1 “ประเด็นใหม่ในการกรอกแบบ ภ.ง.ด.50 เพื่อสิทธิประโยชน์ทางภาษีสูงสุด” สุเทพ พงษ์พิทักษ์ สำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากร
2 กำไรสุทธิทางภาษีอากร หมายถึง กำไรสุทธิหรือ ขาดทุนสุทธิที่คำนวณได้จากรายได้จากกิจการ หรือรายได้เนื่อง จากกิจการที่ได้กระทำในรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งรับรู้ตามเกณฑ์ สิทธิ (Accrual Basis) หรือเกณฑ์อื่นตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 หักด้วยรายจ่ายทั้งสิ้นที่เกี่ยวกับรายได้ (Cost: Matching Principle, Operating Exp.) ซึ่งเป็นไปตาม มาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร หมายถึง กำไรสุทธิหรือ ขาดทุนสุทธิที่คำนวณได้จากรายได้จากกิจการ หรือรายได้เนื่อง จากกิจการที่ได้กระทำในรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งรับรู้ตามเกณฑ์ สิทธิ (Accrual Basis) หรือเกณฑ์อื่นตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 หักด้วยรายจ่ายทั้งสิ้นที่เกี่ยวกับรายได้ (Cost: Matching Principle, Operating Exp.) ซึ่งเป็นไปตาม มาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร มาตรา 65 ทวิ = กฎหมายทั่วไป มาตรา 65 จัตวา มาตรา 70 ตรี และมาตรา 74 = กฎหมายพิเศษ DTA: Reciprocal Principle (Bilateral ทวิภาคี )
3 รายจ่ายทั้งสิ้นที่เกี่ยวกับรายได้ ต้นทุนสินค้าที่ขายและต้นทุนบริการที่ให้ ตามหลักการจับคู่ของ รายจ่ายกับรายได้ (Matching Principle) ต้นทุนสินค้าที่ขายและต้นทุนบริการที่ให้ ตามหลักการจับคู่ของ รายจ่ายกับรายได้ (Matching Principle) นอกจากนี้ยังรวมถึงรายได้ในส่วนที่เป็นผลเสียหายอันอาจได้กลับคืน เนื่องจากการประกันหรือสัญญาคุ้มกันใดๆ ตามมาตรา 65 ตรี (12) ด้วย นอกจากนี้ยังรวมถึงรายได้ในส่วนที่เป็นผลเสียหายอันอาจได้กลับคืน เนื่องจากการประกันหรือสัญญาคุ้มกันใดๆ ตามมาตรา 65 ตรี (12) ด้วย รายจ่ายในการดำเนินกิจการต้องเป็นรายจ่ายเพื่อหากำไรหรือ เพื่อกิจการโดยเฉพาะ รายจ่ายในการดำเนินกิจการต้องเป็นรายจ่ายเพื่อหากำไรหรือ เพื่อกิจการโดยเฉพาะ ให้รับรู้รายจ่ายทั้งหลายตามเกณฑ์สิทธิ (Accrual Basis) เท่านั้น ไม่ว่าจะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์ใดก็ตาม ให้รับรู้รายจ่ายทั้งหลายตามเกณฑ์สิทธิ (Accrual Basis) เท่านั้น ไม่ว่าจะรับรู้รายได้ตามเกณฑ์ใดก็ตาม รายจ่ายที่เกิดขึ้นรอบระยะเวลาบัญชีใด ให้ถือเป็นรายจ่ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีนั้น รายจ่ายที่เกิดขึ้นรอบระยะเวลาบัญชีใด ให้ถือเป็นรายจ่ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีนั้น
4 ความสัมพันธ์ของกำไรสุทธิทางบัญชีกับกำไรสุทธิทางภาษีอากร : Generally Accepted Accounting Principle GAAP : Generally Accepted Accounting Principle บันทึกรายการทางการเงินที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีทุกรายการตามหลักการ บัญชีคู่ (Double Entry A/C System) งบดุล งบกำไรขาดทุน (กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ทางบัญชี/ การเงิน) ตรวจสอบและรับรองบัญชีโดย CPA/ TA นำเสนอต่อผู้เป็นเจ้าของ สาธารณชนโดย ผ่านกระทรวงพาณิชย์ และกรมสรรพากร เงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้เงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย หลักเกณฑ์ ในการตีราคา ท/ส และหนี้สิน นำไปคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล เพื่อยื่น แบบ ภ.ง.ด.50 และ ภ.ง.ด.51 เงื่อนไขทางภาษีอากรตาม มาตรา 65, 65 ทวิ, 65 ตรี, 65 จัตวา, 70 ตรี, 74 กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ทางภาษีอากร ปรับปรุงให้เป็นไปตาม Tax Issues 12 3 Financial Transactions
5 ความสัมพันธ์ของกำไรสุทธิทางบัญชีกับกำไรสุทธิทางภาษีอากร : International Financial Reporting Standard IFRS : International Financial Reporting Standard บันทึกรายการทางการเงินที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีทุกรายการตามหลักการ บัญชีคู่ (Double Entry A/C System) งบดุล งบกำไรขาดทุน (กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ทางบัญชี/ การเงิน) ตรวจสอบและรับรองบัญชีโดย CPA/ TA นำเสนอต่อผู้เป็นเจ้าของ สาธารณชนโดย ผ่านกระทรวงพาณิชย์ และกรมสรรพากร เงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้เงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย หลักเกณฑ์ ในการตีราคา ท/ส และหนี้สิน นำไปคำนวณภาษีเงินได้นิติบุคคล เพื่อยื่น แบบ ภ.ง.ด.50 และ ภ.ง.ด.51 เงื่อนไขทางภาษีอากรตาม มาตรา 65, 65 ทวิ, 65 ตรี, 65 จัตวา, 70 ตรี, 74 กำไรสุทธิหรือขาดทุนสุทธิ ทางภาษีอากร ปรับปรุงให้เป็นไปตาม Tax Issues 12 3 Financial Transactions
6 มาตรา 74 ใช้ในกรณีเลิก ควบ หรือโอนกิจการ มาตรา 74 ใช้ในกรณีเลิก ควบ หรือโอนกิจการ มาตรา 70 ตรี ใช้ในกรณีส่งสินค้าไปต่างประเทศ โดยมิใช่ เพื่อขาย มาตรา 70 ตรี ใช้ในกรณีส่งสินค้าไปต่างประเทศ โดยมิใช่ เพื่อขาย มาตรา 65 จัตวา ใช้ในกรณีเป็นผู้ค้าส่งหรือผู้ค้าปลีกที่ซื้อ โดยตรงจากโรงงานยาสูบ มาตรา 65 จัตวา ใช้ในกรณีเป็นผู้ค้าส่งหรือผู้ค้าปลีกที่ซื้อ โดยตรงจากโรงงานยาสูบ มาตรา 65 ตรี เป็นเงื่อนเกี่ยวกับรายจ่ายต้องห้าม ซึ่งขยาย ความตามมาตรา 65 ทวิ (1) มาตรา 65 ตรี เป็นเงื่อนเกี่ยวกับรายจ่ายต้องห้าม ซึ่งขยาย ความตามมาตรา 65 ทวิ (1) มาตรา 65 มาตรา 65 มาตรา 65 ทวิ เป็นหลักเกณฑ์ และเงือนไขในการคำนวณ กำไรสุทธิทางภาษีอากรโดยแท้ มาตรา 65 ทวิ เป็นหลักเกณฑ์ และเงือนไขในการคำนวณ กำไรสุทธิทางภาษีอากรโดยแท้ เงื่อนไขในการคำนวณกำไรสุทธิทางภาษีอากร
7 ความแตกต่างของรายได้และรายจ่ายทางบัญชี กับรายได้และรายจ่ายทางภาษีอากร รายได้ ทางภาษีอากร (Taxable) รายจ่ายรับรู้ทั้งรายได้และรายจ่ายไม่รับรู้ทั้งรายได้และรายจ่าย รับรู้ทั้งรายได้และรายจ่าย 1. บัญชี ภาษี 2. บัญชี ภาษี รายได้ รายได้ (ไม่ต้องปรับปรุงใดๆ) รายได้ X รายได้ X(ปรับปรุงหักออก) รายจ่าย รายจ่าย (ไม่ต้องปรับปรุงใดๆ) รายจ่าย X รายจ่าย X(ปรับปรุงบวกกลับ) ไม่รับรู้ทั้งรายได้และรายจ่าย 3. บัญชี ภาษี 4. บัญชี ภาษี รายได้ X รายได้ X (ปรับปรุงบวกเพิ่ม) รายได้ X X รายได้ X X (ไม่ต้องปรับปรุงใดๆ) (ไม่ต้องปรับปรุงใดๆ) รายจ่าย X รายจ่าย X (ปรับปรุงหักออก) รายจ่าย X X รายจ่าย X X(ไม่ต้องปรับปรุงใดๆ) ทางบัญชี (Financial)
8 รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนที่ทางบัญชี นำไปถือเป็นรายจ่ายในรอบบัญชีเดียว รายการ ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ทางบัญชี ทางบัญชี100%---- ทางภาษีอากร ทางภาษีอากร20% 20% ผลต่าง ผลต่าง80%(20%)(20%)(20%)(20%) CIT Rate 30% CIT Rate 30%24%(6%)(6%)(6%)(6%) CIT Rate 23/20% CIT Rate 23/20%16.6%(4.6%)(4.0%)(4.0%)(4.0%) นำไปคำนวณ CIT ได้เป็นจำนวนเท่าใด ให้ตั้งบัญชีทรัพย์สินภาษีเงินได้รอการตัด Deferred Income Tax Receivable
9 ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรของกิจการ SMEs รายการ ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3 ปีที่ 4 ปีที่ 5 ทางบัญชี ทางบัญชี20%20%20%20%20% ทางภาษีอากร ทางภาษีอากร - Initial Depre - Initial Depre40% ปกติ - ปกติ12%12%12%12%12% ผลต่าง(save 9.6%) ผลต่าง(save 9.6%)(32%)8%8%8%8% CIT Rate 23/20% CIT Rate 23/20%6.64%(1.84%)(1.6%)(1.6%)(1.6%) นำไปคำนวณ CIT ได้เป็นจำนวนเท่าใด ให้ตั้งบัญชีหนี้สินภาษีเงินได้รอการตัด Deferred Income Tax Liability
10 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้ 1. มาตรา 65 ประเภทรายได้ รายได้จากกิจการ, รายได้เนื่องจากกิจการ ประเภทรายได้ รายได้จากกิจการ, รายได้เนื่องจากกิจการ เกณฑ์รับรู้รายได้ (ท.ป.1/2528 ป.36/2536 ป.61/2539 ป.73/2541) เกณฑ์รับรู้รายได้ (ท.ป.1/2528 ป.36/2536 ป.61/2539 ป.73/2541) 2. มาตรา 65 ทวิ (4) ผลตอบแทนจากการดำเนินกิจการดังต่อไป นี้ต้องเป็นไปตามราคาตลาด เว้นแต่กรณีที่มีเหตุอันสมควร โอนทรัพย์สิน (ขายสินค้า) โอนทรัพย์สิน (ขายสินค้า) ให้บริการ และ ให้บริการ และ ให้กู้ยืมเงิน ให้กู้ยืมเงิน 3. มาตรา 65 ทวิ (10) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไร สำหรับบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย สำหรับบริษัทจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย 4. มาตรา 65 ทวิ (11) ดอกเบี้ยที่อยู่ในบังคับที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วย ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ดอกเบี้ยที่อยู่ในบังคับที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วย ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม
11 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้ (2) 5. มาตรา 65 ทวิ (12) เงินปันผลที่อยู่ในบังคับที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วย ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม เงินปันผลที่อยู่ในบังคับที่ต้องถูกหักภาษี ณ ที่จ่ายตามกฎหมายว่าด้วย ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม 6. มาตรา 65 ทวิ (14) ภาษีขายไม่ใช่รายได้ คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 13/2529 คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 13/2529 เพื่อให้สอดคลัองกับระบบ VAT ที่เป็นระบบอัตราแยกนอกฐานภาษี เพื่อให้สอดคลัองกับระบบ VAT ที่เป็นระบบอัตราแยกนอกฐานภาษี 7. มาตรา 65 จัตวา เครดิตภาษีที่ได้จากโรงงานยาสูบ กฎกระทรวง ฉบับที่ 158 กฎกระทรวง ฉบับที่ มาตรา 70 ตรี กรณีที่กฎหมายกำหนดให้ถือเป็นการขาย เนื่องจากการส่งสินค้าออกไปต่างประเทศ เนื่องจากการส่งสินค้าออกไปต่างประเทศ 9. มาตรา 74 การคำนวณกำไรสุทธิ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิก ควบ หรือโอนกิจการ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิก ควบ หรือโอนกิจการ
12 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้ (3) 10. การยกเว้นรายได้ (สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านรายได้) พรฎ. (ฉ.10) พรฎ. (ฉ.10) - เงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการร่วมค้า (มาตรา 5 ทวิ) - เงินรางวัลสลากการกุศลงวดพิเศษ (มาตรา 5 จตุทศ) - เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ VC: Venture Capital ได้รับ หรือที่ได้รับจาก VC (มาตรา 5 อัฏฐารส มาตรา 5 เอกูนวีสติ) ได้รับ หรือที่ได้รับจาก VC (มาตรา 5 อัฏฐารส มาตรา 5 เอกูนวีสติ) - เงินปันผลจากการลงทุนในต่างประเทศ (มาตรา 5 วีสติ) พรฎ. (ฉ.263) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกองทุนรวม ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พรฎ. (ฉ.263) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกองทุนรวม ที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์ พรฎ. (ฉ.284) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการ โรงเรียนเอกชน สถาบันอุดมศึกษาเอกชน และกิจการ In-house Training พรฎ. (ฉ.284) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการ โรงเรียนเอกชน สถาบันอุดมศึกษาเอกชน และกิจการ In-house Training พรฎ. (ฉ.314) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการเรือ เดินทะเล พรฎ. (ฉ.314) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการเรือ เดินทะเล
13 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย 1. ประเภทของรายจ่าย และเกณฑ์รับรู้รายจ่าย รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน (Capital Expenditure มาตรา 65 ตรี (5) พรฎ. (ฉ. 375) ประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 92) และ รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน (Capital Expenditure มาตรา 65 ตรี (5) พรฎ. (ฉ. 375) ประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 92) และ ต้นทุน และรายจ่ายในการดำเนินงาน (Operating Expenditure) ต้นทุน และรายจ่ายในการดำเนินงาน (Operating Expenditure) เกณฑ์รับรู้รายจ่าย - เกณฑ์สิทธิ เกณฑ์รับรู้รายจ่าย - เกณฑ์สิทธิ 2. มาตรา 65 ทวิ (2) ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินถาวร ดู พรฎ. (ฉ.145) (ฉ.385) (ฉ.395) และ ป. 3/2527 ประกอบ ดู พรฎ. (ฉ.145) (ฉ.385) (ฉ.395) และ ป. 3/2527 ประกอบ 3. มาตรา 65 ทวิ (7) ราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจาก ต่างประเทศ อำนาจเจ้าพนักงานประเมิน - Anti Transfer Pricing อำนาจเจ้าพนักงานประเมิน - Anti Transfer Pricing 4. มาตรา 65 ทวิ (8) ราคาทุนของสินค้าที่เป็นเงินตราต่างประเทศ การบันทึกราคาซื้อสินค้าที่นำเข้า ณ วันที่ได้รับสินค้า การบันทึกราคาซื้อสินค้าที่นำเข้า ณ วันที่ได้รับสินค้า 5. มาตรา 65 ทวิ (9) การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534) ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534)
14 เงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย 6. มาตรา 65 ทวิ (1) = มาตรา 65 ตรี (1) – (20) รายจ่ายต้องห้าม (Non Deductible Expenditure) รายจ่ายต้องห้าม (Non Deductible Expenditure) 7. มาตรา 74 การคำนวณกำไรสุทธิ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิก ควบ หรือโอนกิจการ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิก ควบ หรือโอนกิจการ 8. รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น (สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากรด้านรายจ่าย) มาตรา 65 ตรี (12) ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 ปี มาตรา 65 ตรี (12) ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 ปี พรฎ. (ฉ.437) พรฎ. (ฉ.437) - Public Training - In-house Training - ฝึกอบรมอาชีพแก่บุคคลภายนอก พรฎ. (ฉ.297) R&D Fee พรฎ. (ฉ.297) R&D Fee พรบ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พ.ศ. 2550) พรบ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พ.ศ. 2550) พรบ. ส่งเสริมการลงทุน – ค่าขนส่ง และค่า Infra Structure พรบ. ส่งเสริมการลงทุน – ค่าขนส่ง และค่า Infra Structure
15 ดอกเบี้ยจ่าย (Interest) ทางภาษีอากร รายจ่ายในการขายและบริหาร รายจ่ายในการขายและบริหาร แสดงในบัญชีกำไรขาดทุน แสดงในบัญชีกำไรขาดทุน ต้นทุนของดอกเบี้ยรับ ต้นทุนของดอกเบี้ยรับ ต้นทุนของทรัพย์สิน ในส่วนที่เป็นดอกเบี้ยเพื่อการได้มาซึ่ง ทรัพย์สินก่อนวันที่ทรัพย์สินนั้นพร้อมใช้งานได้ตามประสงค์ ต้นทุนของทรัพย์สิน ในส่วนที่เป็นดอกเบี้ยเพื่อการได้มาซึ่ง ทรัพย์สินก่อนวันที่ทรัพย์สินนั้นพร้อมใช้งานได้ตามประสงค์ เป็นส่วนหนึ่งของทรัพย์สินแสดงไว้ในงบดุล เป็นส่วนหนึ่งของทรัพย์สินแสดงไว้ในงบดุล การจำแนกแยกแยะ (Classifying)
16 ค่าขนส่ง (Transportation) ทางภาษีอากร รายจ่ายในการขายและบริหาร – ค่าขนส่งขาออก (Outbound) รายจ่ายในการขายและบริหาร – ค่าขนส่งขาออก (Outbound) แสดงในบัญชีกำไรขาดทุน แสดงในบัญชีกำไรขาดทุน ต้นทุนของสินค้า – ค่าขนส่งขาเข้า (Inbound) ต้นทุนของสินค้า – ค่าขนส่งขาเข้า (Inbound) ต้นทุนของทรัพย์สิน – ค่าขนส่งขาเข้า (Inbound) ต้นทุนของทรัพย์สิน – ค่าขนส่งขาเข้า (Inbound) เป็นส่วนหนึ่งของทรัพย์สินแสดงไว้ในงบดุล เป็นส่วนหนึ่งของทรัพย์สินแสดงไว้ในงบดุล การจำแนกแยกแยะ (Classifying)
17 หลักเกณฑ์ในการตีราคาทรัพย์สินและหนี้สิน 1. มาตรา 65 ทวิ (3) การตีราคาทรัพย์สินอย่างอื่นที่ไม่ใช่เงินตรา ต่างประเทศและสินค้าคงเหลือ (หลักราคาทุน) 2. มาตรา 65 ทวิ (5) การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินที่มีค่า หรือราคาเป็นเงินตราต่างประเทศ (Exchange Rates) เพียง ณ วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี เพียง ณ วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ณ วันที่ได้มาหรือจ่ายไประหว่างรอบระยะเวลาบัญชี ณ วันที่ได้มาหรือจ่ายไประหว่างรอบระยะเวลาบัญชี 3. มาตรา 65 ทวิ (6) การตีราคาสินค้าคงเหลือ LCM Principle: Lower of Cost or Market Principle LCM Principle: Lower of Cost or Market Principle 4. มาตรา 74 (1) การตีราคาทรัพย์สินเพื่อการคำนวณกำไรสุทธิ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิก ควบ หรือโอนกิจการ กรณีบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลเลิก ควบ หรือโอนกิจการ
