
สรุปผลการตรวจราชการครั้งที่ 2 คณะ 2 ปีงบประมาณ 2560
แผนการลงทุนด้านสุขภาพระยะ 5 ปี (Long Term Invesment Plan)
แนวทางการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2561
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
การพัฒนาระบบบริการ Fast Track
แผนงาน ที่ 3 การป้องกันควบคุมโรคและลดปัจจัยเสี่ยงด้านสุขภาพ
ความท้าทายในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ
การดำเนินงานป้องกันและ แก้ไขปัญหาโรคมะเร็ง
สรุปผลการดำเนินงาน กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิตและยาเสพติด
โครงการ มหัศจรรย์ 1,000 วันแรกของชีวิต
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ.
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
แผนงานป้องกันและลดการตายจากบาดเจ็บทางถนน ในทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน ปีงบประมาณ 2560 กระทรวงสาธารณสุข สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค วันที่ พ.ย.
การเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย
Service Plan สาขาโรคหัวใจ โรงพยาบาลพุทธชินราช พิษณุโลก
การตรวจราชการติดตามและประเมินผล : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย
ผลการดำเนินงานตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพ และป้องกันโรคตามกลุ่มวัย
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
สรุปผลการดำเนินงานพัฒนาระบบบริการสุขภาพ สาขาโรคไม่ติดต่อ
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
การดำเนินงาน OSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
ตำบลจัดการสุขภาพ.
Buddy Happy Brain (Smart Kids) ศูนย์อนามัยที่ ๓
การคัดกรองพัฒนาการเด็ก เครือข่ายอำเภอวังจันทร์ จังหวัดระยอง
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
ประเด็นยุทธศาสตร์ : การสร้างระบบสุขภาพเพื่อประชาชนที่ทุกคนเป็นเจ้าของ
นโยบายการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ
กรมกิจการเด็กและเยาวชน
แนวทางการตรวจราชการและนิเทศงาน สคร.5 เขตสุขภาพที่ 9 ปี 2558
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
บทบาทของกระทรวงสาธารณสุขกับการดำเนินงานOSCC ศูนย์ช่วยเหลือสังคม
การส่งเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การคุ้มครองผู้บริโภค
กลุ่มงานควบคุมโรคไม่ติดต่อ สุขภาพจิต และยาเสพติด
นโยบาย ยุทธศาสตร์ มาตรการ แนวทาง พรบ นโยบาย พรบ 08/04/62
การบริหารโครงการ ด้วยระบบปฏิทินกิจกรรมแบบเบ็ดเสร็จ Project management with integrated calendar system โดย ... ธนาภรณ์ ฉิมแพ / ประจักษ์ สุขอร่าม / จารุวรรณ.
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
การขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ด้านสาธารณสุข)
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
สถานการณ์ ผลการดำเนินงาน ส่งเสริมสุขภาพกลุ่มวัยรุ่น
แนวทาง/ทิศทางการดำเนินงานด้านสุขภาพจิตและจิตเวชในวัยเด็กและวัยรุ่น
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
สรุปผลการตรวจราชการฯ
เขตสุขภาพที่ 10 มุกศรีโสธรเจริญราชธานี
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน
ขอต้อนรับ นายแพทย์ธงชัย กีรติหัตถยากร
การพัฒนาระบบ ECS (Emergency Care System) โรงพยาบาลพยัคฆภูมิพิสัย
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
PA Mother & Child Health
Output ที่ต้องการ (คาดหวัง) ระบบงาน หรือ มาตรฐานการดำเนินงานที่ควรมี
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
สรุปผลการตรวจราชการฯ กรณีปกติ รอบที่ 2 ปี 2562 เขตสุขภาพที่ 3
ECS คุณภาพ โรงพยาบาลยางสีสุราช ปี 2561 (ไตรมาสที่ 1)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการตรวจราชการติดตามและประเมินผล กระทรวงสาธารณสุข คณะที่ ๑ : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัยและระบบ ควบคุมโรค ภาพรวมเขต 8 ( รอบ 2/2558) กรมอนามัย กรมสุขภาพจิต กรมควบคุมโรค กรมการแพทย์

