การประชุม เพื่อขับเคลื่อนการแก้ไขปัญหาการทับซ้อนของ พื้นที่ป่าไม้และเขตปฏิรูปที่ดิน ระดับจังหวัด โดย นางมิ่งขวัญ วิชยารังสฤษดิ์ ปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม วันจันทร์ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๗
วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๕๗ พลเอกดาว์พงษ์ รัตน สุวรรณ รมว. ทส. และ นาย ปีติพงศ์ พึ่งบุญ ณ อยุธยา รมว. กษ. ได้ร่วมประชุม หารือเกี่ยวกับแนวทางการ แก้ไขปัญหาการทับซ้อน ของพื้นที่ป่าไม้และเขต ปฏิรูปที่ดิน ณ สนง. ป. กษ ผลการหารือได้ข้อสรุปดังนี้ ๑. ผลลัพธ์ที่จะได้ (OUT COME) ๒. แผนการดำเนินงาน ความเป็นมา
สามารถรักษาพื้นที่คงสภาพป่าไว้ และเพิ่มที่ป่า ได้พื้นที่ที่จะสามารถนำไปจัดให้กับประชาชนผู้ไร้ที่ดินทำกิน สามารถดำเนินการกับผู้ที่ไม่มีสิทธิหรือขาดคุณสมบัติในการได้ สิทธิ ได้ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและแนวทางการดำเนินการที่ ชัดเจน อาทิ การจัดระเบียบการใช้ประโยชน์ที่ดิน การพัฒนา คุณภาพชีวิตประชาชน ๑. ผลลัพธ์ที่จะได้ (OUT COME) ๒. แผนการดำเนินงาน แต่งตั้งคณะทำงานระดับกระทรวง โดยมีปลัดกระทรวงทั้งสอง กระทรวงเป็นประธานร่วม และส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเป็น คณะทำงาน - ปัจจุบันได้มีคำสั่งกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ที่ ๒๗๒ / ๒๕๕๗ ลงวันที่ ๑๐ ตุลาคม พ. ศ. ๒๕๕๗ แต่งตั้งคณะทำงาน ระดับกระทรวง ดังกล่าว แต่งตั้งคณะทำงานระดับพื้นที่ประกอบด้วยผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นประธานคณะทำงาน ผู้อำนวยการทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อมจังหวัด ปฏิรูปที่ดินจังหวัด ผู้แทนฝ่ายทหาร และ ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องเป็นคณะทำงาน จัดทำ ROAD MAP เพื่อดำเนินการให้แล้วเสร็จใน ๑๘๐ วัน
ผลสรุปข้อมูลพื้นที่ส่ง - รับมอบ และ พื้นที่กันคืน (RF) ระหว่างกรมป่าไม้และ ส. ป. ก. ผลสรุปข้อมูลพื้นที่ส่ง - รับมอบ และ พื้นที่กันคืน (RF) ระหว่างกรมป่าไม้และ ส. ป. ก. 5 หน่วยงา น ข้อมูลเดิมข้อมูลร่วมกันตรวจสอบ ใหม่ พื้นที่ส่ง มอบ ( ล้านไร่ ) พื้นที่กันคืน (RF) ( ล้านไร่ ) พื้นที่ส่ง มอบ ( ล้านไร่ ) พื้นที่กันคืน (RF) ( ล้านไร่ ) กรมป่า ไม้ ๔๔. ๒๘๑๐. ๑๐ ๔๔. ๐๐๑๓. ๖๓ ส.ป.ก.ส.ป.ก. ๔๔. ๒๖๙. ๕๐
๑. ให้ ผอ. สนง. ทสจ. เร่งรัดเสนอร่าง คำสั่งแต่งตั้งคณะทำงานในระดับจังหวัด ต่อ ผวจ. ลงนามโดยเร็ว สำหรับเรื่องนี้ ทส. ได้มีหนังสือประสานงานไปยัง มท. เพื่อแจ้ง ผวจ. ทราบแล้ว ๒. พื้นที่เป้าหมายในการร่วมกัน ตรวจสอบ ๒. ๑ แนวเขตปฏิรูปที่ดินและแนวเขต ป่าไม้ ๒. ๒ ขอบเขตพื้นที่ป่า (CROWN COVER) - จากภาพถ่าย ปี ๒๕๔๕ แสดง เป็นเส้นขอบเขตไว้ - จากภาพถ่ายปี ๒๕๕๖ - ๕๗ ให้จัดทำเป็นแผนที่ส่ง - รับมอบ ๒. ๓ ขอบเขตพื้นที่ ส. ป. ก. ที่สำรวจ ออกนอกเขตปฏิรูปที่ดิน ซึ่งมีประมาณ ๑, ๔๘๐, ๐๐๐ ไร่ การมอบหมายแนวทาง ปฏิบัติ