18 เงื่อนไขรายจ่ายตามมาตรา 65 ตรี รายจ่ายต้องห้าม = เป็นความสูญเสียของกิจการ รายจ่ายต้องห้าม = เป็นความสูญเสียของกิจการ รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ (Proper Non-deductible Exp.) รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ (Proper Non-deductible Exp.) รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย (Legally Non-deductible Exp.) รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย (Legally Non-deductible Exp.) รายจ่ายที่กฎหมายยอมให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิ รายจ่ายที่กฎหมายยอมให้ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิ แนวทางการวางแผนภาษีเกี่ยวกับรายจ่ายต้องห้าม แนวทางการวางแผนภาษีเกี่ยวกับรายจ่ายต้องห้าม ปรับปรุงรายจ่ายต้องห้ามที่เกิดขึ้นแล้วให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และ เงื่อนไขแห่งประมวลรัษฎากร ปรับปรุงรายจ่ายต้องห้ามที่เกิดขึ้นแล้วให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ และ เงื่อนไขแห่งประมวลรัษฎากร ศึกษาให้เข้าใจเงือ่นไขของกฎหมาย และเหตุที่ทำให้เกิดรายจ่ายต้องห้าม นั้น เพื่อนำไปปรั้บใช้ในการวางแผนภาษีในโอกาสต่อๆ ไป ศึกษาให้เข้าใจเงือ่นไขของกฎหมาย และเหตุที่ทำให้เกิดรายจ่ายต้องห้าม นั้น เพื่อนำไปปรั้บใช้ในการวางแผนภาษีในโอกาสต่อๆ ไป ระมัดระวังป้องกันมิให้เกิดรายจ่ายต้องห้ามดังกล่าวในอนาคต ระมัดระวังป้องกันมิให้เกิดรายจ่ายต้องห้ามดังกล่าวในอนาคต
19 (1) = 65 ตรี (1) – (20) รายจ่ายต้องห้าม (2) ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน (3) การตีราคาทรัพย์สินอย่างอื่นที่มิใช่สินค้าคงเหลือ (4) การรับรู้รายได้ตามราคาตลาด (5) ตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน หนี้สินที่มีค่าหรือราคา เป็นเงินตรา ตปท. เป็นเงินตรา ตปท. (6) การตีราคาสินค้าคงเหลือ (7) ราคาทุนของสินค้าที่ส่งเข้ามาจาก ตปท. (8) ราคาทุนของสินค้าที่นำเข้าจาก ตปท. (9) การจำหน่ายหนี้สูญจากบัญชีลูกหนี้ (10) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรสำหรับ บริษัทไทย บริษัทไทย เงื่อนไขในการคำนวณกำไรสุทธิ (1) (Anti Transfer Pricing) หลักเกณฑ์ตามมาตรา 65 ทวิ เงื่อนไขเกี่ยวกับ รายได้รายจ่าย ตีราคา ท/ส น/ส
20 (11) ดอกเบี้ยที่อยู่ในบังคับที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามกม.ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ตามกม.ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (12) เงินปันผลที่อยู่ในบังคับที่ต้องหักภาษี ณ ที่จ่าย ตามกม.ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม ตามกม.ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม (13) รายได้ของมูลนิธิหรือสมาคม --- (14) ภาษีขายไม่ใช่รายได้ มาตรา 65 จัตวา รายได้เครดิตภาษีจากการซื้อบุหรี่ ของโรงงานยาสูบ ของโรงงานยาสูบ มาตรา 70 ตรี กรณีที่กม.ถือเป็นการขาย มาตรา 74 การคำนวณกำไรขาดทุน กรณีเลิกกิจการ ควบกิจการ หรือโอนกิจการ ควบกิจการ หรือโอนกิจการ เงื่อนไขในการคำนวณกำไรสุทธิ (1) หลักเกณฑ์ตามมาตรา 65 ทวิ เงื่อนไขเกี่ยวกับ รายได้รายจ่าย ตีราคา ท/ส น/ส DeemedSale
21 ปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล กิจการมีรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี กิจการมีรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี ขาดการกำกับดูแลการนำนโยบายไปปรับใช้ในทางปฏิบัติ ขาดการกำกับดูแลการนำนโยบายไปปรับใช้ในทางปฏิบัติ ขาดการตรวจสอบอย่างรัดกุม ขาดการตรวจสอบอย่างรัดกุม พนักงานเจ้าหน้าที่ไม่มีความรู้ที่ดี และอย่างเพียงพอ ไม่ได้รับการ พัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม พนักงานเจ้าหน้าที่ไม่มีความรู้ที่ดี และอย่างเพียงพอ ไม่ได้รับการ พัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม ผู้บริหารมีแนวความคิดเชิงลบ เป็นคนเนรคุณ ผู้บริหารมีแนวความคิดเชิงลบ เป็นคนเนรคุณ กิจการไม่ใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร หรือใช้ไม่ครบถ้วน ตามที่ควรจะเป็น กิจการไม่ใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร หรือใช้ไม่ครบถ้วน ตามที่ควรจะเป็น การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล รายจ่ายที่กฎหมายยอมให้หักเพิ่มขึ้น รายจ่ายที่กฎหมายยอมให้หักเพิ่มขึ้น ทรัพย์สินที่รัฐส่งเสริม ทรัพย์สินที่รัฐส่งเสริม กิจการไม่เอาใจใส่เกี่ยวกับรายได้ทางภาษีอากร กิจการไม่เอาใจใส่เกี่ยวกับรายได้ทางภาษีอากร ราคาตลาด ราคาตลาด
22 ปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล หน้าที่ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลของกิจการ หน้าที่ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลของกิจการ ไม่ได้จัดทำ Tax Mapping, Tax Manual ไม่ได้จัดทำ Tax Mapping, Tax Manual Lack of Tax Knowledge Lack of Tax Knowledge
23 ปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล 1. ปัญหาการปฏิบัติการต่างๆ ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลในงานปกติ ประจำวัน (CIT Routine Fault) ผิดพลาดไม่ถูกต้อง ครบถ้วน ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขของกฎหมาย ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการบันทึกรับรู้รายได้ทางภาษีอากร ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการบันทึกรับรู้รายได้ทางภาษีอากร ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับรายจ่ายต้องห้ามเล็กๆ น้อยๆ ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับรายจ่ายต้องห้ามเล็กๆ น้อยๆ ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเอกสารประกอบการลงรายการ ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับเอกสารประกอบการลงรายการ ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้แบบแสดงรายการ ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการใช้แบบแสดงรายการ ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงาน ความไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการให้ความร่วมมือแก่เจ้าพนักงาน 2. ปัญหาการปฏิบัติการในแต่ละขั้นตอนของการดำเนินธุรกิจ ตลอดจนการจัดทำสัญญา ไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขของกฎหมายภาษีเงิน ได้นิติบุคคล ไม่สอดคล้องกับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขของกฎหมายภาษีเงิน ได้นิติบุคคล
24 ปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล 3. ปัญหาความแตกต่างของหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทาง ธุรกิจและบัญชีการเงิน กับหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขทาง ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ปัญหาบัญชีภาษีอากร) ปัญหาความแตกต่างของเงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้ ปัญหาความแตกต่างของเงื่อนไขเกี่ยวกับรายได้ ปัญหาความแตกต่างของเงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย ปัญหาความแตกต่างของเงื่อนไขเกี่ยวกับรายจ่าย ปัญหาความแตกต่างของหลักเกณฑ์ในการตีราคาทรัพย์สิน หนี้สิน ปัญหาความแตกต่างของหลักเกณฑ์ในการตีราคาทรัพย์สิน หนี้สิน 4. การเปลี่ยนแปลง (Changing Problems) ให้เกิดความหลาย หลายทางธุรกิจ (Diversification) อาทิ ต้องการเปลี่ยนเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ต้องการเปลี่ยนเป็นบริษัทมหาชนจำกัด ต้องการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ต้องการเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ต้องการผู้ร่วมลงทุนรายใหม่ ต้องการผู้ร่วมลงทุนรายใหม่ ต้องการความเป็นมาตรฐานสากล ต้องการความเป็นมาตรฐานสากล
25 ปัญหาภาษีเงินได้นิติบุคคล 5. ปัญหาการใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีเงินได้นิติบุคคลขององค์กร ยังเป็นไปอย่างไม่เต็มที่หรือสมบูรณ์ตามที่ควรจะเป็น สิทธิประโยชน์ด้านรายได้ - การยกเว้น สิทธิประโยชน์ด้านรายได้ - การยกเว้น สิทธิประโยชน์ด้านรายจ่าย - รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น สิทธิประโยชน์ด้านรายจ่าย - รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น สิทธิประโยชน์ด้านทรัพย์สินและหนี้สิน – ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา การใช้สิทธิเกี่ยวกับหลักทรัพย์ที่เป็นสินค้าคงเหลือ สิทธิประโยชน์ด้านทรัพย์สินและหนี้สิน – ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา การใช้สิทธิเกี่ยวกับหลักทรัพย์ที่เป็นสินค้าคงเหลือ 6. ปัญหาอื่น อาทิ ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับ ภ.พ.30 ความแตกต่างของรายได้ตาม ภ.ง.ด.50 กับ ภ.พ.30 ปัญหาการขอคืนภาษีเงินได้นิติบุคคล ปัญหาการขอคืนภาษีเงินได้นิติบุคคล ปัญหาการขจัดข้อโต้แย้งทางภาษีเงินได้นิติบุคคล ปัญหาการขจัดข้อโต้แย้งทางภาษีเงินได้นิติบุคคล การ Approach เจ้าหน้าที่ของรัฐ อาทิ กรมสรรพากร การ Approach เจ้าหน้าที่ของรัฐ อาทิ กรมสรรพากร
26 Tax Mapping ------ Tax Types GL GL Tax Issues 1. Revenue 2. Expenditure 3. Assets & Liabilities 4. Tax Functions CIT CITPIT WT VATSBTSDOthers ---------- ------ -------- -- ---------------------------- -------- ----------
ประเด็นปัญหาตามมาตรา 65 ทวิ ที่ควรระวังเป็นพิเศษสำหรับปีภาษี ประเด็นการรับรู้รายได้จากการขายสินค้า การให้บริการ และ การให้กู้ยืมเงิน ตามราคาตลาด ตามมาตรา 65 ทวิ (4) ประเด็นการรับรู้รายได้จากการขายสินค้า การให้บริการ และ การให้กู้ยืมเงิน ตามราคาตลาด ตามมาตรา 65 ทวิ (4) ราคาตลาด หมายความว่า ราคาของค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือ ดอกเบี้ย ซึ่งคู่สัญญาที่เป็นอิสระต่อกันพึงกำหนดโดยสุจริตในทาง การค้า กรณีโอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงินที่มีลักษณะ ประเภท และชนิดเช่นเดียวกัน ณ วันที่โอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือ ให้กู้ยืมเงิน ( Comparable Uncontrolled Price: CUP) ราคาตลาด หมายความว่า ราคาของค่าตอบแทน ค่าบริการ หรือ ดอกเบี้ย ซึ่งคู่สัญญาที่เป็นอิสระต่อกันพึงกำหนดโดยสุจริตในทาง การค้า กรณีโอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือให้กู้ยืมเงินที่มีลักษณะ ประเภท และชนิดเช่นเดียวกัน ณ วันที่โอนทรัพย์สิน ให้บริการ หรือ ให้กู้ยืมเงิน ( Comparable Uncontrolled Price: CUP) “คู่สัญญาที่เป็นอิสระต่อกัน” หมายความว่า คู่สัญญาที่ไม่มีความ สัมพันธ์ระหว่างกันในการจัดการ การควบคุม หรือร่วมทุน โดย ทางตรงหรือโดยทางอ้อม (คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 113/2545) “คู่สัญญาที่เป็นอิสระต่อกัน” หมายความว่า คู่สัญญาที่ไม่มีความ สัมพันธ์ระหว่างกันในการจัดการ การควบคุม หรือร่วมทุน โดย ทางตรงหรือโดยทางอ้อม (คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 113/2545) กรณีมีรายได้จากการขายสินค้า ค่าบริการ และดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่ต่ำ กว่าราคาตลาด โดยไม่มีเหตุอันสมควร เกิดความสูญเสีย 130% กรณีมีรายได้จากการขายสินค้า ค่าบริการ และดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่ต่ำ กว่าราคาตลาด โดยไม่มีเหตุอันสมควร เกิดความสูญเสีย 130% 27
28 เกณฑ์รับรู้รายได้รายจ่าย เกณฑ์สิทธิ สำหรับกิจการฝากขายสินค้า (Consignment Sale) ซึ่งผู้รับฝากสินค้า (Consignee) ทำหน้าที่ขายสินค้า แทนผู้ฝากสินค้า (Consignor) เกณฑ์สิทธิ สำหรับกิจการฝากขายสินค้า (Consignment Sale) ซึ่งผู้รับฝากสินค้า (Consignee) ทำหน้าที่ขายสินค้า แทนผู้ฝากสินค้า (Consignor) ให้ใช้เกณฑ์สิทธิ โดยต้องนำรายได้จากการขายสินค้ามารวมคำนวณ เป็นรายได้ทั้งจำนวนในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการฝากขายสินค้า ให้ใช้เกณฑ์สิทธิ โดยต้องนำรายได้จากการขายสินค้ามารวมคำนวณ เป็นรายได้ทั้งจำนวนในรอบระยะเวลาบัญชีที่มีการฝากขายสินค้า กรณีทำสัญญาการตั้งตัวแทนผู้รับฝากสินค้า เพื่อขายเป็นหนังสือ โดย ตัวแทนผู้รับฝากสินค้าได้รับค่าตอบ แทนหรือบำเหน็จตามที่กำหนดไว้ ในสัญญา ผู้ฝากขายจะคำนวณรายได้เมื่อตัวแทนผู้รับฝากสินค้าได้ขาย สินค้าให้แก่ผู้ซื้อก็ได้ กรณีทำสัญญาการตั้งตัวแทนผู้รับฝากสินค้า เพื่อขายเป็นหนังสือ โดย ตัวแทนผู้รับฝากสินค้าได้รับค่าตอบ แทนหรือบำเหน็จตามที่กำหนดไว้ ในสัญญา ผู้ฝากขายจะคำนวณรายได้เมื่อตัวแทนผู้รับฝากสินค้าได้ขาย สินค้าให้แก่ผู้ซื้อก็ได้ ทั้งนี้ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค.2550 เป็นต้น ไป (ข้อ 3.3 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 แก้ไขเพิ่มเติมโดย คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.155/2549) ทั้งนี้ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค.2550 เป็นต้น ไป (ข้อ 3.3 ของคำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.1/2528 แก้ไขเพิ่มเติมโดย คำสั่งกรมสรรพากรที่ ท.ป.155/2549)
ประเด็นปัญหาตามมาตรา 65 ทวิ ที่ควรระวังเป็นพิเศษสำหรับปีภาษี ประเด็นความครบถ้วนของรายได้จากการประกอบกิจการตาม มาตรา 65 ประเด็นความครบถ้วนของรายได้จากการประกอบกิจการตาม มาตรา 65 การไม่นำรายได้จากการประกอบกิจการหรือเนื่องจากการประกอบ กิจการมาบันทึกรายการบัญชีให้ถูกต้องครบถ้วน การไม่นำรายได้จากการประกอบกิจการหรือเนื่องจากการประกอบ กิจการมาบันทึกรายการบัญชีให้ถูกต้องครบถ้วน กิจการที่ควรมีบัญชีเงินฝากธนาคาร เช่น การรับเหมากับส่วนราชการ การประกอบกิจการที่มีรายได้เป็นจำนวนมาก แต่บันทึกรายการบัญชี ด้วยระบบเงินสด โดยไม่มีบัญชีธนาคาร กิจการที่ควรมีบัญชีเงินฝากธนาคาร เช่น การรับเหมากับส่วนราชการ การประกอบกิจการที่มีรายได้เป็นจำนวนมาก แต่บันทึกรายการบัญชี ด้วยระบบเงินสด โดยไม่มีบัญชีธนาคาร กิจการมีรายได้จากกิจการหรือเนื่องจากกิจการ โดยถูกผู้จ่ายเงินได้ หักภาษีเงินได้นิติบุคคลไว้ ณ ที่จ่าย แต่ไม่นำรายการรายได้ดังกล่าว มาบันทึกรับรู้เป็นรายได้ กิจการมีรายได้จากกิจการหรือเนื่องจากกิจการ โดยถูกผู้จ่ายเงินได้ หักภาษีเงินได้นิติบุคคลไว้ ณ ที่จ่าย แต่ไม่นำรายการรายได้ดังกล่าว มาบันทึกรับรู้เป็นรายได้ 29
30 บ. A. จก. ได้รับดอกเบี้ยเงินกู้ยืม บุคคลใดๆ Staff Welfare Fund Y Non SBT Finance Institute Y Non SBT WT 1% N Affiliated Co. Y Non SBT WT 1% N Others Y SBT 3.3% WT 1% ? N ป. 26/ % Holder - at least 6 ms before loan before loan B - Board - Shareholders - Customers ไม่คำนึงถึงราคาตลาด ต้องคำนึงถึงราคาตลาด ต้องคำนึงถึงราคาตลาด
31 การให้เช่าซื้อ (Hire Purchase) ด้านผู้ให้เช่าซื้อด้านผู้ซื้อ ทางบัญชี ให้รับรู้รายได้ตาม TAS #29 โดยรับรู้กำไรขั้นต้นจากการให้ เช่าซื้อทรัพย์สินด้วยผลต่างของ ราคาขายเงินสด กับต้นทุน และ ให้รับรู้ดอกผลเช่าซื้อตามงวดที่ ถึงกำหนดชำระราคา ตาม วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไป ให้รับรู้ทรัพย์สินตามราคา ขายเงินสด และคิดค่าเสื่อม ราคาจากมูลค่าต้นดังกล่าว สำหรับดอกผลเช่าซื้อ ให้ ทยอยตัดเป็นรายจ่ายตาม งวดที่ถึงกำหนดชำระ ตาม TAS #29 ทางภาษีอากร(CIT)ปฏิบัติเช่นเดียวกับทางบัญชี ให้รับรู้ดอกผลเช่าซื้อเป็น ส่วนหนึ่งของต้นทุนทรัพย์ เพื่อการคิดค่าเสื่อมราคา แต่ค่าเสื่อมราคาสะสมต้อง ไม่เกินกว่าค่าเช่าซื้อที่ได้ ผ่อนชำระไปแล้วทั้งสิ้น
32 การให้เช่าการเงิน (Financial Lease) ด้านผู้ให้เช่าด้านผู้เช่า ทางบัญชี ให้รับรู้รายได้ตาม TAS #29 โดย รับรู้กำไรขั้นต้นจากการให้เช่าซื้อ ทรัพย์สินด้วยผลต่างของราคาขาย เงินสด กับต้นทุน และให้รับรู้ดอก ผลเช่าซื้อตามงวดที่ถึงกำหนดชำระ ราคา ตามวิธีการทางบัญชีที่รับรอง ทั่วไป ให้รับรู้ทรัพย์สินตามราคา ขายเงินสด และคิดค่าเสื่อม ราคาจากมูลค่าต้นดังกล่าว สำหรับดอกผลเช่าซื้อ ให้ ทยอยตัดเป็นรายจ่ายตาม งวดที่ถึงกำหนดชำระ ตาม TAS #29 ทางภาษี อากร (CIT) ให้ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับกิจการให้ เช่าทั่วไป โดยให้ถือว่า ผู้ให้เช่า ยังคงถือครองกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สินที่ให้เช่านั้น จึงต้องคิดค่า เลื่อมราคาตามประมวลรัษฎากร เมื่อลูกค้าใช้สิทธิเลือกซื้อทรัพย์สินที่ เช่า ให้ถือเป็นการขายทรัพย์สิน ทางภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้ ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับการ ให้เช่าทรัพย์สินทั่วไป โดย นำค่าเช่ามาถือเป็นรายจ่าย ตามส่วนแห่งระยะเวลาการ เช่า
ประเด็นปัญหาตามมาตรา 65 ทวิ ที่ควรระวังเป็นพิเศษสำหรับปีภาษี ประเด็นค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) และพรฎ. (ฉ. 145) พ.ศ ประเด็นค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) และพรฎ. (ฉ. 145) พ.ศ การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนดทั้ง ในทางบัญชี และภาษีอากร อาทิ รถยนต์นั่ง การเช่าซื้อทรัพย์สิน การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนดทั้ง ในทางบัญชี และภาษีอากร อาทิ รถยนต์นั่ง การเช่าซื้อทรัพย์สิน ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมา (Initial) ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมา (Initial) ความแตกต่างทางบัญชีกับทางภาษีอากร – Deferred Tax ความแตกต่างทางบัญชีกับทางภาษีอากร – Deferred Tax วิธีการได้มาซึ่งทรัพย์สิน โดยการเลือกใช้วิธีอื่นแทนการซื้อทรัพย์สิน เช่น การเช่า การเช่าซื้อ Leasing วิธีการได้มาซึ่งทรัพย์สิน โดยการเลือกใช้วิธีอื่นแทนการซื้อทรัพย์สิน เช่น การเช่า การเช่าซื้อ Leasing เลือกวิธีหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาที่สัมพันธ์กับค่าซ่อมบำรุง เพื่อให้ค่าใช้ทรัพย์สินคงที่ตลอดอายุการใช้ทรัพย์สินนั้น เลือกวิธีหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาที่สัมพันธ์กับค่าซ่อมบำรุง เพื่อให้ค่าใช้ทรัพย์สินคงที่ตลอดอายุการใช้ทรัพย์สินนั้น 33