สุขภาพตามกลุ่มวัย เป้าหมายผลงาน ผ่านเกณฑ์ 1.อัตรามารดาตาย (ต่อแสนLB) ≤ (29,858/4) ✓ 2.ร้อยละเด็กมีพัฒนาการสมวัย≥ 85%91.63 ✓ 3.ร้อยละเด็กนร.มีภาวะอ้วน≤10%9.13 ✓ 4.อัตราการเสียชีวิตจากการจมน้ำของเด็ก (อายุ ต่ำกว่า 15 ปี) ต่อปชก.เด็กแสนคน ≤ ✓ 5.อัตราการคลอด ในมารดา15-19ปี (ต่อ ประชากรหญิง15-19ปีพันคน) ≤ ✓ 7.อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน (ต่อ ประชากรแสนคน) ≤ ✓ 8.อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจ (ต่อ ประชากรแสนคน) ≤ ✓ 9.อัตราตายจากโรคหลอดเลือดสมอง ในผู้สูงอายุ (ต่อ ประชากรแสนคน) ≤ ✓ 10.ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์30%55.0 ✓ ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด

ประเด็นข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ โครงสร้าง * จ. เลย บริหารตามกลุ่มวัย เป็นรูปแบบบริหารแบบบูรณาการที่ดี สภาพปัญหา ทุกจว. ควรวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหา เพื่อแก้ปัญหาได้ถูกต้อง แผนสุขภาพ - ทุกจว. วิเคราะห์ SWOT, จ. อุดรธานี จ. หนองคาย ใช้ 7 Building Block * 6 เดือนหลัง ทุกจว. ใช้ care circle map ช่วยกำกับประเด็นสำคัญ งบประมาณ - ทุกจว. มีการปรับแผนงบฯตามนโยบาย / ประเด็นปัญหาสุขภาพ ระบบข้อมูล - ควรพัฒนาระบบข้อมูลให้มีคุณภาพ เพื่อใช้กำกับ ติดตาม แก้ปัญหา * จ. นครพนม เป็นตัวอย่างที่ดีด้านระบบข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลใช้ประโยชน์ นำแผนสู่การปฏิบัติ ควรจัดทำเอกสาร / คู่มือปฏิบัติงาน เพื่อสื่อสารทุกระดับรับทราบ ควรตรวจสอบแผนอำเภอ ให้สอดคล้องกับแผน จังหวัด / เขต กำกับติดตาม - ควรมีการสรุปผล - คืนข้อมูล เพื่อปรับแผน / กลยุทธ์ เพื่อพัฒนางาน การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัย

กลุ่มสตรีและเด็ก 0-5 ปี

อัตราส่วนการตายมารดาไทย (เป้าหมาย : ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ) อัตราส่วนการตายมารดาไทย (เป้าหมาย : ไม่เกิน 15 ต่อการเกิดมีชีพแสนคน ) อัตรา ประเทศ = 31.2 (กรมอนามัย 2558) ประเทศ = 31.2 (กรมอนามัย 2558) ภาพรวมเขต 8 = ข้อมูล 9 เดือน ปี 2558 ข้อมูลย้อนหลัง 3ปี 2 ราย 1 ราย 4 ราย ปี 2556

โอกาสพัฒนาข้อเสนอแนะ 1.ระบบบริการ - มารดาตาย 4 ราย (13.40/แสน) ( HELLP syndrome, pulmonary embolism, fatty liver with septic shock ) -ภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์สูงกว่า เกณฑ์ (17.15%) -LBW<2,500 gm สูง (8.57%) - ค้นหามารดา Early ANC - เพิ่มมาตรการเชิงรุกในกลุ่มเสี่ยง& - พัฒนาระบบFast track - พัฒนาทีม Co-ordination ทีมสหวิชาชีพ - ติดตามดูแลอย่างเข้มข้นรายบุคคล - เน้นชุดสิทธิประโยชน์ตามกลุ่มวัย (การได้รับยา เสริมธาตุเหล็ก และวิตามินบำรุง) - เน้นกิจกรรมโรงเรียนพ่อแม่แบบมีส่วนร่วม 2.ระบบข้อมูล - พัฒนาบุคลากร บันทึกข้อมูลให้มีคุณภาพ ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน (รายงาน ก2 แม่และเด็ก) 3.งบประมาณ PP มีน้อย -เขต จัดสรรงบประมาณ ให้เพียงพอ กลุ่มสตรีและเด็กปฐมวัย