ภาพขยายจากตรวจพื้นที่ รายอำเภอ ภาพขยายหลังตรวจ ป่ากับ ทส. 8
๓. การจัดเตรียมข้อมูล ๓. ๑ กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช จัดเตรียม ภาพถ่ายดาวเทียม ปี ๒๕๕๖ - ๕๗ แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ ออร์โธสี ปี ๒๕๔๕ ของ กษ แผนที่จำแนกการใช้ประโยชน์ที่ดินในป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่เพื่อเกษตรกรรม ( โซน A) พื้นที่เพื่อเศรษฐกิจ ( โซน E) และพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ ( โซน C) แผนที่มาตราส่วน ๑ / ๕๐, ๐๐๐ พื้นที่ส่งมอบ ส. ป. ก. ตามมติ ครม. แผนที่มาตราส่วน ๑ / ๕๐, ๐๐๐ พื้นที่กันคืนจาก ส. ป. ก.(RF) ตามบันทึกข้อตกลงระหว่างกรมป่าไม้ และ ส. ป. ก. เมื่อวันที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๓๘ ๓. ๒ ส. ป. ก. แผนที่เขตปฏิรูปที่ดินตามพระราชกฤษฎีกาและแผนที่ฐาน ๑ / ๕๐, ๐๐๐ ที่นำมาจัดทำพระราชกฤษฎีกา ข้อมูลสำรวจการตรวจสอบพื้นที่ปฏิรูปที่ดินรายอำเภอ ของ ส. ป. ก. แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ ออร์โธสี ปี ๒๕๔๕ ของ กษ ฐานข้อมูลพื้นที่กันออกประเภทต่างๆ ของ ส. ป. ก. (ALRO Land) ภาพถ่ายทางอากาศ DMC ( ถ้ามี ) การมอบหมายแนวทาง ปฏิบัติ
แผนที่แนวเขตพื้นที่ปฏิรูป ที่ดิน 1:50,000 ซ้อนทับ แผนที่รับมอบจากกรมป่า ไม้ 10
๔. ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ภายในเดือนตุลาคม ๒๕๕๗ : คณะทำงานระดับ กระทรวงกำหนดพื้นที่เป้าหมายและแนวทางปฏิบัติ ตลอดจนฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้แล้วเสร็จ ภายในวันที่ ๑๕ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ : ส่งมอบ ข้อมูลพื้นที่เป้าหมายและแนวทางปฏิบัติตลอดจน ฐานข้อมูลที่เกี่ยวข้องให้คณะทำงานระดับจังหวัด ภายในวันที่ ๑๕ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ : คณะทำงาน ระดับจังหวัดร่วมดำเนินการตามภารกิจที่ได้รับ มอบหมายให้แล้วเสร็จ ภายในวันที่ ๒๘ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ : คณะทำงาน ระดับจังหวัดรายงานผลการปฏิบัติงานตามแบบที่ กำหนดให้คณะทำงานระดับกระทรวง ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๘ : คณะทำงาน ระดับกระทรวงตรวจสอบและสรุปข้อมูลของ คณะทำงานระดับจังหวัดเพื่อรายงานรัฐมนตรีว่าการ ทั้งสองกระทรวงทราบ การมอบหมายแนวทาง ปฏิบัติ
12