ประเด็นปัญหาตามมาตรา 65 ทวิ ที่ควรระวังเป็นพิเศษสำหรับปีภาษี ประเด็นค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) และพรฎ. (ฉ. 145) พ.ศ (ต่อ) ประเด็นค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) และพรฎ. (ฉ. 145) พ.ศ (ต่อ) รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ให้คำนวณหัก ค่าสึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุน เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้าน บาท “เว้นแต่เป็นทรัพย์สินซึ่งมีไว้ใช้ในกิจการให้เช่ารถยนต์ ให้หักค่า สึกหรอและค่าเสื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนทั้งหมด ทั้งนี้ บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องไม่นำทรัพย์สินดังกล่าวไปใช้ในกิจการ อื่น ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน” (มาตรา 5 แห่ง พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 145) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 505) พ.ศ ใช้บังคับ 14 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป ทั้งนี้ความเดิมยังคงให้ใช้บังคับต่อไป เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาระหว่าง 1 มกราคม 2532 ถึง 13 ตุลาคม 2553) รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ให้คำนวณหัก ค่าสึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุน เฉพาะส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้าน บาท “เว้นแต่เป็นทรัพย์สินซึ่งมีไว้ใช้ในกิจการให้เช่ารถยนต์ ให้หักค่า สึกหรอและค่าเสื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนทั้งหมด ทั้งนี้ บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องไม่นำทรัพย์สินดังกล่าวไปใช้ในกิจการ อื่น ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน” (มาตรา 5 แห่ง พ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 145) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพ.ร.ฎ. (ฉบับที่ 505) พ.ศ ใช้บังคับ 14 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป ทั้งนี้ความเดิมยังคงให้ใช้บังคับต่อไป เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาระหว่าง 1 มกราคม 2532 ถึง 13 ตุลาคม 2553) 34
ประเด็นปัญหาตามมาตรา 65 ทวิ ที่ควรระวังเป็นพิเศษสำหรับปีภาษี ประเด็นค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) และพรฎ. (ฉ. 145) พ.ศ (ต่อ) ประเด็นค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) และพรฎ. (ฉ. 145) พ.ศ (ต่อ) ทรัพย์สินที่ได้มาโดยการเช่าซื้อหรือซื้อขายเงินผ่อน ให้คำนวณหักค่า สึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนที่พึงชำระทั้งหมด แต่ค่าสึก หรอและเลื่อมราคาละสมจนถึงรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบันต้องไม่ เกินค่าเช่าซื้อที่ได้ผ่อนชำระไปแล้วทั้งสิ้น (มาตรา 7) ทรัพย์สินที่ได้มาโดยการเช่าซื้อหรือซื้อขายเงินผ่อน ให้คำนวณหักค่า สึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนที่พึงชำระทั้งหมด แต่ค่าสึก หรอและเลื่อมราคาละสมจนถึงรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบันต้องไม่ เกินค่าเช่าซื้อที่ได้ผ่อนชำระไปแล้วทั้งสิ้น (มาตรา 7) การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินจะหักจนหมดมูลค่า ต้นทุนของทรัพย์สินนั้นไม่ได้ (เหลือไว้อย่างน้อย 1 บาท) (มาตรา 8) ซึ่งในทางบัญชีจะกระทำดังเช่นในทางภาษีอากรไม่ได้แล้ว ต้องทำ การประเมินมูลค่าทรัพย์สินตามมูลค่ายุติธรรม การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินจะหักจนหมดมูลค่า ต้นทุนของทรัพย์สินนั้นไม่ได้ (เหลือไว้อย่างน้อย 1 บาท) (มาตรา 8) ซึ่งในทางบัญชีจะกระทำดังเช่นในทางภาษีอากรไม่ได้แล้ว ต้องทำ การประเมินมูลค่าทรัพย์สินตามมูลค่ายุติธรรม 35
36 CIT แผนผังแสดงการนำเข้าสินค้าตามมาตรา 65 ทวิ (8) Oversea Thailand L/CT/T ท่าเรือตปท.Shipmentท่าเรือไทยการออกของB/Lกรมศุลฯคลังสินค้าชำระราคาสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี FOB (Shipping Point) CIF Record: บ/ช สินค้านำเข้า & บ/ช เจ้าหนี้ อัตราขาย (อัตราสูง) กำไร/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน มาตรา 65 ทวิ(5) Stock Book Input Book + 6 Months อัตราแลกเปลี่ยนกรมศุลฯ สินค้าระหว่างทาง วันที่ได้รับสินค้า VAT
37 CIT แผนผังแสดงรายการกรณีส่งออกสินค้า Oversea Thailand L/CT/T คลังสินค้าใบส่งของชั่วคราวB/Lกรมศุลฯท่าเรือไทยShipmentท่าเรือต่ปท.Clearanceชำระราคาสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี FOB (Shipping Point) CIF Record: บัญชีลูกหนี้ & รายได้ส่งออก บัญชีลูกหนี้ & รายได้ส่งออก อัตราซื้อ (อัตราต่ำ) กำไร/ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยน มาตรา 65 ทวิ(5) Stock Book สินค้าระหว่างทาง Output Book 1. Cash Received: Actual Rate ม.79/4(1) 2. Credit Sale: BOT Rate/ Spot Rate at that day VAT
38 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามประมวลรัษฎากร 1. การคิดดอกเบี้ยเงินกู้ยืมที่บริษัทกู้ยืมจากผู้ถือหุ้น กรรมการ หรือผู้ เป็นหุ้นส่วน 2. การเปิดประมูล กรณีที่ไม่อาจทราบราคาตลาดที่แน่นอน 3. ตั้งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน (Affiliated Company) ตามมาตรา 39 เพื่อประกอบกิจการ (1) กิจการรับทำการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี (พรฎ. (ฉ. 297)) (2) กิจการ In-house Training เพื่อฝึกอบรมและพัฒนาเฉพาะพนักงาน หรือลูกจ้างของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน (พรฎ. (ฉ. 284) และ (ฉ. 437)) (3) กิจการโรงเรียนเอกชน หรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (พรฎ. (ฉ. 284) และ (ฉ. 437)) (4) กิจการให้เช่ารถยนต์นั่ง หรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน (พรฎ.(ฉ. 315)) (5) กิจการเรือเดินทะเล (พรฎ.(ฉ. 314))
39 Affiliated Company “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน” หมายความ ว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตั้งแต่สองนิติบุคคลขึ้นไปซึ่ง มีความสัมพันธ์กันในลักษณะดังต่อไปนี้ (มาตรา 39) “บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน” หมายความ ว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลตั้งแต่สองนิติบุคคลขึ้นไปซึ่ง มีความสัมพันธ์กันในลักษณะดังต่อไปนี้ (มาตรา 39) (1) ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนเกินกว่ากึ่งจำนวนผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็น หุ้นส่วนในนิติบุคคลหนึ่ง เป็นผู้ถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนเกินกว่ากึ่งจำนวน ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนในอีกนิติบุคคลหนึ่ง (1) ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนเกินกว่ากึ่งจำนวนผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็น หุ้นส่วนในนิติบุคคลหนึ่ง เป็นผู้ถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนเกินกว่ากึ่งจำนวน ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนในอีกนิติบุคคลหนึ่ง (2) ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในนิติบุคคล หนึ่งมีมูลค่าเกินกว่าร้อยละห้าสิบของทุนทั้งหมด ถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วน ในอีกนิติบุคคลหนึ่งมีมูลค่าเกินกว่าร้อยละห้าสิบของทุนทั้งหมด (2) ผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในนิติบุคคล หนึ่งมีมูลค่าเกินกว่าร้อยละห้าสิบของทุนทั้งหมด ถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วน ในอีกนิติบุคคลหนึ่งมีมูลค่าเกินกว่าร้อยละห้าสิบของทุนทั้งหมด (3) นิติบุคคลหนึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในอีกนิติบุคคลหนึ่งเกิน กว่าร้อยละห้าสิบของทุนทั้งหมด (Holding Company) (3) นิติบุคคลหนึ่งถือหุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนในอีกนิติบุคคลหนึ่งเกิน กว่าร้อยละห้าสิบของทุนทั้งหมด (Holding Company) (4) บุคคลเกินกว่ากึ่งจำนวนกรรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งมีอำนาจ จัดการในนิติบุคคลหนึ่ง เป็นกรรมการหรือเป็นผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งมีอำนาจ จัดการในอีกนิติบุคคลหนึ่ง (4) บุคคลเกินกว่ากึ่งจำนวนกรรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งมีอำนาจ จัดการในนิติบุคคลหนึ่ง เป็นกรรมการหรือเป็นผู้เป็นหุ้นส่วนซึ่งมีอำนาจ จัดการในอีกนิติบุคคลหนึ่ง
40 Exempt CIT ม.65 ทวิ(10) Exempt CIT พรฎ.(284,314),BOI Co., ltd. A. Co., ltd. B. Co., ltd. C. Co., ltd. D. Co., ltd.... Co., ltd. In-house Tr. NP CIT 30% R/E NP Exempt CIT R/E Staff Training 200% พรฎ.(437) Education BOI DividendDividend Investment Over 50%, Long term Investment Over 50% Sea Freight
41 ประเด็นพิจารณาการคิดดอกเบี้ยสำหรับ เงินกู้ยืมจากกรรมการหรือผู้เป็นหุ้นส่วน รายการCITPIT 1. เกณฑ์รับรู้รายได้ รายจ่าย (ความ รายจ่าย (ความ แตกต่างด้านเวลา) แตกต่างด้านเวลา) บริษัท/ ห้างฯรับรู้ดอกเบี้ย จ่ายตามเกณฑ์สิทธิ = ถือ เป็นรายจ่ายได้ทันที เป็น ผลให้ประหยัดภาษี 30% ไปจนกว่าจะจ่ายดอกเบี้ย กรรับรู้เงินได้ตามเกณฑ์ เงินสด = ถือเป็นเงินได้ ต่อเมื่อได้รับจริง 2. ความแตกต่างใน จำนวนเม็ดเงิน จำนวนเม็ดเงิน ภาษี ภาษี โดยทั่วไปอัตรา 30% ของ NP และในส่วนที่เป็นเงิน ปันผลของผู้ถือหุ้นอีก 7% ของ NP รวมเป็น 37% ของ NP ถูกหัก WT.15% ตามม. 50(2) มีสิทธิเลือกเสีย PIT ตามม.48(3) =Final Tax เป็นผลให้ประหยัดภาษีได้ ถึง 22% กิจการมีทุนน้อย (Thin Capital) ต้องหาแหล่งเงินทุน กิจการมีทุนน้อย (Thin Capital) ต้องหาแหล่งเงินทุน
42 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามประมวลรัษฎากร 4. การใช้สิทธิจำหน่ายหนี้สูญ สำหรับลูกหนี้ที่ไม่เกิน 100,000 บาท โดยไม่ต้องดำเนินคดีทางศาลต่อลูกหนี้ - กรณีไม่คุ้มที่จะฟ้องร้อง 5. การเลือกใช้สิทธิทำลายสินค้า แทนการบริจาค 6. การเลือกใช้สิทธิหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามวิธี Initial สำหรับ เครื่องจักร และอุปกรณ์ของเครื่องจักรที่ใช้ในการทำวิจัยและพัฒนา หรือ เครื่องจักร และอุปกรณ์ของเครื่องจักรที่ใช้ในการทำวิจัยและพัฒนา หรือ เครื่องบันทึกการเก็บเงินเพื่อการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ เครื่องบันทึกการเก็บเงินเพื่อการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อเชื่อม (Hardware) เครื่องจักร และ โรงงาน สำหรับกิจการ SMEs เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่อเชื่อม (Hardware) เครื่องจักร และ โรงงาน สำหรับกิจการ SMEs 7. การควบคุมจำนวนรายจ่ายค่ารับรองที่กฎหมายยอมให้หัก 8. การใช้สิทธิหักรายจ่ายค่าบริจาคเป็นสองเท่าของจำนวนค่าใช้จ่าย แต่ไม่เกิน 10% ของกำไรสุทธิ (พรฎ. (420 และ 428))
43 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามประมวลรัษฎากร 9. การการควบคุมจำนวนรายจ่ายค่าการกุศลสาธารณะ หรือรายจ่าย เพื่อการสาธารณประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อ การกีฬา ไม่เกิน 2% ของกำไรสุทธิทางภาษีอากร 10. การใช้สิทธินำผลขาดทุนสุทธิจากการประกอบกิจการที่ได้เข้า ไปลงทุน ไปใช้เป็นรายจ่าย 11. การมีหรือได้หลักฐานในการประกอบกิจการให้ครบถ้วน สมบูรณ์ และสอดคล้องกับหลักเกณฑ์ และเงื่อนไขแห่งประมวล รัษฎากร 12. การใช้สิทธิในการลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับบริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ที่มีทุนจด ทะเบียนชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้าน (SMEs อีกลักษณะหนึ่ง)
44 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามกฎหมายอื่น 1. การใช้สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน กฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม กฎหมายว่าด้วยศุลกากร - ยกเว้น CIT 3 – 8 ปี - ยกเว้นภาษีศุลกากรสำหรับเครื่องจักรและวัตถุดิบที่นำเข้ามาใช้ผลิต สินค้าตามโครงการ - วางหลักประกัน สำหรับ VAT ของเครื่องจักรและวัตถุดิบที่นำเข้ามาใช้ ผลิตสินค้าตามโครงการ 2. การใช้สิทธิในการหักรายจ่ายเพื่อการคำนวณภาษีเงินได้นิติ บุคคลตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคน พิการ โดยการจ้างพนักงานที่เป็นคนพิการ 1 คนต่อกรณีที่บริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นมีพนักตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป และการจัดอุปกรณ์ อำนวยความสะดวกโดยตรงแก่คนพิการในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่นๆ เพื่อใช้สิทธิหักเป็นรายจ่ายทางภาษี 200% โดยการจ้างพนักงานที่เป็นคนพิการ 1 คนต่อกรณีที่บริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นมีพนักตั้งแต่ 200 คนขึ้นไป และการจัดอุปกรณ์ อำนวยความสะดวกโดยตรงแก่คนพิการในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือบริการสาธารณะอื่นๆ เพื่อใช้สิทธิหักเป็นรายจ่ายทางภาษี 200%
45 ช่องโหว่ของกฎหมายภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามกฎหมายอื่น 3. การใช้สิทธิประโยชน์ตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร สำหรับการ ประกอบกิจการในเขตปลอดอากร (Free Zone: FZ) ได้แก่ คลังสินค้าทัณฑ์บนตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร และ EPZ (Export Processing Zone: เขตอุตสาหกรรมส่งออก) ตาม กฎหมายว่าด้วยการนิคมอุตสาหกรรม (กนอ. I-EAT) ประหยัดต้นทุนและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับภาษีศุลกากร (ได้รับยกเว้นอากร ขาเข้า และภาษีมูลค่าเพิ่ม) ประหยัดต้นทุนและค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับภาษีศุลกากร (ได้รับยกเว้นอากร ขาเข้า และภาษีมูลค่าเพิ่ม)
46 “การให้บริการสนับสนุน” หมายความว่า การให้บริการสนับสนุน ในเรื่อง ดังต่อไปนี้ “การให้บริการสนับสนุน” หมายความว่า การให้บริการสนับสนุน ในเรื่อง ดังต่อไปนี้ (1) การบริหารงานทั่วไป การวางแผนทางธุรกิจ และการประสานงาน ทางธุรกิจ (1) การบริหารงานทั่วไป การวางแผนทางธุรกิจ และการประสานงาน ทางธุรกิจ (2) การจัดหาวัตถุดิบและชิ้นส่วน (2) การจัดหาวัตถุดิบและชิ้นส่วน (3) การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (3) การวิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์ (4) การสนับสนุนด้านเทคนิค (4) การสนับสนุนด้านเทคนิค (5) การส่งเสริมด้านการตลาดและการขาย (5) การส่งเสริมด้านการตลาดและการขาย (6) การบริหารด้านงานบุคคลและการฝึกอบรมในภูมิภาค (6) การบริหารด้านงานบุคคลและการฝึกอบรมในภูมิภาค (7) การให้คำปรึกษาด้านการเงิน (7) การให้คำปรึกษาด้านการเงิน (8) การวิเคราะห์และวิจัยด้านเศรษฐกิจและการลงทุน (8) การวิเคราะห์และวิจัยด้านเศรษฐกิจและการลงทุน (9) การจัดการและควบคุมสินเชื่อ (9) การจัดการและควบคุมสินเชื่อ (10) การให้บริการสนับสนุนอื่นๆ ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศ กำหนด (10) การให้บริการสนับสนุนอื่นๆ ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศ กำหนด สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (ROH)
47 “วิสาหกิจในเครือ” หมายความว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมี ความสัมพันธ์กับสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค ในลักษณะดังต่อไปนี้ “วิสาหกิจในเครือ” หมายความว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมี ความสัมพันธ์กับสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค ในลักษณะดังต่อไปนี้ (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งถือหุ้นในสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของทุนทั้งหมด (1) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งถือหุ้นในสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของทุนทั้งหมด (2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคถือ หุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของทุนทั้งหมด (2) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคถือ หุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของทุนทั้งหมด (3) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตาม (1) ถือ หุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของทุนทั้งหมด (3) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตาม (1) ถือ หุ้นหรือเป็นหุ้นส่วนไม่น้อยกว่าร้อยละยี่สิบห้าของทุนทั้งหมด (4) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมีอำนาจควบคุมกิจการหรือกำกับ ดูแลการดำเนินงานและการบริหารงานของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (4) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งมีอำนาจควบคุมกิจการหรือกำกับ ดูแลการดำเนินงานและการบริหารงานของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (5) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคมี อำนาจควบคุมกิจการหรือกำกับดูแลการดำเนินงานและการบริหารงาน (5) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ซึ่งสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคมี อำนาจควบคุมกิจการหรือกำกับดูแลการดำเนินงานและการบริหารงาน (6) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตาม (4) มีอำนาจควบคุมกิจการหรือกำกับดูแลการดำเนินงานและการ บริหารงาน (6) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ตาม (4) มีอำนาจควบคุมกิจการหรือกำกับดูแลการดำเนินงานและการ บริหารงาน สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (ROH)