เด็กมีพัฒนาการสมวัย และความครอบคลุมการคัดกรอง ร้อยละของเด็ก 0-5 ปีได้รับการคัดกรองด้วยอนามัย55/ DSPM มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่าร้อยละ 85 ระดับเขต ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก อายุ 42 เดือน ด้วย DSPM (รณรงค์ ช่วง 6-10 กค.2558 ) - พัฒนาการสมวัย % (5,055/6,077คน) -พัฒนาการล่าช้า % (1,022/6,077คน) ระดับประเทศ ผลการคัดกรองพัฒนาการเด็ก อายุ 42 เดือน ด้วย DSPM (รณรงค์ ช่วง 6-10 กค.2558 ) - พัฒนาการสมวัย % - พัฒนาการล่าช้า %

โอกาสพัฒนาข้อเสนอแนะ 1.การคัดกรองพัฒนาการพบเด็ก กลุ่มเสี่ยงน้อย -นำร่องใช้ DSPM ในเขตสุขภาพที่ 8 จ.หนองบัวลำภู สามารถคัดกรองเด็ก กลุ่มเสี่ยงได้มากขึ้น - มีมาตรการเชิงรุกเฝ้าระวัง/ค้นหาเด็กกลุ่มเสี่ยง - จัดตั้งคลินิกกระตุ้นพัฒนาการเด็ก One stop Service (รพ.อุดรธานี และ รพ.หนองบัวลำภู) - Tracking management ทุกระดับ - ให้บริการเชิงรุกโรงเรียนพ่อแม่ในชุมชน -ติดตามเด็กพัฒนาการล่าช้า โดยกรมสุขภาพจิต -สนับสนุนการใช้เครื่องมือ TEDA4I รพช.ขึ้นไป 2.ศูนย์เด็กเล็ก อยู่ในระดับการ ประเมินตนเอง - ทุกจังหวัด เร่งรัดให้ทีมประเมินระดับจังหวัดเข้า ไปนิเทศ ติดตาม - พัฒนาทีมประเมินสธ. & ทักษะครูพี่เลี้ยง - สะท้อนปัญหาและแนวทางแก้ไขโดย อปท. มีส่วนร่วม - พัฒนาระบบฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและ สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ พัฒนาการ เด็กปฐมวัย

กลุ่มวัยเรียน

สถานการณ์ปัญหาสุขภาพเด็กวัยเรียนเขตสุขภาพที่ 8 ช่อง ปาก โภชนาการ หู / ตา วัยเรียน ❖ นร.ป.1-6 มีฟันแท้ผุ 41.4%, ป %** ❖ เหงือกอักเสบ 75.6%** ❖ ร.ร.ปลอดน้ำอัดลม 87.23% ❖ ร.ร.จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก และนร.ได้รับบริการทันตกรรม % ❖ แปรงฟันหลังหลังอาหารกลางวันที่ร.ร.ทุกวัน 41.1% * ❖ นักเรียนกินขนมกรุบกรอบ ลูกอม 52.9%* ❖ นักเรียนดื่มเครื่องดื่มรสหวาน เช่น น้ำอัดลม น้ำหวาน นมเปรี้ยว 44.3%* ❖ เด็กเริ่มอ้วนและอ้วน 9.13 % ❖ เด็ก 6-14 ปี มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน % ❖ เตี้ยและค่อนข้างเตี้ย 11.7%* ❖ ผอม และค่อนข้างผอม 7.1% * ที่มา: การนิเทศงานและตรวจราชการ ปี 2558 สำรวจภาวะสุขภาพนักเรียนในร.ร.ตชด.ปี 2558 * การ สำรวจภาวะสุขภาพเด็กวัยเรียน ปี 2555 ** ❖ นักเรียน ป.1 ได้รับการตรวจสายตาและการได้ยิน % ❖ กรณีผิดปกติต้องได้รับการช่วยเหลือ/แก้ไข/ส่งต่อ 95.86% ❖ นักเรียน ป.1 ได้รับการตรวจสายตาและการได้ยิน % ❖ กรณีผิดปกติต้องได้รับการช่วยเหลือ/แก้ไข/ส่งต่อ 95.86% ❖ เด็กจมน้ำ 3.9 ❖ EQ (ผลการสำรวจเด็ก ป.1 จ.หนองคาย กรมสุขภาพจิตปี 2554) ❖ IQ สูงสุดที่ จ.หนองคาย ต่ำสุดที่ จ.สกลนคร 93.7 (ผลการสำรวจ นร.ป.1ของกรมสุขภาพจิตปี 57) ❖ คอพอก 13.2%* เปลือกตาซีด 16.9%* ❖ เด็กจมน้ำ 3.9 ❖ EQ (ผลการสำรวจเด็ก ป.1 จ.หนองคาย กรมสุขภาพจิตปี 2554) ❖ IQ สูงสุดที่ จ.หนองคาย ต่ำสุดที่ จ.สกลนคร 93.7 (ผลการสำรวจ นร.ป.1ของกรมสุขภาพจิตปี 57) ❖ คอพอก 13.2%* เปลือกตาซีด 16.9%*