48 ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ลงเหลือ 10% ของกำไรสุทธิสำหรับ รายได้ดังต่อไปนี้ (มาตรา 8) ลดอัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล ลงเหลือ 10% ของกำไรสุทธิสำหรับ รายได้ดังต่อไปนี้ (มาตรา 8) (1) รายได้จากการให้บริการของ ROH แก่วิสาหกิจในเครือ หรือสาขา ต่างประเทศของ ROH (1) รายได้จากการให้บริการของ ROH แก่วิสาหกิจในเครือ หรือสาขา ต่างประเทศของ ROH (2) ดอกเบี้ยที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือ หรือสาขาต่างประเทศของ ROH ทั้งนี้ เฉพาะดอกเบี้ยจากเงินกู้ยืมที่ ROH ได้กู้มาเพื่อให้กู้ยืมต่อ (2) ดอกเบี้ยที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือ หรือสาขาต่างประเทศของ ROH ทั้งนี้ เฉพาะดอกเบี้ยจากเงินกู้ยืมที่ ROH ได้กู้มาเพื่อให้กู้ยืมต่อ (3) ค่าสิทธิที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือ หรือสาขาต่างประเทศของ ROH หรือจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เฉพาะค่า สิทธิที่เกิดจากผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของ ROH ที่กระทำขึ้นใน ประเทศไทย (3) ค่าสิทธิที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือ หรือสาขาต่างประเทศของ ROH หรือจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เฉพาะค่า สิทธิที่เกิดจากผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของ ROH ที่กระทำขึ้นใน ประเทศไทย บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้องตาม (3) หมายความว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่นำผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของ ROHไปใช้ในการผลิตสินค้าหรือให้บริการแก่ ROH วิสาหกิจในเครือ หรือ สาขาต่างประเทศของ ROH บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้องตาม (3) หมายความว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่นำผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของ ROHไปใช้ในการผลิตสินค้าหรือให้บริการแก่ ROH วิสาหกิจในเครือ หรือ สาขาต่างประเทศของ ROH สิทธิประโยชน์ของ ROH
49 ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่ ROH สำหรับเงินได้พึงประเมินที่ เป็นเงินปันผลที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือที่ ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ (มาตรา 9) ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลให้แก่ ROH สำหรับเงินได้พึงประเมินที่ เป็นเงินปันผลที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือที่ ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ (มาตรา 9) ROH ที่จะได้รับสิทธิตามมาตรา 8 และมาตรา 9 ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ ROH ที่จะได้รับสิทธิตามมาตรา 8 และมาตรา 9 ต้องมีคุณสมบัติ ดังต่อไปนี้ (1) มีทุนที่ชำระแล้วในวันสุดท้ายของแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต่ 10 ล้านบาทขึ้นไป (2) มีการให้บริการแก่วิสาหกิจในเครือในต่างประเทศ หรือสาขาของตน ในต่างประเทศอย่างน้อยสามประเทศ สิทธิประโยชน์ของ ROH
50 ที่จะได้รับสิทธิตามมาตรา 8 และมาตรา 9 ต้องมีคุณสมบัติดังนี้ ที่จะได้รับสิทธิตามมาตรา 8 และมาตรา 9 ต้องมีคุณสมบัติดังนี้(ต่อ) (3) มีรายได้ตามมาตรา 8(1) และ (3) ที่จ่ายจากหรือในต่างประเทศ รวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของรายได้ทั้งหมด เว้นแต่ภายในเวลา สามรอบระยะเวลาบัญชีแรกนับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่จดแจ้งการเป็น ROH ตาม (4) อาจมีรายได้ดังกล่าวไม่ถึงร้อยละห้าสิบก็ได้ แต่ต้องไม่ น้อยกว่าหนึ่งในสามของรายได้ทั้งหมด กรณีมีเหตุสุดวิสัยอันมิใช่ ความผิดของ ROH หรือมีเหตุจำเป็นอย่างยิ่ง ให้อธิบดีกรมสรรพากรมี อำนาจพิจารณาผ่อนผันให้น้อยกว่าอัตราร้อยละที่กำหนดดังกล่าวได้ แต่ให้ผ่อนผันได้เพียงหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี (4) ได้จดแจ้งการเป็น ROH ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตาม ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 109) (5) ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขอื่นตามประกาศอธิบดี กรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 109) สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (ROH)
51 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 109) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 109) ต้องแจ้งการจัดตั้ง ROH ต่ออธิบดีกรมสรรพากร ตามแบบแจ้งการ จัดตั้ง ROH ซึ่งต้องมีข้อความอย่างน้อยตามแบบที่อธิบดีกำหนด โดยให้ ยื่น ณ สำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ กรมสรรพากร หรือยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ ในเขตท้องที่ที่บริษัทซึ่งประกอบกิจการ ROH มีสถานประกอบการตั้งอยู่ ในกรณีมีสถานประกอบการหลายแห่ง ให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ ในเขตท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ของบริษัทซึ่ง ประกอบกิจการ ROH ตั้งอยู่ ก็ได้ (ข้อ 2) ต้องแจ้งการจัดตั้ง ROH ต่ออธิบดีกรมสรรพากร ตามแบบแจ้งการ จัดตั้ง ROH ซึ่งต้องมีข้อความอย่างน้อยตามแบบที่อธิบดีกำหนด โดยให้ ยื่น ณ สำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ กรมสรรพากร หรือยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ ในเขตท้องที่ที่บริษัทซึ่งประกอบกิจการ ROH มีสถานประกอบการตั้งอยู่ ในกรณีมีสถานประกอบการหลายแห่ง ให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ ในเขตท้องที่ที่สำนักงานใหญ่ของบริษัทซึ่ง ประกอบกิจการ ROH ตั้งอยู่ ก็ได้ (ข้อ 2) การคำนวณกำไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของ ROH ต้องเป็นไปตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในมาตรา 65 และมาตรา 65 ทวิ (ข้อ 3) การคำนวณกำไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของ ROH ต้องเป็นไปตาม หลักเกณฑ์และเงื่อนไขในมาตรา 65 และมาตรา 65 ทวิ (ข้อ 3) กรณีประกอบกิจการทั้งกิจการ ROH และกิจการอื่น ให้บริษัทดังกล่าว คำนวณกำไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของแต่ละกิจการแยกต่างหากจากกัน หากรายจ่ายใดไม่สามารถแยกกันได้โดยชัดแจ้งว่าส่วนใดเป็นรายจ่าย ของกิจการใด ให้บริษัทเฉลี่ยรายจ่ายดังกล่าวตามส่วนของรายได้ ระหว่างรายได้จากการประกอบกิจการ ROH และรายได้จากกิจการอื่น กรณีประกอบกิจการทั้งกิจการ ROH และกิจการอื่น ให้บริษัทดังกล่าว คำนวณกำไรสุทธิและขาดทุนสุทธิของแต่ละกิจการแยกต่างหากจากกัน หากรายจ่ายใดไม่สามารถแยกกันได้โดยชัดแจ้งว่าส่วนใดเป็นรายจ่าย ของกิจการใด ให้บริษัทเฉลี่ยรายจ่ายดังกล่าวตามส่วนของรายได้ ระหว่างรายได้จากการประกอบกิจการ ROH และรายได้จากกิจการอื่น สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (ROH)
52 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 109) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 109) กรณีบริษัทซึ่งประกอบกิจการทั้งกิจการ ROH และกิจการอื่น หาก กิจการ ROH มีผลขาดทุนสุทธิให้คงผลขาดทุนสุทธิดังกล่าวไว้ในกิจการ ROH เท่านั้น (ข้อ 4) กรณีบริษัทซึ่งประกอบกิจการทั้งกิจการ ROH และกิจการอื่น หาก กิจการ ROH มีผลขาดทุนสุทธิให้คงผลขาดทุนสุทธิดังกล่าวไว้ในกิจการ ROH เท่านั้น (ข้อ 4) ให้บริษัทซึ่งประกอบกิจการ ROH ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ของ บริษัท พร้อมทั้งบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุน ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ตามแบบ ภ.ง.ด. 50 พร้อมกับชำระภาษีตามมาตรา 68 และมาตรา 69 และยื่นแบบแสดง รายการภาษีเงินได้ของบริษัทภายในสองเดือนนับแต่วันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาหกเดือนนับแต่วันแรกของรอบระยะเวลาบัญชีตามแบบ ภ.ง.ด. 51 พร้อมกับชำระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ (ข้อ 5) ให้บริษัทซึ่งประกอบกิจการ ROH ยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ของ บริษัท พร้อมทั้งบัญชีงบดุล บัญชีทำการ และบัญชีกำไรขาดทุน ภายใน 150 วันนับแต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ตามแบบ ภ.ง.ด. 50 พร้อมกับชำระภาษีตามมาตรา 68 และมาตรา 69 และยื่นแบบแสดง รายการภาษีเงินได้ของบริษัทภายในสองเดือนนับแต่วันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาหกเดือนนับแต่วันแรกของรอบระยะเวลาบัญชีตามแบบ ภ.ง.ด. 51 พร้อมกับชำระภาษีตามมาตรา 67 ทวิ (ข้อ 5) สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (ROH)
53 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 109) หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 109) กรณีบริษัทซึ่งประกอบกิจการทั้งกิจการ ROH และกิจการอื่น ให้บริษัท ดังกล่าวแยกยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ของบริษัท พร้อมทั้งบัญชี ทำการ และบัญชีกำไรขาดทุนของแต่ละกิจการออกเป็นคนละชุด สำหรับ บัญชีงบดุลของบริษัทดังกล่าวให้ยื่นพร้อมแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ ของบริษัทในกิจการใดกิจการหนึ่งก็ได้ โดยในการยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้ของบริษัทดังกล่าวให้ใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรเดียวกัน (ข้อ 5 วรรคสอง) กรณีบริษัทซึ่งประกอบกิจการทั้งกิจการ ROH และกิจการอื่น ให้บริษัท ดังกล่าวแยกยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ของบริษัท พร้อมทั้งบัญชี ทำการ และบัญชีกำไรขาดทุนของแต่ละกิจการออกเป็นคนละชุด สำหรับ บัญชีงบดุลของบริษัทดังกล่าวให้ยื่นพร้อมแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ ของบริษัทในกิจการใดกิจการหนึ่งก็ได้ โดยในการยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีเงินได้ของบริษัทดังกล่าวให้ใช้เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรเดียวกัน (ข้อ 5 วรรคสอง) บริษัทซึ่งประกอบกิจการ ROH ได้แจ้งการจัดตั้ง ROH ในรอบระยะ เวลาบัญชีใด ให้ได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตาม พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 405) พ.ศ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชี นั้นเป็นต้นไป (ข้อ 6) บริษัทซึ่งประกอบกิจการ ROH ได้แจ้งการจัดตั้ง ROH ในรอบระยะ เวลาบัญชีใด ให้ได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตาม พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 405) พ.ศ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชี นั้นเป็นต้นไป (ข้อ 6) สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (ROH)
54 มาตรา 10/1 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่ได้จดแจ้งตามมาตรา 10 (4) และได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 8 หรือมาตรา 9 ไม่ มีสิทธิได้รับการลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 มาตรา 10/1 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่ได้จดแจ้งตามมาตรา 10 (4) และได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 8 หรือมาตรา 9 ไม่ มีสิทธิได้รับการลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 มาตรา 11/1 ให้ลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 4 มาตรา 5 หรือมาตรา 6 ให้แก่คนต่างด้าวซึ่งทำงานประจำ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคในระหว่างการทำงานในประเทศไทยเป็น ระยะเวลาติดต่อกันไม่เกินแปดปีไม่ว่าในระหว่างเวลานั้นจะได้เดินทางออก จากประเทศไทยเป็นครั้งคราวหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้ เฉพาะผู้บริหารระดับสูง หรือผู้เชี่ยวชาญระดับสูงที่สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคจดแจ้งต่อ กรมสรรพากรตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด มาตรา 11/1 ให้ลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามหลักเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ใน มาตรา 4 มาตรา 5 หรือมาตรา 6 ให้แก่คนต่างด้าวซึ่งทำงานประจำ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคในระหว่างการทำงานในประเทศไทยเป็น ระยะเวลาติดต่อกันไม่เกินแปดปีไม่ว่าในระหว่างเวลานั้นจะได้เดินทางออก จากประเทศไทยเป็นครั้งคราวหรือไม่ก็ตาม ทั้งนี้ เฉพาะผู้บริหารระดับสูง หรือผู้เชี่ยวชาญระดับสูงที่สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคจดแจ้งต่อ กรมสรรพากรตามแบบที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคตามวรรคหนึ่งต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 11/6 หรือมาตรา 11/7 แล้วแต่กรณี และมีรายได้จากการให้บริการหรือค่า สิทธิตามจำนวนที่กำหนดในมาตรา 11/2 วรรคสอง สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคตามวรรคหนึ่งต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 11/6 หรือมาตรา 11/7 แล้วแต่กรณี และมีรายได้จากการให้บริการหรือค่า สิทธิตามจำนวนที่กำหนดในมาตรา 11/2 วรรคสอง สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
55 มาตรา 11/2 ให้ลดอัตราภาษีเงินได้ตาม (ก) ของ (2) สำหรับบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล แห่งบัญชีอัตราภาษีเงินได้ท้ายหมวด 3 ในลักษณะ 2 และ คงจัดเก็บในอัตราร้อยละสิบของกำไรสุทธิ ให้แก่สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค เป็นเวลาสิบรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกันสำหรับรายได้ดังต่อไปนี้ มาตรา 11/2 ให้ลดอัตราภาษีเงินได้ตาม (ก) ของ (2) สำหรับบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล แห่งบัญชีอัตราภาษีเงินได้ท้ายหมวด 3 ในลักษณะ 2 และ คงจัดเก็บในอัตราร้อยละสิบของกำไรสุทธิ ให้แก่สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค เป็นเวลาสิบรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกันสำหรับรายได้ดังต่อไปนี้ (1) รายได้จากการให้บริการของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคแก่วิสาหกิจในเครือที่ ตั้งขึ้นในประเทศไทย (1) รายได้จากการให้บริการของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคแก่วิสาหกิจในเครือที่ ตั้งขึ้นในประเทศไทย (2) ดอกเบี้ยที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือ หรือสาขาต่างประเทศของสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาค ทั้งนี้ เฉพาะดอกเบี้ยจากเงินกู้ยืมที่สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคได้กู้มาเพื่อให้กู้ยืมต่อ (2) ดอกเบี้ยที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือ หรือสาขาต่างประเทศของสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาค ทั้งนี้ เฉพาะดอกเบี้ยจากเงินกู้ยืมที่สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคได้กู้มาเพื่อให้กู้ยืมต่อ (3) ค่าสิทธิที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือ หรือสาขาต่างประเทศของสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาค หรือจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เฉพาะค่าสิทธิที่เกิดจาก ผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่กระทำขึ้นในประเทศไทย (3) ค่าสิทธิที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือ หรือสาขาต่างประเทศของสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาค หรือจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เฉพาะค่าสิทธิที่เกิดจาก ผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่กระทำขึ้นในประเทศไทย สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่จะได้รับการลดอัตราภาษีเงินได้สำหรับ รายได้ตาม (2) หรือ (3) ในรอบระยะเวลาบัญชีใด จะต้องมีรายได้ในรอบ ระยะเวลาบัญชีนั้นจากการให้บริการของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคแก่ วิสาหกิจในเครือในต่างประเทศหรือสาขาของตนในต่างประเทศ หรือจากค่า สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่จะได้รับการลดอัตราภาษีเงินได้สำหรับ รายได้ตาม (2) หรือ (3) ในรอบระยะเวลาบัญชีใด จะต้องมีรายได้ในรอบ ระยะเวลาบัญชีนั้นจากการให้บริการของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคแก่ วิสาหกิจในเครือในต่างประเทศหรือสาขาของตนในต่างประเทศ หรือจากค่า สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