-ร.ร.ส่งเสริมสุขภาพ -ร.ร.เด็กไทยฟันดี -ร.ร.ปลอดน้ำอัดลม -โรงเรียนเด็กไทย แก้มใส -สมุดบันทึกสุขภาพ -สวนสาธารณะ -สถานที่ ออกกำลังกาย -อนามัยโรงเรียน -คัดกรองภาวะ โภชนาการ ระบบ Refer DPAC สุขบัญญัติทักษะชีวิต เด็กนักเรียน เริ่มอ้วน และอ้วน ไม่เกินร้อยละ 10 HPS BOARD Screeningยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กThai School Lunch 43 แฟ้ม ประเทศ(ปี57) = 9.9% เขต(ปี58) = 9.13 %

ปัญหา/อุปสรรคข้อเสนอแนะ 1.ดำเนินงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ - มาตรการควบคุมการจำหน่ายขนมกรุบ กรอบ/น้ำหวานในโรงเรียน/ร้านค้ารอบๆ โรงเรียน/ชุมชนยังไม่ชัดเจน -การพัฒนายกระดับโรงเรียนให้เป็น โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร ดำเนินการได้ค่อนข้างน้อย -นักเรียนมีปัญหาผอมและเตี้ย  ควรมีมาตรการที่ชัดเจนในการห้ามจำหน่าย น้ำอัดลม/ขนมกรุบกรอบในโรงเรียน/บริเวณรอบ ๆ โรงเรียน/ชุมชนให้ครอบคลุมทุกแห่ง  สร้างความตระหนักให้ภาคีเครือข่ายเห็นความสำคัญ และประโยชน์ที่บุตรหลาน  ควรส่งเสริมให้มีการจัดอาหารว่างเป็นผลไม้ตาม ฤดูกาล  ขยายผลโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับทองสู่ระดับ เพชรเพิ่มขึ้น  เด็กนักเรียนเตี้ยและผอม ควรได้รับการดูแล 2. การจัดบริการสุขภาพร่วมกับโรงเรียน ระบบส่งต่อเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ เกินสู่คลินิก DPAC ยังไม่ชัดเจน  สร้างระบบส่งต่อเด็กที่มีปัญหาภาวะโภชนาการเกินสู่ คลินิก DPAC ให้ชัดเจน  คืนข้อมูลให้ภาคีเครือข่ายรับทราบและตระหนักใน การแก้ไขปัญหาร่วมกัน 3. ชุดสิทธิประโยชน์ การจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก ไม่มีความครอบคลุม  ควรมีระบบบริหารจัดการการจ่ายยาเม็ดเสริมธาตุ เหล็กให้ครอบคลุมตามชุดสิทธิประโยชน์  ควรสร้างความเข้าใจ/วิธีการคัดกรอง/การจ่ายยา เม็ดเสริมธาตุเหล็กให้กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข 4. ระบบข้อมูล การลงข้อมูลระบบรายงาน 43 แฟ้ม ค่อนข้างน้อย  เร่งรัด สร้างความเข้าใจให้หน่วยงานในพื้นที่ลง ข้อมูลเพิ่มขึ้นเพื่อจะได้ข้อมูลภาวะเริ่มอ้วนและอ้วน ของนักเรียนที่แท้จริง การดูแลสุขภาพกลุ่มวัยเรียน

ทีมผู้ก่อการดี อำเภอละ 26 ทีม อบรมวิทยากรแกนนำ อบรมนักเรียนหลักสูตร ว่ายน้ำ และลอยตัว SRRT / กู้ชีพ / กู้ภัย / อปท. / โรงเรียน /ชุมชน ปฐมพยาบาล/ช่วยชีวิตการว่ายน้ำ/การลอยตัว คณะทำงาน/ทีมก่อนการดี CPRภาคีเครือข่ายชมชน 43 แฟ้ม / รง. EMS / สนย. อัตราตายจากการจมน้ำ ไม่เกิน 6.5 ต่อ ปชก.< 15 ปีแสนคน