56 สิทธิที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือในต่างประเทศหรือสาขาของตนในต่าง ประเทศ หรือจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เฉพาะค่า สิทธิที่เกิดจากผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคที่กระทำขึ้นในประเทศไทย โดยรายได้จากการให้บริการหรือค่าสิทธิ นั้นต้องจ่ายจากหรือในต่างประเทศรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของ รายได้ทั้งหมดของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค สิทธิที่ได้รับจากวิสาหกิจในเครือในต่างประเทศหรือสาขาของตนในต่าง ประเทศ หรือจากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ เฉพาะค่า สิทธิที่เกิดจากผลการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีของสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคที่กระทำขึ้นในประเทศไทย โดยรายได้จากการให้บริการหรือค่าสิทธิ นั้นต้องจ่ายจากหรือในต่างประเทศรวมกันไม่น้อยกว่าร้อยละห้าสิบของ รายได้ทั้งหมดของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค มาตรา 11/3 ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่สำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาค สำหรับรายได้ที่ได้จากการให้บริการของสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคแก่วิสาหกิจในเครือที่อยู่ในต่างประเทศ หรือสาขาต่างประเทศของ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคเป็นเวลาสิบรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกัน มาตรา 11/3 ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่สำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาค สำหรับรายได้ที่ได้จากการให้บริการของสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคแก่วิสาหกิจในเครือที่อยู่ในต่างประเทศ หรือสาขาต่างประเทศของ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคเป็นเวลาสิบรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกัน สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
57 มาตรา 11/4 ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่สำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคที่มีรายได้จากการให้บริการหรือค่าสิทธิตามที่กำหนดในมาตรา 11/2 วรรคสอง สำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินปันผลที่ได้รับจากวิสาหกิจใน เครือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศเป็น เวลาสิบรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกัน มาตรา 11/4 ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่สำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคที่มีรายได้จากการให้บริการหรือค่าสิทธิตามที่กำหนดในมาตรา 11/2 วรรคสอง สำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินปันผลที่ได้รับจากวิสาหกิจใน เครือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยหรือที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศเป็น เวลาสิบรอบระยะเวลาบัญชีต่อเนื่องกัน มาตรา 11/5 ในการลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 ให้นับรอบระยะเวลาบัญชีดังต่อไปนี้ มาตรา 11/5 ในการลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 ให้นับรอบระยะเวลาบัญชีดังต่อไปนี้ (1) กรณีที่รอบระยะเวลาบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ได้จดแจ้งการเป็นสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคตามมาตรา 11/6 (6) ให้นับรอบระยะเวลาบัญชีนั้นเป็นรอบระยะเวลาบัญชีแรก หรือ (1) กรณีที่รอบระยะเวลาบัญชีเริ่มในหรือหลังวันที่ได้จดแจ้งการเป็นสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคตามมาตรา 11/6 (6) ให้นับรอบระยะเวลาบัญชีนั้นเป็นรอบระยะเวลาบัญชีแรก หรือ (2) กรณีที่มีการจดแจ้งการเป็นสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคตามมาตรา 11/6 (6) ระหว่างรอบระยะเวลาบัญชีใด ให้นับรอบระยะเวลาบัญชีนั้นเป็นรอบระยะเวลาบัญชีแรก แม้ว่าจะมีระยะเวลาน้อยกว่าสิบสองเดือนก็ตาม (2) กรณีที่มีการจดแจ้งการเป็นสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคตามมาตรา 11/6 (6) ระหว่างรอบระยะเวลาบัญชีใด ให้นับรอบระยะเวลาบัญชีนั้นเป็นรอบระยะเวลาบัญชีแรก แม้ว่าจะมีระยะเวลาน้อยกว่าสิบสองเดือนก็ตาม สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
58 มาตรา 11/6 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่จะได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้น ภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 ต้องมี คุณสมบัติดังต่อไปนี้ มาตรา 11/6 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่จะได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้น ภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 ต้องมี คุณสมบัติดังต่อไปนี้ (1) มีทุนที่ชำระแล้วในวันสุดท้ายของแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต่สิบล้านบาทขึ้นไป (1) มีทุนที่ชำระแล้วในวันสุดท้ายของแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีตั้งแต่สิบล้านบาทขึ้นไป (2) มีการให้บริการแก่วิสาหกิจในเครือในต่างประเทศหรือสาขาของตนในต่างประเทศ ไม่น้อยกว่าจำนวนดังต่อไปนี้ (2) มีการให้บริการแก่วิสาหกิจในเครือในต่างประเทศหรือสาขาของตนในต่างประเทศ ไม่น้อยกว่าจำนวนดังต่อไปนี้ (ก) หนึ่งประเทศ ในรอบระยะเวลาบัญชีแรกและที่สอง (ก) หนึ่งประเทศ ในรอบระยะเวลาบัญชีแรกและที่สอง (ข) สองประเทศ ในรอบระยะเวลาบัญชีที่สามและที่สี่ และ (ข) สองประเทศ ในรอบระยะเวลาบัญชีที่สามและที่สี่ และ (ค) สามประเทศ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่ห้าเป็นต้นไป (ค) สามประเทศ ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่ห้าเป็นต้นไป (3) มีรายจ่ายดังต่อไปนี้ (3) มีรายจ่ายดังต่อไปนี้ (ก) รายจ่ายในการดำเนินงานซึ่งเกี่ยวกับกิจการของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่ จ่ายให้แก่ผู้รับในประเทศไทยไม่น้อยกว่าสิบห้าล้านบาทในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีแต่ไม่ รวมถึงค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน รายจ่ายในการดำเนินงานที่จ่ายไปต่างประเทศ ค่าวัตถุดิบ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์หรือสิทธิอย่างอื่น ค่าส่วนประกอบ และค่าบรรจุภัณฑ์ หรือ (ก) รายจ่ายในการดำเนินงานซึ่งเกี่ยวกับกิจการของสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่ จ่ายให้แก่ผู้รับในประเทศไทยไม่น้อยกว่าสิบห้าล้านบาทในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชีแต่ไม่ รวมถึงค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สิน รายจ่ายในการดำเนินงานที่จ่ายไปต่างประเทศ ค่าวัตถุดิบ ค่าแห่งกู๊ดวิลล์ ค่าแห่งลิขสิทธิ์หรือสิทธิอย่างอื่น ค่าส่วนประกอบ และค่าบรรจุภัณฑ์ หรือ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
59 มาตรา 11/6 (ต่อ) (ข) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุนตามมาตรา 65 ตรี (5) ที่สำนักงานปฏิบัติ การภูมิภาคจ่ายให้แก่ผู้รับในประเทศไทย เป็นจำนวนไม่น้อยกว่าสามสิบล้านบาท ในแต่ละ รอบระยะเวลาบัญชี แต่ไม่รวมถึงเงินลงทุนในหลักทรัพย์ตามกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และ ตลาดหลักทรัพย์ (4) มีวิสาหกิจในเครือ หรือสาขาของตนในต่างประเทศ ซึ่งต้องมีการประกอบกิจการ ตามวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง ผู้บริหารและพนักงานปฏิบัติงานในสถานประกอบการอย่าง แท้จริง ทั้งนี้ ต้องตรงตามที่ได้แจ้งต่อกรมสรรพากร (5) มีพนักงานปฏิบัติงานในสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคซึ่งมีทักษะและความรู้ขั้นต่ำ ตามที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด (6) ได้จดแจ้งการเป็นสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด โดยต้องจดแจ้งภายในห้าปีนับแต่วันที่อธิบดี กรมสรรพากรกำหนดให้มีการจดแจ้ง (7) ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขอื่นที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศ กำหนด สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
60 มาตรา 11/7 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่จะได้รับสิทธิตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่สามเป็นต้นไป ต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 11/6 และต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ด้วย มาตรา 11/7 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่จะได้รับสิทธิตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 ตั้งแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่สามเป็นต้นไป ต้องมีคุณสมบัติตามมาตรา 11/6 และต้องมีคุณสมบัติดังต่อไปนี้ด้วย (1) มีพนักงานตามมาตรา 11/6 (5) ปฏิบัติงานในสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคเป็นจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของจำนวนพนักงานทั้งหมด และ (1) มีพนักงานตามมาตรา 11/6 (5) ปฏิบัติงานในสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคเป็นจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบห้าของจำนวนพนักงานทั้งหมด และ (2) มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานที่ปฏิบัติงานในกิจการของ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค ในอัตราไม่น้อยกว่าคนละสองล้านห้าแสนบาท ต่อปี เป็นจำนวนอย่างน้อยห้าคน (2) มีการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่พนักงานที่ปฏิบัติงานในกิจการของ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค ในอัตราไม่น้อยกว่าคนละสองล้านห้าแสนบาท ต่อปี เป็นจำนวนอย่างน้อยห้าคน สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
61 มาตรา 11/8 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่ได้จดแจ้งตามมาตรา 11/6 (๖) เพื่อให้ได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 ไม่มีสิทธิที่จะได้รับการลดอัตราและยกเว้นภาษีเงิน ได้ตามมาตรา 8 หรือมาตรา 9 มาตรา 11/8 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่ได้จดแจ้งตามมาตรา 11/6 (๖) เพื่อให้ได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 ไม่มีสิทธิที่จะได้รับการลดอัตราและยกเว้นภาษีเงิน ได้ตามมาตรา 8 หรือมาตรา 9 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคจะจดแจ้งการเป็นสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคตามมาตรา 10 (4) และมาตรา 11/6 (6) ในเวลาเดียวกันมิได้ และ จะได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 8 หรือมาตรา 9 พร้อมกับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 มิได้ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคจะจดแจ้งการเป็นสำนักงานปฏิบัติการ ภูมิภาคตามมาตรา 10 (4) และมาตรา 11/6 (6) ในเวลาเดียวกันมิได้ และ จะได้รับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 8 หรือมาตรา 9 พร้อมกับสิทธิลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 มิได้ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
62 มาตรา 11/9 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่มีคุณสมบัติตามมาตรา 11/6 และต่อมามีคุณสมบัติตามมาตรา 11/7 ตามที่กำหนด ต่อเนื่องกันตลอดสิบ รอบระยะเวลาบัญชีในการลดอัตราหรือยกเว้นภาษีเงินได้ หากปรากฏว่าใน รอบระยะเวลาบัญชีที่สิบมีรายจ่ายในการดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการของ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่จ่ายในประเทศไทยสะสมรวมกันแล้วเกินกว่า หนึ่งร้อยห้าสิบล้านบาทตลอดสิบรอบระยะเวลาบัญชี ให้ได้รับสิทธิลดอัตรา และยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 อีก ห้ารอบระยะเวลาบัญชี มาตรา 11/9 สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่มีคุณสมบัติตามมาตรา 11/6 และต่อมามีคุณสมบัติตามมาตรา 11/7 ตามที่กำหนด ต่อเนื่องกันตลอดสิบ รอบระยะเวลาบัญชีในการลดอัตราหรือยกเว้นภาษีเงินได้ หากปรากฏว่าใน รอบระยะเวลาบัญชีที่สิบมีรายจ่ายในการดำเนินงานเกี่ยวกับกิจการของ สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคที่จ่ายในประเทศไทยสะสมรวมกันแล้วเกินกว่า หนึ่งร้อยห้าสิบล้านบาทตลอดสิบรอบระยะเวลาบัญชี ให้ได้รับสิทธิลดอัตรา และยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 อีก ห้ารอบระยะเวลาบัญชี มาตรา 11/10 ในกรณีที่ปรากฏว่าสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคขาดคุณสมบัติ อย่างหนึ่งอย่างใด ตามมาตรา 11/6 หรือมาตรา 11/7 ในรอบระยะเวลา บัญชีใดให้สิทธิที่จะได้รับการลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 สิ้นสุดลง ทั้งนี้ ตั้งแต่รอบระยะเวลา บัญชีแรก มาตรา 11/10 ในกรณีที่ปรากฏว่าสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคขาดคุณสมบัติ อย่างหนึ่งอย่างใด ตามมาตรา 11/6 หรือมาตรา 11/7 ในรอบระยะเวลา บัญชีใดให้สิทธิที่จะได้รับการลดอัตราและยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 11/2 มาตรา 11/3 หรือมาตรา 11/4 สิ้นสุดลง ทั้งนี้ ตั้งแต่รอบระยะเวลา บัญชีแรก สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
63 มาตรา 11/11 ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศและมิได้ประกอบกิจการใน ประเทศไทย สำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินปันผลที่ได้รับจากสำนักงาน ปฏิบัติการภูมิภาคตามมาตรา 11/6 หรือตามมาตรา 11/7 แล้วแต่กรณี ซึ่งมี รายได้จากการให้บริการหรือค่าสิทธิตามมาตรา 11/2 วรรคสอง มาตรา 11/11 ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศและมิได้ประกอบกิจการใน ประเทศไทย สำหรับเงินได้พึงประเมินที่เป็นเงินปันผลที่ได้รับจากสำนักงาน ปฏิบัติการภูมิภาคตามมาตรา 11/6 หรือตามมาตรา 11/7 แล้วแต่กรณี ซึ่งมี รายได้จากการให้บริการหรือค่าสิทธิตามมาตรา 11/2 วรรคสอง แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่า ด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 508) พ.ศ ใช้บังคับ ตั้งแต่ 6 พฤศจิกายน 2553 เป็นเต้นไป แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่า ด้วยการลดอัตราและยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 508) พ.ศ ใช้บังคับ ตั้งแต่ 6 พฤศจิกายน 2553 เป็นเต้นไป สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (New ROH)
64 สำหรับฐานกำไรสุทธิทางภาษีอากร (Taxable Net Profit) สำหรับฐานกำไรสุทธิทางภาษีอากร (Taxable Net Profit) กรณีทั่วไป (บัญชีอัตราภาษีเงินได้) 30% NP กรณีทั่วไป (บัญชีอัตราภาษีเงินได้) 30% NP บริษัท/ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่มีทุนจด ทะเบียน (Capital) ชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี > 5 ล้าน บริษัท/ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยที่มีทุนจด ทะเบียน (Capital) ชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี > 5 ล้าน บริษัท/ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ, รัฐบาลต่างประเทศ บริษัท/ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ, รัฐบาลต่างประเทศ กิจการร่วมค้า ( Joint Venture) กิจการร่วมค้า ( Joint Venture) บริษัท/ห้างฯ ไทย ที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ≤ 5 ล้าน (SMEs) บริษัท/ห้างฯ ไทย ที่มีทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ≤ 5 ล้าน (SMEs) พรฎ. (394) 20%,25%,30% ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน/ หลัง 1 ม.ค (2545 – 2546) พรฎ. (394) 20%,25%,30% ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน/ หลัง 1 ม.ค (2545 – 2546) พรฎ. (431) 15%,25%,30% สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ม ใน/หลัง 1 ม.ค – ก่อน 1 ม.ค พรฎ. (431) 15%,25%,30% สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่ม ใน/หลัง 1 ม.ค – ก่อน 1 ม.ค พรฎ. (471) ยกเว้น NP 150,000 บาทแรก 15%,25%,30% สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน/หลัง 1 ม.ค เป็นต้นไป พรฎ. (471) ยกเว้น NP 150,000 บาทแรก 15%,25%,30% สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มใน/หลัง 1 ม.ค เป็นต้นไป อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
65 สำหรับฐานกำไรสุทธิทางภาษีอากร (Taxable Net Profit) สำหรับฐานกำไรสุทธิทางภาษีอากร (Taxable Net Profit) SET: Stock Exchange of Thailand (พรฎ. (387) (475)) 25%,30% SET: Stock Exchange of Thailand (พรฎ. (387) (475)) 25%,30% MAI: Market for Alternative Investment (พรฎ. (387) (475)) 20% MAI: Market for Alternative Investment (พรฎ. (387) (475)) 20% BIBF: วิเทศธนกิจ (Bangkok International Banking Facility) (พรฎ. (454)) 10% ของกำไรสุทธิ BIBF: วิเทศธนกิจ (Bangkok International Banking Facility) (พรฎ. (454)) 10% ของกำไรสุทธิ ROH: สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (Regional Operating Headquarter) (พรฎ. (405))10% ของกำไรสุทธิสำหรับรอบบัญชี ที่เริ่มใน/หลัง 16 ส.ค.45 ROH: สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค (Regional Operating Headquarter) (พรฎ. (405))10% ของกำไรสุทธิสำหรับรอบบัญชี ที่เริ่มใน/หลัง 16 ส.ค.45 กิจการค้าน้ำมันกลางทะเล (พรฎ. (426)) สำหรับรอบบัญชีที่เริ่มใน/ หลัง 1 ม.ค.47 10% ของกำไรสุทธิ กิจการค้าน้ำมันกลางทะเล (พรฎ. (426)) สำหรับรอบบัญชีที่เริ่มใน/ หลัง 1 ม.ค.47 10% ของกำไรสุทธิ BOI Zone 3 หลังพ้นการส่งเสริมการลงทุนได้รับยกเว้น CIT กึ่งหนึ่ง เป็นเวลา 5 ปี BOI Zone 3 หลังพ้นการส่งเสริมการลงทุนได้รับยกเว้น CIT กึ่งหนึ่ง เป็นเวลา 5 ปี อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล
66 อัตรา CIT ตาม พรฎ. (431, 471) กิจการร่วมค้าได้สิทธิเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกำไรสุทธิตาม อัตราใน พรฎ. (ฉบับที่ 431) หรือ (ฉบับที่ 471) หรือไม่ กิจการร่วมค้าได้สิทธิเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลจากกำไรสุทธิตาม อัตราใน พรฎ. (ฉบับที่ 431) หรือ (ฉบับที่ 471) หรือไม่ ไม่ได้สิทธิ ไม่ได้สิทธิ เพราะกิจการร่วมค้าไม่ใช่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนที่ ชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกินห้าล้านบาท เพราะกิจการร่วมค้าไม่ใช่ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มีทุนที่ ชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีไม่เกินห้าล้านบาท เงื่อนไขในพรฎ. (ฉบับที่ 431) หรือ (ฉบับที่ 471) มุ่งหมายที่จะให้ สิทธิแก่เฉพาะบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ไทย (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์) เท่านั้น ไม่รวมถึงกิจการร่วม ค้า โดยพิจารณาจากคำว่า “มีทุนที่ชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท” เงื่อนไขในพรฎ. (ฉบับที่ 431) หรือ (ฉบับที่ 471) มุ่งหมายที่จะให้ สิทธิแก่เฉพาะบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ไทย (ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์) เท่านั้น ไม่รวมถึงกิจการร่วม ค้า โดยพิจารณาจากคำว่า “มีทุนที่ชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีไม่เกิน 5 ล้านบาท”
67 อัตรา CIT ตาม พรฎ. (530) พ.ศ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค เป็นต้นไป สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลัง 1 ม.ค เป็นต้นไป ไม่เคยมีทุนเรียกชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีเกินกว่า 5 ล้านบาท และไม่เคยมีรายได้จากการขายสินค้าหรือการให้บริการเกิน กว่า 30 ล้านบาท ไม่เคยมีทุนเรียกชำระแล้วในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชีเกินกว่า 5 ล้านบาท และไม่เคยมีรายได้จากการขายสินค้าหรือการให้บริการเกิน กว่า 30 ล้านบาท “ขาย” หมายความว่า จำหน่าย จ่าย หรือโอนสินค้า โดยมีหรือไม่มี ประโยชน์หรือค่าตอบแทน และให้หมายความรวมถึงสัญญาให้เช่าซื้อ สินค้า สัญญาซื้อขายผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังไม่โอนไปยังผู้ซื้อ เมื่อมีการส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ซื้อแล้ว และการส่งสินค้าออกนอก ราชอาณาจักร “ขาย” หมายความว่า จำหน่าย จ่าย หรือโอนสินค้า โดยมีหรือไม่มี ประโยชน์หรือค่าตอบแทน และให้หมายความรวมถึงสัญญาให้เช่าซื้อ สินค้า สัญญาซื้อขายผ่อนชำระที่กรรมสิทธิ์ในสินค้ายังไม่โอนไปยังผู้ซื้อ เมื่อมีการส่งมอบสินค้าให้แก่ผู้ซื้อแล้ว และการส่งสินค้าออกนอก ราชอาณาจักร “สินค้า” หมายความว่า ทรัพย์สินที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่างที่อาจมีราคา และถือเอาได้ ที่มีไว้เพื่อขายเท่านั้น “สินค้า” หมายความว่า ทรัพย์สินที่มีรูปร่างและไม่มีรูปร่างที่อาจมีราคา และถือเอาได้ ที่มีไว้เพื่อขายเท่านั้น “บริการ” หมายความว่า การกระทำใด ๆ อันอาจหาประโยชน์อันมี มูลค่าซึ่งมิใช่เป็นการขายสินค้า “บริการ” หมายความว่า การกระทำใด ๆ อันอาจหาประโยชน์อันมี มูลค่าซึ่งมิใช่เป็นการขายสินค้า
68 อัตรา CIT ตาม พรฎ. (530) พ.ศ (ต่อ) บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (SMEs) บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (SMEs) รายการ จำนวนกำไรสุทธิ เป็นต้นไป NP 150,000 บาทแรกยกเว้น NP 150,001 – 1,000,00015% NP 1,000,001 – 3,000,00025%23%20% NP ส่วนที่เกินกว่า 3 ล้านบาท30%23%20%
69 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล จากฐานกำไรสุทธิ ดังต่อไปนี้ ให้เสียภาษีเงินได้นิติ บุคคลในอัตราดังนี้ 1. บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลดังต่อไปนี้ ให้เสียภาษีเงินได้นิติ บุคคลในอัตราดังนี้ สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี % ของกำไรสุทธิ สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี % ของกำไรสุทธิ สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีปี 2556 – % ของกำไรสุทธิ 1.1 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยโดยมีทุนจด ทะเบียนชำระแล้ว ณ วันสุดท้ายของรอบระยะ เวลาบัญชีเกินกว่า 5 ล้านบาท และมิใช่บริษัทจดทะเบียน 1.1 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยโดยมีทุนจด ทะเบียนชำระแล้ว ณ วันสุดท้ายของรอบระยะ เวลาบัญชีเกินกว่า 5 ล้านบาท และมิใช่บริษัทจดทะเบียน 1.2 กิจการร่วมค้า 1.2 กิจการร่วมค้า 1.3 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ 1.3 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ 1.4 กิจการที่ดำเนินเป็นทางค้าหรือหากำไรโดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การ ของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของ ต่างประเทศ 1.4 กิจการที่ดำเนินเป็นทางค้าหรือหากำไรโดยรัฐบาลต่างประเทศ องค์การ ของรัฐบาลต่างประเทศ หรือนิติบุคคลอื่นที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของ ต่างประเทศ
70 อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคล จากฐานกำไรสุทธิ 2. สำหรับบริษัทจดทะเบียน บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (Listed Co.) 2.1 บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ (Listed Co.) กรณีจดทะเบียนก่อน 6 ก.ย.2544 ให้ลดอัตราลงเหลือ 25% สำหรับ กำไรสุทธิในส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท เป็นเวลา 5 ปี นับแต่รอบบัญชี ที่เริ่มในหรือหลัง 6 ก.ย.2544 และอัตรา 30% สำหรับกำไรสุทธิใน ส่วนที่เกินกว่า 300 ล้านบาท กรณีจดทะเบียนก่อน 6 ก.ย.2544 ให้ลดอัตราลงเหลือ 25% สำหรับ กำไรสุทธิในส่วนที่ไม่เกิน 300 ล้านบาท เป็นเวลา 5 ปี นับแต่รอบบัญชี ที่เริ่มในหรือหลัง 6 ก.ย.2544 และอัตรา 30% สำหรับกำไรสุทธิใน ส่วนที่เกินกว่า 300 ล้านบาท กรณีจดทะเบียนตั้งแต่ 6 ก.ย.2544 ให้ลดอัตราลงเหลือ 25% ของ กำไรสุทธิโดยไม่จำกัดจำนวนเป็นเวลา 5 ปี นับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่ เริ่มในหรือหลังวันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ กรณีจดทะเบียนตั้งแต่ 6 ก.ย.2544 ให้ลดอัตราลงเหลือ 25% ของ กำไรสุทธิโดยไม่จำกัดจำนวนเป็นเวลา 5 ปี นับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่ เริ่มในหรือหลังวันที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ 2.2 บริษัทจดเบียนในตลาดหลักทรัพย์ใหม่ (MAI) 2.2 บริษัทจดเบียนในตลาดหลักทรัพย์ใหม่ (MAI) ซึ่งจดทะเบียนตั้งแต่ 6 ก.ย ให้ลดอัตราลงเหลือ 20% ของ กำไรสุทธิ เป็นเวลา 5 ปี นับแต่รอบบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ ซึ่งจดทะเบียนตั้งแต่ 6 ก.ย ให้ลดอัตราลงเหลือ 20% ของ กำไรสุทธิ เป็นเวลา 5 ปี นับแต่รอบบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์
71 MAI * พรฎ. (ฉ.387) พรฎ. (ฉ.387) บริษัทจดทะเบียน (Listed Co.) SET เสีย CIT ใน อัตรา 25% NP จำนวน 300 ล้าน บาทเป็นเวลา 5 ปี ตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มใน หรือหลัง 6 ก.ย.44 SET SET พรฎ. (ฉ.387) ทั้ง MAI และ SET ไม่ได้รับการลดอัตรา CIT ยังคงเสียใน อัตรา 30% NP ระหว่าง 6 ก.ย.2544 ถึง 31 ธ.ค.2548 YN ก่อน 6 ก.ย.44 พรฎ. (ฉ.387) หลัง 31 ธ.ค.48 เสีย CIT ในอัตรา 20% NP เป็นเวลา 5 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มใน หรือหลังวันที่จด ทะเบียน MAI เสีย CIT ในอัตรา 25% NP เป็นเวลา 5 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มใน หรือหลังวันที่จด ทะเบียน SET * MAI ถือเป็นกิจการ SMEs ประเภทหนึ่ง
72 MAI * พรฎ. (ฉ.467) พรฎ. (ฉ.467) บริษัทจดทะเบียน (Listed Co.) ยื่นคำขอจดทะเบียนระหว่าง 1 ม.ค – 31 ธ.ค SET SET พรฎ. (ฉ.467) ทั้ง MAI และ SET ไม่ได้รับการลดอัตรา CIT ยังคงเสียใน อัตรา 30% NP เป็น Listed Co ระหว่าง 1 ม.ค ถึง 31 ธ.ค YN ก่อน 1 ม.ค พรฎ. (ฉ. 475) หลัง 31 ธ.ค พรฎ. (ฉ. 467) เสีย CIT ในอัตรา 20% NP เป็นเวลา 3 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มใน หรือหลังวันที่จด ทะเบียน MAI เสีย CIT ในอัตรา 25% NP เป็นเวลา 3 ปีตั้งแต่รอบระยะ เวลาบัญชีที่เริ่มใน หรือหลังวันที่จด ทะเบียน SET CIT อัตรา 25% NP - SET 300 ล้านบาท แรก และ - MAI 20 ล้านบาทแรก เป็น เวลา 3 ปีตั้งแต่รอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่ม ในหรือหลัง 1 ม.ค ดูสิทธิประโยชน์ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 387) พ.ศ. 2544
73 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 284) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้ของบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล ดังนี้ (มาตรา 3) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้ของบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล ดังนี้ (มาตรา 3) (1) กำไรสุทธิที่ได้จากกิจการโรงเรียนเอกชนที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วย โรงเรียนเอกชนหรือกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ตั้งขึ้นตาม กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แต่ไม่รวมถึงรายได้จากการ ขายของ การรับจ้างทำของหรือการให้บริการอื่นใดที่ได้รับจากผู้ซึ่งมิใช่ นักเรียนหรือนักศึกษาของโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ดังกล่าว (1) กำไรสุทธิที่ได้จากกิจการโรงเรียนเอกชนที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายว่าด้วย โรงเรียนเอกชนหรือกิจการสถาบันอุดมศึกษาเอกชนที่ตั้งขึ้นตาม กฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน แต่ไม่รวมถึงรายได้จากการ ขายของ การรับจ้างทำของหรือการให้บริการอื่นใดที่ได้รับจากผู้ซึ่งมิใช่ นักเรียนหรือนักศึกษาของโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ดังกล่าว (2) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลที่ประกอบกิจการตาม (1) ทั้งนี้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลตามวรรคหนึ่ง จะต้องมิได้ประกอบกิจการอื่นนอกจากกิจการ โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนหรือกิจการ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน (2) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคลที่ประกอบกิจการตาม (1) ทั้งนี้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลตามวรรคหนึ่ง จะต้องมิได้ประกอบกิจการอื่นนอกจากกิจการ โรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยโรงเรียนเอกชนหรือกิจการ สถาบันอุดมศึกษาเอกชนตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน
74 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 284) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้ของบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล ดังนี้ (มาตรา 4) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้ของบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล ดังนี้ (มาตรา 4) (1) กำไรสุทธิที่ได้จากกิจการสถานฝึกอบรมเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานของ ลูกจ้างของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นหรือของบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลในเครือเดียวกัน (กิจการ In-house Training) (2) เงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้จากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติ บุคคลที่ประกอบกิจการตาม (1) ทั้งนี้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลดังกล่าว จะต้องมิได้ประกอบ กิจการอื่นนอกจากกิจการสถานฝึกอบรมเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงาน ทั้งนี้ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลดังกล่าว จะต้องมิได้ประกอบ กิจการอื่นนอกจากกิจการสถานฝึกอบรมเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงาน
75 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 314) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้จากการขนส่งสินค้าทางทะเล ระหว่างประเทศ ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ไทย โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (มาตรา 3) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้จากการขนส่งสินค้าทางทะเล ระหว่างประเทศ ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมาย ไทย โดยมีเงื่อนไขดังต่อไปนี้ (มาตรา 3) ต้องใช้เรือที่จดทะเบียนเป็นเรือไทยตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทยในการ ขนส่งสินค้าดังกล่าว ต้องใช้เรือที่จดทะเบียนเป็นเรือไทยตามกฎหมายว่าด้วยเรือไทยในการ ขนส่งสินค้าดังกล่าว ต้องมีคนประจำเรือที่มีสัญชาติไทยในอัตราส่วนที่กำหนดไว้ตาม กฎหมายว่าด้วยเรือไทย ต้องมีคนประจำเรือที่มีสัญชาติไทยในอัตราส่วนที่กำหนดไว้ตาม กฎหมายว่าด้วยเรือไทย การคำนวณกำไรสุทธิเพื่อประโยชน์ในการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคล ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดี กรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 72)) การคำนวณกำไรสุทธิเพื่อประโยชน์ในการได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคล ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดี กรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 72)) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้ พึงประเมินที่เป็นเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้ จากบริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 3 ให้แก่ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา และภาษีเงินได้นิติบุคคล สำหรับเงินได้ พึงประเมินที่เป็นเงินปันผลหรือเงินส่วนแบ่งของกำไรที่ได้ จากบริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 3 ให้แก่ บุคคลธรรมดาซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย บุคคลธรรมดาซึ่งเป็นผู้อยู่ในประเทศไทย บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (มาตรา 4) บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย (มาตรา 4)