กลุ่มวัยรุ่น

กระบวนการ เชิงรุก - การสอน ทักษะชีวิต / เพศศึกษาให้ ครอบคลุมทุก แห่ง - อำเภออนามัยการ เจริญพันธุ์ / YFHS ผ่านเกณฑ์ และพัฒนาต่อเนื่อง - ประชุมแลกเปลี่ยน เรียนรู้ - ส่งเสริมให้ อปท. ทุกแห่ง มี แผนปฏิบัติการ การให้บริการ -YFHS -Psychosocial Clinic -OSCC ฐานข้อมูล 43 แฟ้ม อบรมบุคลากร สธ. มาตรฐานคลินิกวัยรุ่น อบรมผู้ปกครอง อสม., การดำเนินงานสุขภาพวัยรุ่นแบบบูรณาการ อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ ปี ไม่เกิน 50 ต่อประชากรหญิงอายุ ปี 1,000 คน

16 - การจัดการด้านคณะกรรมการและภาคีเครือข่ายทั้งในและนอก ระบบ - โรงเรียนมัธยมเข้าร่วมจัดการสอนเพศวิถีศึกษารอบด้าน - การติดตาม Coaching อย่างต่อเนื่อง - จัดกิจกรรมส่งเสริมพัฒนาสอดคล้องกับโอกาสวันสำคัญต่างๆ - ชุมชนมีการจัดพื้นที่สร้างสรรค์ให้กับเยาวชน โดยการพัฒนา แกนนำเยาวชน และเพิ่มการเข้าถึงเยาวชนนอกสถานศึกษา - ขยายตำบลอนามัยเจริญพันธุ์ครอบคลุมทุกอำเภอ กระบวนการ ดำเนินงาน 1) จ. อุดรธานี มีพื้นที่ตำบล ต้นแบบ ๑๐ ตำบล 2) จ. เลย โครงการ Buddy Happy Teen 3) จ. นครพนม อำเภอนำร่อง ๓ อำเภอ 4) จ. หนองคาย โรงเรียน ต้นแบบ การสอนเพศศึกษา และระบบการช่วยเหลือที่ เชื่อมโยงระหว่างโรงเรียนกับ โรงพยาบาล โดยมี Functional body จุดเด่น - จัดให้มี Teen Manager ระดับ จังหวัด / เขต - จัดให้มีคณะทำงานอำเภออนามัย เจริญพันธ์และเพศวิถีศึกษา - ขยายโรงเรียนมีการสอนเพศศึกษา / ทักษะชีวิต - Psychosocial Clinic เชื่อมโยงไปยัง สถานศึกษา - พัฒนาระบบฐานข้อมูลระดับจังหวัด / เขต - หลักสูตรการพัฒนาผู้ให้บริการ ปรึกษาวัยรุ่น (Online) - ผลักดันประเด็นปัญหาสุขภาพเด็ก วัยรุ่นเข้าอยู่ในระบบสุขภาพอำเภอ (DHS) ข้อเสนอแนะ

-งานบุญ งานศพ ปลอดเหล้า -งดเหล้าครบ พรรษา -ธรรมนูญ สุขภาพตำบล -สุ่มตรวจเตือน -เฝ้าระวัง/ กล่าวโทษ -จัดระเบียบ สังคม -สื่อสาร รณรงค์ -แผน ยุทธศาสตร์กลุ่ม วัยรุ่น -คลินิกเลิกเหล้า -อำเภออนามัย เจริญพันธ์ ไม่ดื่มไม่เสพ คกก. ควบคุมเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ การบังคับใช้กฎหมายกองทุนสุขภาพMATERIAL สนง.สถิติแห่งชาติ/ 43 แฟ้ม ลดความชุกผู้บริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในประชากรอายุ ปี ภายในจังหวัด (ไม่เกินร้อยละ 13) แหล่งข้อมูล: 43 แฟ้ม (NCD Screening), NA=รอผลสำนักงานสถิติแห่งชาติ

กลุ่มวัยทำงาน

การแพทย์ฉุกเฉิน ทีมสอบสวนสหสาขา วิเคราะห์ข้อมูล สาเหตุ และปัจจัยเสี่ยง เครือข่ายระดับอำเภอ ยัง ไม่เข้มแข็ง มาตรการชุมชน/องค์กร ประชาชนไม่ตระหนัก -ER EMS -SRRT - ระบบ Refer หมวก / เข็มขัด/วินัยจราจรกฎหมาย / ไม่ดื่ม คกก.ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนน ซ้อมแผนภาคีเครือข่าย 43 แฟ้ม/รง.19 สาเหตุ/รง.สอบสวน อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนน ไม่เกิน 18 ต่อประชากรแสนคน

-DHS -หมู่บ้าน/ ตำบล จัดการสุขภาพ -สวนสาธารณะ -สถานที่ออก กำลังกาย อปท. อบต. เครือข่าย -คัดกรองกลุ่มเสี่ยง -CVD Risk -คลินิก NCD คุณภาพ -DPAC -Warfarin clinic -EMS/ ER 3 อ 2 ส NCD BOARD System/ Case Manager MONEY คู่มือ/เครื่องมือ/อุปกรณ์ 43 แฟ้ม อัตราตายจากโรคหลอดเลือดหัวใจลดลง ร้อยละ 10 ภายในระยะ 5 ปี ( ) แหล่งข้อมูล: 43 แฟ้ม (NCD Screening), NA=รอผลสำนักงานสถิติแห่งชาติ

5. กลุ่มผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุในเขตสุขภาพที่ 8 ( เป้าหมาย : ไม่เกิน 10 ) ข้อมูล ปี 2558 ภาพรวมเขต 8 : ทุกจังหวัดเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มี ผู้สูงอายุรวม 659,724ราย (ร้อยละ ของประชากรทั้งเขต) จังหวัดที่มีผู้สูงอายุ มากที่สุด คือ จ.เลย 88,840 ราย ร้อยละ ภาพรวมเขต 8 : ทุกจังหวัดเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ มี ผู้สูงอายุรวม 659,724ราย (ร้อยละ ของประชากรทั้งเขต) จังหวัดที่มีผู้สูงอายุ มากที่สุด คือ จ.เลย 88,840 ราย ร้อยละ ร้อยละ

การคัดกรอง ADL ในเขตสุขภาพที่ 8 ข้อมูล ปี 2558 ภาพรวมเขต 8 : ทุกจังหวัดคัดกรองความสามารถปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน ( ADL) ของผู้สูงอายุ ภาพรวมเขต 88 % แบ่งเป็น - กลุ่มติดสังคม 88.03% – กลุ่มติดบ้าน 7.48% - กลุ่มติดเตียง 1.78% ภาพรวมเขต 8 : ทุกจังหวัดคัดกรองความสามารถปฏิบัติกิจวัตร ประจำวัน ( ADL) ของผู้สูงอายุ ภาพรวมเขต 88 % แบ่งเป็น - กลุ่มติดสังคม 88.03% – กลุ่มติดบ้าน 7.48% - กลุ่มติดเตียง 1.78% ร้อยละ

ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ( เป้าหมาย : ร้อยละ 30 ) ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ ( เป้าหมาย : ร้อยละ 30 )

ร้อยละของตำบลดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ( เป้าหมาย : ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 30 ) ภาพรวมเขต 8 : ชุมชนมีระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว LTC ตามกลยุทธ์ - ทุกจังหวัดดำเนินการ ตำบลดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ภาพรวมเขต ร้อยละ 50 - ทุกจังหวัด ขับเคลื่อนตำบล LTC สู่ระบบสุขภาพอำเภอ ( DHS) ภาพรวมเขต 8 : ชุมชนมีระบบดูแลผู้สูงอายุระยะยาว LTC ตามกลยุทธ์ - ทุกจังหวัดดำเนินการ ตำบลดูแลผู้สูงอายุระยะยาว ภาพรวมเขต ร้อยละ 50 - ทุกจังหวัด ขับเคลื่อนตำบล LTC สู่ระบบสุขภาพอำเภอ ( DHS) ข้อมูลไตรมาส 3 ปี 2558 ร้อยละ