76 การยกเว้นรายได้ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 10) แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 442) พ.ศ มาตรา 5 วีสติ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทจำกัดหรือ บริษัทมหาชนจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย สำหรับเงินปันผลซึ่งได้รับจาก บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (Venture Capital: VC) มาตรา 5 วีสติ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทจำกัดหรือ บริษัทมหาชนจำกัดที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย สำหรับเงินปันผลซึ่งได้รับจาก บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไข ดังต่อไปนี้ (Venture Capital: VC) (1) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดต้องถือหุ้นในบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดที่มี สิทธิออกเสียงในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น เป็นระยะเวลาไม่น้อย กว่า 6 เดือนนับแต่วันที่ได้หุ้นนั้นมาจนถึงวันที่ได้รับเงินปันผล และ (1) บริษัทจำกัดหรือบริษัทมหาชนจำกัดต้องถือหุ้นในบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลไม่น้อยกว่าร้อยละ 25 ของหุ้นทั้งหมดที่มี สิทธิออกเสียงในบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น เป็นระยะเวลาไม่น้อย กว่า 6 เดือนนับแต่วันที่ได้หุ้นนั้นมาจนถึงวันที่ได้รับเงินปันผล และ (2) เงินปันผลต้องมาจากกำไรสุทธิที่มีการเสียภาษีในประเทศของ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผล โดยอัตราภาษีดังกล่าวต้องไม่ ต่ำกว่าร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิ ทั้งนี้ ไม่ว่าประเทศของบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลจะมีกฎหมายลดหรือยกเว้นภาษีสำหรับกำไร สุทธิให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นหรือไม่ก็ตาม (2) เงินปันผลต้องมาจากกำไรสุทธิที่มีการเสียภาษีในประเทศของ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผล โดยอัตราภาษีดังกล่าวต้องไม่ ต่ำกว่าร้อยละ 25 ของกำไรสุทธิ ทั้งนี้ ไม่ว่าประเทศของบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลผู้จ่ายเงินปันผลจะมีกฎหมายลดหรือยกเว้นภาษีสำหรับกำไร สุทธิให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นหรือไม่ก็ตาม
77 บริษัทที่ตั้งขึ้น ตามกฎหมายไทย บริษัทหรือห้างฯ นิติ บุคคลต่างประเทศได้รับเงินปันผล/เงินส่วนแบ่งของกำไรจาก... ถือหุ้น/ เป็นหุ้นส่วนใน บริษัทหรือห้างฯ ผู้จ่ายปันผล ไม่น้อยกว่า 25% ไม่ได้รับยกเว้นภาษี เงินได้นิติบุคคล เป็นระยะเวลาไม่น้อยกว่า 6 เดือนนับแต่วันที่ได้หุ้นนั้นมา จนถึงวันที่ได้รับเงินปันผล Y N N Y ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตาม ม.5 วีสติ แห่งพรฎ. (ฉ.10) ใช้บังคับตั้งแต่ 24 พ.ย เป็นต้นไป เงินปันผลจากกำไรที่ได้เสียภาษีเงินได้นิติบุคคลแล้ว ไม่น้อยกว่า 25% ของ NP N Y
78 การวางแผนภาษีกิจการ Holding Co. สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร (ต่อ) สิทธิประโยชน์ทางภาษีอากร (ต่อ) ประหยัดค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ด้ายการ Take Over (ถือหุ้นแทนผู้ถือหุ้นเดิม) ประหยัดค่าใช้จ่ายในการโอนกรรมสิทธิ์ในอสังหาริมทรัพย์ด้ายการ Take Over (ถือหุ้นแทนผู้ถือหุ้นเดิม) กรณีบริษัท Holding Co. กู้ยืมเงินมาลงทุนในบริษัทในเครือ บริษัท Holding Co. มีสิทธินำดอกเบี้ยมาถือเป็นรายจ่ายได้ ซึ่งบริษัท Holding Co. ต้องหารายได้จากบริษัทในเครือมาชดเชยโดยการ ให้บริการต่างๆ อาทิ ค่าบริหารจัดการ ค่าที่ปรึกษา (ดูตัวอย่างตาม พรฎ. (ฉ.405) ประกอบ) แต่ต้องระวัง Transfer Price ตามมาตรา 65 ทวิ (4) และ ป. 113/2545 กรณีบริษัท Holding Co. กู้ยืมเงินมาลงทุนในบริษัทในเครือ บริษัท Holding Co. มีสิทธินำดอกเบี้ยมาถือเป็นรายจ่ายได้ ซึ่งบริษัท Holding Co. ต้องหารายได้จากบริษัทในเครือมาชดเชยโดยการ ให้บริการต่างๆ อาทิ ค่าบริหารจัดการ ค่าที่ปรึกษา (ดูตัวอย่างตาม พรฎ. (ฉ.405) ประกอบ) แต่ต้องระวัง Transfer Price ตามมาตรา 65 ทวิ (4) และ ป. 113/2545 เงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการร่วมค้า เงินส่วนแบ่งของกำไรจากกิจการร่วมค้า การประกอบกิจการ ROH (สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค) ตาม พรฎ. (ฉ.405) ได้สิทธิเสีย CIT ในอัตรา 10%NP การประกอบกิจการ ROH (สำนักงานปฏิบัติการภูมิภาค) ตาม พรฎ. (ฉ.405) ได้สิทธิเสีย CIT ในอัตรา 10%NP
79 การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกิจการบางประเภท (1) บริษัทหรือห้างฯนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของ ตปท. มิได้ ประกอบกิจการในประเทศไทยสำหรับ - ตามม. 70 วรรคสอง - ม.5 สัตต ม.5 อัฎฐ ม.5 เอกาทศ แห่งพรฎ. (ฉ.10) (2) กิจการฝึกอบรม In-house Training ตามพรฎ. (ฉ.284) (3) กิจการโรงเรียนเอกชนหรือสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ให้แก่ บริษัทหรือห้างฯ นิติบุคคลตามพรฎ. (ฉ.428) และมูลนิธิหรือ สมาคมตามม.5 นว แห่งพรฎ. (ฉ.10) (4) ผลประโยชน์ที่ได้จากการโอนกิจการตามม.5 สัตรส แห่งพรฎ. (ฉ.10) (5) กิจการที่ได้การส่งเสริมการลงทุน (BOI) ตามกฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมการลงทุน สรุปการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล
80 สรุปการยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับกิจการบางประเภท (ต่อ) (6) สำหรับเงินได้ที่เป็นค่าสินไหมทดแทน ซึ่งได้รับจากบริษัทประกันภัย เพื่อชดเชยความเสียหายที่เกิดขึ้นเนื่องจากธรณีพิบัติภัยเมื่อ 26 ธ.ค เฉพาะส่วนที่เกินมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินที่เหลือจากการหักค่า สึกหรอและค่าเสื่อมราคา ทั้งนี้ ตามพรฎ. (ฉ.443) (7) นิติบุคคลเฉพาะกิจเพื่อการแปลงสินทรัพย์เป็นหลักทรัพย์สำหรับเงินได้ จากการดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในโครงการแปลงสินทรัพย์เป็น หลักทรัพย์ ตามพรฎ. (ฉ.441) การยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลกรณีอื่น (1) Tax Credit กรณีจ่ายให้รัฐบาลต่างประเทศ ตามอนุสัญญาว่าด้วยการ เก็บภาษีซ้ำซ้อน ตามพรฎ. (ฉ.18) และพรฎ. (ฉ.300)
81 ประเภทรายจ่าย 1. รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน ( Capital Expenditure) ดูมาตรา 65 ตรี (5) ดูมาตรา 65 ตรี (5) ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สิน เฉพาะส่วนที่เกิดขึ้นก่อน วันที่ทรัพย์พร้อมใช้งานได้ตามประสงค์ ตามพรฎ. (ฉ.375) พ.ศ และประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 92) ลงวันที่ 16 มีนาคม 2544 ดอกเบี้ยเงินกู้ยืมเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สิน เฉพาะส่วนที่เกิดขึ้นก่อน วันที่ทรัพย์พร้อมใช้งานได้ตามประสงค์ ตามพรฎ. (ฉ.375) พ.ศ และประกาศอธิบดีเกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 92) ลงวันที่ 16 มีนาคม 2544 ดู TAS # 33 ต้นทุนดอกเบี้ยเงินกู้ยืม ดู TAS # 33 ต้นทุนดอกเบี้ยเงินกู้ยืม 2. รายจ่ายในการดำเนินงาน (Operating Expenditure) ได้แก่ รายจ่ายในการดำเนินกิจการ ในส่วนที่กฎหมายยอมให้ถือเป็น รายจ่ายได้ตามมาตรา 65 ประกอบมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี (Deductible Expenditure) ได้แก่ รายจ่ายในการดำเนินกิจการ ในส่วนที่กฎหมายยอมให้ถือเป็น รายจ่ายได้ตามมาตรา 65 ประกอบมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี (Deductible Expenditure) Cap. Exp
82 การรับรู้รายจ่าย ให้รับรู้รายจ่ายตามเกณฑ์สิทธิ (Accrual Basis) ไม่ว่าจะรับรู้ รายได้ตามเกณฑ์ใดก็ตาม ให้รับรู้รายจ่ายตามเกณฑ์สิทธิ (Accrual Basis) ไม่ว่าจะรับรู้ รายได้ตามเกณฑ์ใดก็ตาม รายจ่ายในการประกอบกิจการที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีปีใด ให้ ถือเป็นรายจ่ายของระยะเวลาบัญชีปีนั้นๆ ไม่ว่าจะได้จ่ายไปหรือไม่ก็ ตาม รายจ่ายในการประกอบกิจการที่เกิดขึ้นในรอบระยะเวลาบัญชีปีใด ให้ ถือเป็นรายจ่ายของระยะเวลาบัญชีปีนั้นๆ ไม่ว่าจะได้จ่ายไปหรือไม่ก็ ตาม โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายในการขายหรือบริหาร โดยเฉพาะค่าใช้จ่ายในการขายหรือบริหาร ในส่วนของต้นทุน ในส่วนของต้นทุน ให้รับรู้ตามหลักการจับคู่ของรายจ่ายกับรายได้ (Matching Principle) ภายใต้เกณฑ์สิทธิ ( เพลง “แต่ปางก่อน”) ให้รับรู้ตามหลักการจับคู่ของรายจ่ายกับรายได้ (Matching Principle) ภายใต้เกณฑ์สิทธิ ( เพลง “แต่ปางก่อน”) ต้องเป็นรายจ่ายทั้งสิ้นที่เกี่ยวกับรายได้ ต้องเป็นรายจ่ายทั้งสิ้นที่เกี่ยวกับรายได้ ต้องเป็นรายจ่ายทั้งสิ้นที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการประกอบกิจการที่ ก่อให้เกิดรายได้ (พระรถเสน - นางเมรี) ต้องเป็นรายจ่ายทั้งสิ้นที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการประกอบกิจการที่ ก่อให้เกิดรายได้ (พระรถเสน - นางเมรี)
83 รายจ่ายในการดำเนินงาน รายจ่ายในการดำเนินงานที่ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไร และขาดทุนสุทธิ ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ รายจ่ายในการดำเนินงานที่ถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไร และขาดทุนสุทธิ ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขดังต่อไปนี้ เป็นรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการประกอบกิจการ และ เป็นรายจ่ายที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการประกอบกิจการ และ เป็นรายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ และจ่ายไปโดยมี เหตุอันสมควร และ เป็นรายจ่ายเพื่อหากำไรหรือเพื่อกิจการโดยเฉพาะ และจ่ายไปโดยมี เหตุอันสมควร และ เป็นรายจ่ายที่มีลักษณะสิ้นเปลืองหมดไป ไม่ก่อให้เกิดกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สิน หรือสิทธิใดๆ ซึ่งมีอายุการใช้งานเกินกว่า 1 รอบระยะเวลา บัญชี หรือเป็นรายจ่ายในการซ่อมแซมทรัพย์สินให้คงสภาพเดิม และ เป็นรายจ่ายที่มีลักษณะสิ้นเปลืองหมดไป ไม่ก่อให้เกิดกรรมสิทธิ์ใน ทรัพย์สิน หรือสิทธิใดๆ ซึ่งมีอายุการใช้งานเกินกว่า 1 รอบระยะเวลา บัญชี หรือเป็นรายจ่ายในการซ่อมแซมทรัพย์สินให้คงสภาพเดิม และ เป็นรายจ่ายที่มีหลักฐานการจ่าย ซึ่งสามารถพิสูจน์ผู้รับได้ และ เป็นรายจ่ายที่มีหลักฐานการจ่าย ซึ่งสามารถพิสูจน์ผู้รับได้ และ เป็นรายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับการหารายได้ และเกิดขึ้นในรอบระยะเวลา บัญชีปีใด ให้ถือเป็นรายจ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีปีนั้น และ เป็นรายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับการหารายได้ และเกิดขึ้นในรอบระยะเวลา บัญชีปีใด ให้ถือเป็นรายจ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีปีนั้น และ ไม่เข้าลักษณะเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร ไม่เข้าลักษณะเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ทวิ และมาตรา 65 ตรี แห่งประมวลรัษฎากร
84 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) ค่าเสื่อมสิ้นไป (Depletion) ค่าเสื่อมสิ้นไป (Depletion) การตัดจำหน่าย (Amortize) การตัดจำหน่าย (Amortize) ค่าสึกหรอ (Wear and Tear) ค่าสึกหรอ (Wear and Tear)
85 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน มาตรา 65 ทวิ (2) มาตรา 65 ทวิ (2) ดู พระราชกฤษฎีกาฯ. (ฉบับที่ 145) พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 395) พ.ศ ดู พระราชกฤษฎีกาฯ. (ฉบับที่ 145) พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติมโดย (ฉบับที่ 395) พ.ศ คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 3/2527 และ คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 3/2527 และ พระราชกฤษฎาฯ (ฉบับที่ 385) พ.ศ พระราชกฤษฎาฯ (ฉบับที่ 385) พ.ศ ในรอบระยะเวลาบัญชีแรกที่ได้ทรัพย์สินนั้นมา 1.1 ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามส่วนเฉลี่ยแห่งระยะ เวลาการได้ ทรัพย์สิน (เป็นรายวัน – ป. 3/2527) 1.2 มีสิทธิเลือกใช้วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไป และอัตรา ในการหักค่า สึกหรอและค่าเสื่อมราคาอย่างไรก็ได้ แต่ให้ใช้วิธีการทางบัญชีและ อัตราดังกล่าวตลอดไป (Consistency) เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจาก อธิบดีกรมสรรพากรให้เปลี่ยนแปลง Wear & Tear and Depreciation
86 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน 1.3 สำหรับทรัพย์สินชนิดเดียวกันที่ได้มาใหม่ในภายหลัง จะเลือกใช้ วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไป และอัตรา ในการหักค่าสึกหรอและค่า เสื่อมราคาแตกต่างไปจากวิธีการและอัตราเดิมก็ได้ โดยไม่ต้องขอ อนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร 2. วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไปในการคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อม ราคา ได้แก่ 2.1 วิธีเส้นตรง (Straight Line Method) ต้องไม่เกินอัตราที่กำหนดใน มาตรา 4 แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 145) พ.ศ อัตรา % ของ(ต้นทุน – ค่าซาก) คงที่ตลอดอายุการใช้งาน - (ต้นทุน – ค่าซาก) / จำนวนปีอายุการใช้งาน = ค่าเสื่อมราคา - 100/อัตรา% = จำนวนปีอายุการใช้งาน - 100/ จำนวนปีอายุการใช้งาน = อัตรา% - ร้อยละร้อย หมายความว่า หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาได้ทั้ง จำนวนในรอบระยะเวลา 12 เดือนแรกของการได้มาซึ่งทรัพย์สินนั้น
87 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน 2. วิธีการทางบัญชีที่รับรองทั่วไปในการคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อม ราคา (ต่อ) 2.2 วิธีอื่น ซึ่งจำนวนปีที่ใช้ต้องไม่น้อยกว่า 100 หารด้วยอัตราค่าสึกหรอ และค่าเสื่อมราคาตามวิธีเส้นตรง อาทิ วิธียอดลดลง (Declining Method) Sum of the Years’ Digit Method (วิธีผลรวมจำนวนปีอายุการ ใช้งานของทรัพย์สิน) Sum of the Years’ Digit Method (วิธีผลรวมจำนวนปีอายุการ ใช้งานของทรัพย์สิน) Declining Balance Method (วิธียอดคงเหลือลดลง) Double Declining Balance Method หรือวิธียอดคงเหลือ ลดลงทวีคูณ (อัตราการหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาในปีแรก เป็นสองเท่าของอัตราตามวิธีเส้นตรงและสำหรับปีถัดไป ให้หัก ตามอัตราสองเท่าดังกล่าวโดยคำนวณจากมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือ ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี) ให้ใช้กับทรัพย์สินทุกประเภท เว้นแต่ รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน (ตั้งแต่ 23 ตุลาคม 2542 เป็นต้นมา)
88 Sum of The Years’ Digit Method วิธีผลรวมจำนวนปีอายุการใช้งาน ปีที่ อายุการ ใช้งาน อัตราค่าเสื่อม ราคา อัตรา % อัตรา% ตามวิธี ยอดคงเหลือ ลดลงทวีคูณ ผลต่าง 155/ %40%(6.67%) 244/ %24%2.67% 333/ % 14.4% 5.6% 422/ %8.64%4.69% 511/156.67%5.18%1.49% ผลราม1515/15(1/1)100.00%92.22%7.78%
89 Double Declining Balance Method วิธียอดคงเหลือลดลงทวีคูณ นำอัตราค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามวิธีเส้นตรง (Straight Line Method) มาคูณด้วย 2 นำอัตราค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามวิธีเส้นตรง (Straight Line Method) มาคูณด้วย 2 นำอัตราที่คำนวณได้ถือเป็นอัตราคงที่เพื่อนำไปคำนวณค่าสึกหรอและ ค่าเสื่อมราคา นำอัตราที่คำนวณได้ถือเป็นอัตราคงที่เพื่อนำไปคำนวณค่าสึกหรอและ ค่าเสื่อมราคา นำค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาไปหักออกจากมูลค่าต้นทุนหรือต้นทุน คงเหลือ เพื่อคำนวณค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของรอบระยะเวลา บัญชีปีต่อๆ ไป เช่น นำค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาไปหักออกจากมูลค่าต้นทุนหรือต้นทุน คงเหลือ เพื่อคำนวณค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของรอบระยะเวลา บัญชีปีต่อๆ ไป เช่น ปีที่ 1 (100 x 40%) = 40.00% (ต้นทุนคงเหลือ 60) ปีที่ 1 (100 x 40%) = 40.00% (ต้นทุนคงเหลือ 60) ปีที่ 2 ( 60 x 40%)= 24.00%(ต้นทุนคงเหลือ 36) ปีที่ 2 ( 60 x 40%)= 24.00%(ต้นทุนคงเหลือ 36) ปีที่ 3 ( 36 x 40%)= 14.40%(ต้นทุนคงเหลือ 21.6) ปีที่ 3 ( 36 x 40%)= 14.40%(ต้นทุนคงเหลือ 21.6) ปีที่ 4 (21.6 x 40%)= 8.64%(ต้นทุนคงเหลือ 12.96) ปีที่ 4 (21.6 x 40%)= 8.64%(ต้นทุนคงเหลือ 12.96) ปีที่ 5 = 12.96% ปีที่ 5 = 12.96% รวมเป็น %
90 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามวิธียอดคงเหลือลดลง Declining Balance Method อัตราค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา อัตราค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา = Salvage = Salvage Cost Cost = = 16.75% n = จำนวนปีอายุการใช้งาน (5 ปี) n = จำนวนปีอายุการใช้งาน (5 ปี) Salvage = ค่าซาก ($ 400) Salvage = ค่าซาก ($ 400) Cost = ต้นทุน ($ 1,000) Cost = ต้นทุน ($ 1,000) n $ 400 $ 1.000
91 ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา การให้ผลตอบแทน Straight Line Method ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาตามวิธี Declining Method อาทิ Sum of the Years ’ Digit Method Declining Balance Method Double Declining Balance Method Declining Method ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา Progressive กรณีที่สมควรเลือกปฏิบัติ การให้ผลตอบแทน
92 การให้ผลตอบแทน ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา กรณีที่สมควรเลือกปฏิบัติ การให้ผลตอบแทน ค่าซ่อมแซมบำรุงรักษา Declining Method Straight Line Method