โอกาสพัฒนาข้อเสนอแนะ 1.ระบบข้อมูล ❖ มีการคัดกรอง /ประเมิน / พัฒนาระบบ ข้อมูลให้สามารถใช้วางแผนงานได้ ❖ พัฒนาโปรแกรม LTC 2.กระบวนการดำเนินงาน - มี Project manager จังหวัด / อำเภอ -คลินิกผู้สูงอายุแบบครบวงจรในสถาน บริการสาธารณสุข -การอบรม Care manager และ Care giver ครอบคลุมมากขึ้น -บูรณาการการคัดกรอง ADL พฤติกรรม พึงประสงค์ Geriatic syn และสุขภาพจิต ❖ ประกาศเป็นวาระของจังหวัด และเขต ❖ บูรณาการงาน การดูแลผู้สูงอายุ ในทุก ระดับ : ปัจเจกชน ชุมชน และ สถาน บริการสาธารณสุข 3.ความเข้มแข็งชุมชน และภาคี เครือข่าย - ชมรมผู้สูงอายุ -โรงเรียนผู้สูงอายุ - ตำบล LTC -วัดส่งเสริมสุขภาพ - อำเภอสุขภาพดี 80ปียังแจ๋ว ❖ ดึงภาคีเครือข่าย ระบบสุขภาพระดับ อำเภอ(DHS)เข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไข ปัญหา งานอนามัยกลุ่มวัยผู้สูงอายุ 4.Model ต้นแบบ ❖ วัดส่งเสริมสุขภาพ ที่ วัดศรีวิไล จ.บึงกาฬ ❖ รร.ผู้สูงอายุ ที่ จ.เลย และ จ.หนองบัวลำภู ❖ จังหวัดผู้สูงอายุ จ.อุดรธานี

ผู้พิการ คนพิการทางการเคลื่อนไหว ( ขาขาด ) ได้รับบริการครบถ้วน ร้อยละ 90 จังหวัดมีการดำเนินงานบูรณาการระบบดูแลสุขภาพคน พิการทางการเคลื่อนไหว / ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พ้น ระยะวิกฤติ ผ่านเกณฑ์ระดับ 3 ร้อยละ 100 ของสถานบริการเป้าหมาย มีการปรับ สภาพแวดล้อม จัดสิ่งอำนวยความสะดวก อย่างน้อยอยู่ใน ระดับ 4 ภายในปี 2558 ร้อยละ 80 ของคนพิการมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

พ้นวิกฤติ ระดับ 3 ปรับ สภาพแวดล้อม คุณภาพชีวิตดี ขึ้น ได้รับบริการ ครบถ้วน จังหวัดผลงาน ร้อย ละ ผลงานร้อยละ ผลงานร้อยละผลงานร้อยละ อุดรธานี 5 16 แห่ง สกลนคร นครพนม เลย หนองคาย หนองบัวฯ บึงกาฬ ผู้พิการ ปีงบประมาณ ๒๕๕๘

ระบบควบคุม โรคและภัย ระบบเฝ้าระวัง  มีระบบการตรวจจับ การระบาด จัดทำ สถานการณ์โรค สำคัญในพื้นที่ ระดับ จังหวัด / อำเภอ / ตำบล  มีระบบเฝ้าระวัง เหตุการณ์ที่ผิดปกติ (Event base)  การนำข้อมูลมา พยากรณ์โรคเพื่อแจ้ง เตือนภัยในพื้นที่น้อย  การวิเคราะห์พื้นที่ เสี่ยงจากปัจจัยที่ เกี่ยวข้องและนำผล การพยากรณ์โรคมา วางแผนควบคุมยัง น้อย ระบบเฝ้าระวัง  มีระบบการตรวจจับ การระบาด จัดทำ สถานการณ์โรค สำคัญในพื้นที่ ระดับ จังหวัด / อำเภอ / ตำบล  มีระบบเฝ้าระวัง เหตุการณ์ที่ผิดปกติ (Event base)  การนำข้อมูลมา พยากรณ์โรคเพื่อแจ้ง เตือนภัยในพื้นที่น้อย  การวิเคราะห์พื้นที่ เสี่ยงจากปัจจัยที่ เกี่ยวข้องและนำผล การพยากรณ์โรคมา วางแผนควบคุมยัง น้อย ระบบการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน  ทีม SRRT ผ่านประเมินมาตรฐาน SRRT คุณภาพ 87อำเภอ (100%)  มีระบบข้อมูล Real time  พัฒนาระบบปฏิบัติการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน และฝึกซ้อมแผนฯอย่าง ต่อเนื่อง  การพัฒนาทักษะการสอบสวนด้านการ บาดเจ็บ / en-occ ยังน้อย  การนำผลการวิเคราะห์มาใช้ในการ ป้องกันควบคุมโรคน้อย ระบบการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน  ทีม SRRT ผ่านประเมินมาตรฐาน SRRT คุณภาพ 87อำเภอ (100%)  มีระบบข้อมูล Real time  พัฒนาระบบปฏิบัติการตอบโต้ภาวะ ฉุกเฉิน และฝึกซ้อมแผนฯอย่าง ต่อเนื่อง  การพัฒนาทักษะการสอบสวนด้านการ บาดเจ็บ / en-occ ยังน้อย  การนำผลการวิเคราะห์มาใช้ในการ ป้องกันควบคุมโรคน้อย IHR 2005 ควบคุมโรคและภัยใน พื้นที่ เป้าหมายการพัฒนาระบบควบคุมโรค ตรวจจับ เร็ว ตอบโต้ ทัน ช่องทางเข้าออกประเทศ  4 จังหวัดชายแดน เลย บึงกาฬ หนองคาย และนครพนม มีแผน พัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศตาม กฎอนามัยระหว่างประเทศ 2005  การพัฒนาearly detect ที่ช่องทาง เข้าออก ช่องทางเข้าออกประเทศ  4 จังหวัดชายแดน เลย บึงกาฬ หนองคาย และนครพนม มีแผน พัฒนาช่องทางเข้าออกประเทศตาม กฎอนามัยระหว่างประเทศ 2005  การพัฒนาearly detect ที่ช่องทาง เข้าออก สุขภาวะชายแดน  มีการพัฒนาจังหวัดต้นแบบสู่ มาตรฐานการดำเนินงานด้าน กฎอนามัย ระหว่างประเทศ 2005 คือ หนองคาย  พัฒนาความร่วมมือด้าน สาธารณสุขกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องแบบบูรณาการ สุขภาวะชายแดน  มีการพัฒนาจังหวัดต้นแบบสู่ มาตรฐานการดำเนินงานด้าน กฎอนามัย ระหว่างประเทศ 2005 คือ หนองคาย  พัฒนาความร่วมมือด้าน สาธารณสุขกับหน่วยงานที่ เกี่ยวข้องแบบบูรณาการ ประชากรต่างด้าว  การสำรวจประชากรต่างด้าวในพื้นที่  การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร สาธารณสุขต่างด้าวในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่จังหวัด ชายแดนในเดือนกันยายน 58  เพิ่มการ เข้าถึงหลักประกันสุขภาพ ให้ประชากรต่างด้าว ประชากรต่างด้าว  การสำรวจประชากรต่างด้าวในพื้นที่  การพัฒนาศักยภาพอาสาสมัคร สาธารณสุขต่างด้าวในการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคในพื้นที่จังหวัด ชายแดนในเดือนกันยายน 58  เพิ่มการ เข้าถึงหลักประกันสุขภาพ ให้ประชากรต่างด้าว

ร้อยละ 50 ของอำเภอที่สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญในพื้นที่ได้ (ไข้เลือดออก, หัด) ข้อมูล ณ 30 มิ.ย. 58 ร้อยละ 50 ของอำเภอชายแดนสามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญ โรค จังหวัด (จำนวนอำเภอชายแดน) ภาพรวมเขต อำเภอชายแดน หนองคาย (5 อำเภอ) เลย (6 อำเภอ) บึงกาฬ (4 อำเภอ) นครพนม (4 อำเภอ) ทั้งหมด ควบคุม โรคได้ โรคลำดับ 1ผ่าน 19 โรคลำดับ 2ผ่าน 19

ควรประเมินระบบเฝ้าระวังทาง สาธารณสุขอย่างน้อยปีละครั้ง เพื่อนำข้อมูลมาวางแผนและ พัฒนาระบบเฝ้าระวังโรคให้ สามารถตรวจจับความผิดปกติ ที่เกิดขึ้นได้ พัฒนาศักยภาพของ SRRT ในด้านการพยากรณ์โรค / ตรวจจับโรคติดต่อสำคัญ / เทคนิค / วิธีการสอบสวน ค้นหาแหล่งโรค What ‘ s next ส่วนกลาง จังหวัด ควรแลกเปลี่ยนแนวทางการ พัฒนาฐานข้อมูลที่ยังเป็น ปัญหา เช่น เอดส์ โรคจาก การประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อม เพื่อหาทางออก ในการพัฒนางานร่วมกัน การบูรณาการอาหาร ปลอดภัยเพื่อลดป่วยด้วย โรคติดต่อทางอาหารและน้ำ โดยเฉพาะ โรคอุจจาระร่วง อาหารเป็นพิษ และ หนอนพยาธิ เข้าไปใน DHS การสร้างความร่วมมือกับ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชนในการแก้ไข ปัญหาเรื่องอาหารปลอดภัย ในชุมชน

THANK YOU