93 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน 2.3 การหักค่าสึกหรือและค่าเสื่อมราคาวิธีพิเศษเพื่อจูงใจให้มีการใช้ ทรัพย์สิน (Incentive) ได้แก่ วิธี Initial Depreciation หมายถึง วิธี ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่รับทรัพย์สินนั้นมา ตามที่ กม. กำหนด สำหรับมูลค่าส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติสองวิธี ข้างต้น ทรัพย์สินที่หักค่าเสื่อมราคาตามวิธี Initial Depreciation ได้แก่ (1) เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำวิจัยและพัฒนา (R&D) ให้หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธี ปกติ 5 ปี (มาตรา 4 ทวิ แห่ง พรฎ. (ฉ.145)) (1) เครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำวิจัยและพัฒนา (R&D) ให้หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธี ปกติ 5 ปี (มาตรา 4 ทวิ แห่ง พรฎ. (ฉ.145)) (2) เครื่อง Cash Register เพื่อการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ Tax Invoice (Abb.) ให้หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่ เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 5 ปี หรือจะเลือกหัก 100% ใน ระยะเวลา 12 เดือนแรก (มาตรา 4 ตรี แห่ง พรฎ. (ฉ.145)) (2) เครื่อง Cash Register เพื่อการออกใบกำกับภาษีอย่างย่อ Tax Invoice (Abb.) ให้หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่ เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 5 ปี หรือจะเลือกหัก 100% ใน ระยะเวลา 12 เดือนแรก (มาตรา 4 ตรี แห่ง พรฎ. (ฉ.145))
94 R&D Machines & Equipments เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด Y N เลือกหักค่าเสื่อมราคา 2 วิธี 1. วิธีปกติ 5 ปี 2. Initial Method 40% เฉพาะวิธีปกติวิธีเดียว 5 ปี
95 Cash Register ได้รับอนุมัติให้ออก Abb. Tax Inv. Y N เลือกหักค่าเสื่อมราคา 3 วิธี 1. วิธีปกติ 5 ปี 2. Initial Method 40% % within 12 m. เฉพาะวิธีปกติวิธีเดียว 5 ปี
96 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน (5) (3) เครื่อง Computer ส่วนที่เป็น Hardware และอุปกรณ์ต่อเชื่อม (3) เครื่อง Computer ส่วนที่เป็น Hardware และอุปกรณ์ต่อเชื่อม สำหรับบริษัท/ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไป ให้หักค่าสึกหรอและ ค่าเสื่อมราคาตามวิธีปกติ 3 ปี สำหรับ SMEs* ให้หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่ เหลือ ให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 3 ปี ทั้งนี้ ตั้งแต่ 31 ม.ค – 6 ส.ค (มาตรา 4 จัตวา) ทั้งนี้ ตั้งแต่ 31 ม.ค – 6 ส.ค (มาตรา 4 จัตวา) (4) อาคารโรงงาน (Plant) เฉพาะ SMEs* ให้ หัก Initial 25% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 20 ปี ทั้งนี้ ตั้งแต่ 31 ม.ค เป็นต้นไป (มาตรา 4 จัตวา) ทั้งนี้ ตั้งแต่ 31 ม.ค เป็นต้นไป (มาตรา 4 จัตวา) (5) เครื่องจักร (Machinery) เฉพาะ SMEs* ให้ หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 5 ปี (5) เครื่องจักร (Machinery) เฉพาะ SMEs* ให้ หัก Initial 40% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้คำนวณหักตามวิธีปกติ 5 ปี ทั้งนี้ ตั้งแต่ 31 ม.ค เป็นต้นไป (มาตรา 4 ฉ) ทั้งนี้ ตั้งแต่ 31 ม.ค เป็นต้นไป (มาตรา 4 ฉ) * SMEs หมายถึง บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่ตั้งขึ้นตาม กม. ไทย และมีการจ้างงานไม่เกิน 200 คน และมีทรัพย์สินรวม (ไม่ รวมที่ดิน) ไม่เกิน 200 ล้านบาท
97 Computer & Software Plant and Machinery SMEs: Not over 200 Employees & 200 M. of Assets & 200 M. of Assets Y N คอมพิวเตอร์ + ซอฟต์แวร์ เลือกหักได้ 2 วิธี 1. วิธีปกติ 2. Initial Method 40% + 3 ปี 40% + 3 ปี เฉพาะวิธีปกติวิธีเดียว เลือกหักค่าเสื่อมราคา โรงงาน เลือกหักได้ 2 วิธี 1. วิธีปกติ 2. Initial Method 25% + 20 ปี 25% + 20 ปีเครื่องจักร เลือกหักได้ 2 วิธี 1. วิธีปกติ 2. Initial Method 40% + 5 ปี 40% + 5 ปี (Excluded Land) ตั้งแต่ 7 ส.ค เป็นต้นไป ตั้งแต่ 31 ม.ค เป็นต้นไป
98 ทรัพย์สินประเภทคอมพิวเตอร์ ตั้งแต่ 7 สิงหาคม 2551 เป็นต้นไป หมายความว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่ เสมือนสมองกลใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ตลอดจนอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ อัน ได้แก่ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องช่วยหรือเครื่องประกอบกับ คอมพิวเตอร์ รวมทั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ หมายความว่า เครื่องอิเล็กทรอนิกส์แบบอัตโนมัติ ทำหน้าที่ เสมือนสมองกลใช้สำหรับแก้ปัญหาต่างๆ ทั้งที่ง่ายและซับซ้อน โดยวิธีทางคณิตศาสตร์ตลอดจนอุปกรณ์ของคอมพิวเตอร์ อัน ได้แก่ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องช่วยหรือเครื่องประกอบกับ คอมพิวเตอร์ รวมทั้งโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์ ใช้งานได้ตามวัตถุประสงค์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมา พร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมที่ติดตั้งเพิ่มเติมภายหลัง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ดังกล่าว ไม่ว่าจะเป็นโปรแกรมที่ติดตั้งมา พร้อมกับเครื่องคอมพิวเตอร์ หรือโปรแกรมที่ติดตั้งเพิ่มเติมภายหลัง เพิ่มเติมโดย พรฎ. (ฉบับที่ 473) พ.ศ เพิ่มเติมโดย พรฎ. (ฉบับที่ 473) พ.ศ. 2551
99 มาตรา 4 สัตต การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท อาคารถาวรที่บริษัทที่เป็นสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคซื้อหรือได้รับโอน กรรมสิทธิ์เพื่อมีไว้ในการประกอบกิจการของตนเอง ให้หักค่าสึกหรอและ ค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อยละยี่สิบห้าของ มูลค่าต้นทุน สำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไขและอัตราที่ กำหนดไว้ในมาตรา 4 ทั้งนี้ เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2545 เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ให้นำบทนิยามคำว่า “สำนักงาน ปฏิบัติการภูมิภาค” และ “การให้บริการสนับสนุน” ตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 405) พ.ศ มาใช้บังคับ มาตรา 4 สัตต การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท อาคารถาวรที่บริษัทที่เป็นสำนักงานปฏิบัติการภูมิภาคซื้อหรือได้รับโอน กรรมสิทธิ์เพื่อมีไว้ในการประกอบกิจการของตนเอง ให้หักค่าสึกหรอและ ค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อยละยี่สิบห้าของ มูลค่าต้นทุน สำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไขและอัตราที่ กำหนดไว้ในมาตรา 4 ทั้งนี้ เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2545 เพื่อประโยชน์แห่งมาตรานี้ ให้นำบทนิยามคำว่า “สำนักงาน ปฏิบัติการภูมิภาค” และ “การให้บริการสนับสนุน” ตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 405) พ.ศ มาใช้บังคับ แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 406) พ.ศ ใช้บังคับ 16 สิงหาคม 2545 เป็นต้นไป แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 406) พ.ศ ใช้บังคับ 16 สิงหาคม 2545 เป็นต้นไป ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
100 มาตรา 4 อัฏฐ การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท เครื่องจักรและอุปกรณ์ของเครื่องจักรที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซื้อ หรือได้รับโอนกรรมสิทธิ์เพื่อมีไว้ในการประกอบกิจการของตนเอง ให้หัก ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อย ละสี่สิบของมูลค่าต้นทุน สำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไข และอัตราที่กำหนดไว้ในมาตรา 4 ทั้งนี้ เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาและอยู่ใน สภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ตั้งแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้มีผลใช้ บังคับจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 มาตรา 4 อัฏฐ การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท เครื่องจักรและอุปกรณ์ของเครื่องจักรที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซื้อ หรือได้รับโอนกรรมสิทธิ์เพื่อมีไว้ในการประกอบกิจการของตนเอง ให้หัก ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อย ละสี่สิบของมูลค่าต้นทุน สำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไข และอัตราที่กำหนดไว้ในมาตรา 4 ทั้งนี้ เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาและอยู่ใน สภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามประสงค์ตั้งแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้มีผลใช้ บังคับจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของ ทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง จะต้องไม่ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 3 (1) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการ ยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 460) พ.ศ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของ ทรัพย์สินตามวรรคหนึ่ง จะต้องไม่ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 3 (1) แห่งพระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการ ยกเว้นรัษฎากร (ฉบับที่ 460) พ.ศ แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรฎ. (ฉบับที่ 473) พ.ศ ใช้บังคับตั้งแต่ 7 ส.ค เป็นต้นไป แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรฎ. (ฉบับที่ 473) พ.ศ ใช้บังคับตั้งแต่ 7 ส.ค เป็นต้นไป ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
101 มาตรา 4 นว การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท ทรัพย์สินอย่างอื่นตามมาตรา 4 (5) ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มี ทรัพย์สินถาวร ซึ่งไม่รวมที่ดินไม่เกินสองร้อยล้านบาทและมีการจ้าง แรงงานไม่เกินสองร้อยคน ซื้อหรือได้รับโอนกรรมสิทธิ์เพื่อมีไว้ในการ ประกอบกิจการของตนเอง ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาในอัตราร้อย ละหนึ่งร้อยของมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างรอบระยะเวลา บัญชีซึ่งมีมูลค่ารวมกันไม่เกิน 500,000 บาทตามเงื่อนไขที่กำหนดใน มาตรา 4 ทั้งนี้ เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาและอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตาม ประสงค์ตั้งแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้มีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 มาตรา 4 นว การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท ทรัพย์สินอย่างอื่นตามมาตรา 4 (5) ที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลที่มี ทรัพย์สินถาวร ซึ่งไม่รวมที่ดินไม่เกินสองร้อยล้านบาทและมีการจ้าง แรงงานไม่เกินสองร้อยคน ซื้อหรือได้รับโอนกรรมสิทธิ์เพื่อมีไว้ในการ ประกอบกิจการของตนเอง ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาในอัตราร้อย ละหนึ่งร้อยของมูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินที่ได้มาในระหว่างรอบระยะเวลา บัญชีซึ่งมีมูลค่ารวมกันไม่เกิน 500,000 บาทตามเงื่อนไขที่กำหนดใน มาตรา 4 ทั้งนี้ เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาและอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตาม ประสงค์ตั้งแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้มีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรฎ. (ฉบับที่ 473) พ.ศ ใช้บังคับตั้งแต่ 7 ส.ค เป็นต้นไป แก้ไขเพิ่มเติมโดย พรฎ. (ฉบับที่ 473) พ.ศ ใช้บังคับตั้งแต่ 7 ส.ค เป็นต้นไป ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
102 มาตรา 4 ทศ การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท ทรัพย์สินอย่างอื่นตามมาตรา 4 (5) แต่ไม่รวมถึงยานพาหนะที่บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งเป็นผู้ประกอบอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกฎหมาย ว่าด้วยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยซื้อหรือได้รับโอนกรรมสิทธิ์เพื่อมีไว้ ใช้ในการประกอบกิจการของตนเอง ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา เบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อยละหกสิบของมูลค่าต้นทุน สำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไขและอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 4 มาตรา 4 ทศ การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินประเภท ทรัพย์สินอย่างอื่นตามมาตรา 4 (5) แต่ไม่รวมถึงยานพาหนะที่บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซึ่งเป็นผู้ประกอบอุตสาหกรรมท่องเที่ยวตามกฎหมาย ว่าด้วยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยซื้อหรือได้รับโอนกรรมสิทธิ์เพื่อมีไว้ ใช้ในการประกอบกิจการของตนเอง ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคา เบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมาในอัตราร้อยละหกสิบของมูลค่าต้นทุน สำหรับมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือให้หักตามเงื่อนไขและอัตราที่กำหนดไว้ใน มาตรา 4 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 505) พ.ศ ใช้บังคับ กับทรัพย์สินที่ได้มาและอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ตั้งแต่ วันที่พระราชกฤษฎีกานี้มีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 505) พ.ศ ใช้บังคับ กับทรัพย์สินที่ได้มาและอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ตั้งแต่ วันที่พระราชกฤษฎีกานี้มีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
103 มาตรา 4 ทศ (ต่อ) ทั้งนี้ ทรัพย์สินนั้นต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ มาตรา 4 ทศ (ต่อ) ทั้งนี้ ทรัพย์สินนั้นต้องไม่มีลักษณะต้องห้าม ดังต่อไปนี้ (1) เป็นทรัพย์สินที่ได้รับสิทธิประโยชน์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาขอรับ สิทธิประโยชน์สนับสนุนจากส่วนราชการ ไม่ว่าโดยทางตรงหรือ ทางอ้อม เพื่อการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงาน (2) เป็นทรัพย์สินที่นำไปใช้ในกิจการที่ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลตามกฎหมาย BOI ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน (3) เป็นทรัพย์สินที่เกิดจากรายจ่ายซึ่งได้จ่ายไปเป็นค่าจ้างเพื่อทำการวิจัย และพัฒนาเทคโนโลยีให้แก่หน่วยงานของรัฐหรือเอกชนตามพระราช กฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 297) พ.ศ (4) เป็นทรัพย์สินที่เกิดจากรายจ่ายตามมาตรา 65 ตรี (5) และได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้ตามมาตรา 3 (1) แห่งพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 460) พ.ศ ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน
104 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน (6) (6) สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไปที่ได้อาคาร โรงเรือน เพื่อใช้ในการประกอบกิจการ ระหว่าง 6 ก.ย ถึง 5 ก.ย (1 ปี) ให้ หัก Initial 20% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้ คำนวณหัก 20 ปี (พรฎ. (ฉบับที่ 385)) (6) สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไปที่ได้อาคาร โรงเรือน เพื่อใช้ในการประกอบกิจการ ระหว่าง 6 ก.ย ถึง 5 ก.ย (1 ปี) ให้ หัก Initial 20% ของมูลค่าต้นทุน ส่วนที่เหลือให้ คำนวณหัก 20 ปี (พรฎ. (ฉบับที่ 385)) รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ให้คำนวณหักค่าสึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุน เฉพาะส่วนที่ไม่ เกิน 1 ล้านบาท “เว้นแต่เป็นทรัพย์สินซึ่งมีไว้ใช้ในกิจการให้เช่ารถยนต์ ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนทั้งหมด ทั้งนี้ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องไม่นำทรัพย์สินดังกล่าวไปใช้ในกิจการ อื่น ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน” ให้คำนวณหักค่าสึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุน เฉพาะส่วนที่ไม่ เกิน 1 ล้านบาท “เว้นแต่เป็นทรัพย์สินซึ่งมีไว้ใช้ในกิจการให้เช่ารถยนต์ ให้หักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนทั้งหมด ทั้งนี้ บริษัท หรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลจะต้องไม่นำทรัพย์สินดังกล่าวไปใช้ในกิจการ อื่น ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน” มาตรา 5 แห่งพรฎ. (ฉบับที่ 145) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 505) พ.ศ ใช้บังคับ 14 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป ทั้งนี้ ความเดิมยังคงให้ใช้บังคับต่อไป เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาระหว่าง 1 มกราคม 2532 ถึง 13 ตุลาคม 2553 มาตรา 5 แห่งพรฎ. (ฉบับที่ 145) แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 505) พ.ศ ใช้บังคับ 14 ตุลาคม 2553 เป็นต้นไป ทั้งนี้ ความเดิมยังคงให้ใช้บังคับต่อไป เฉพาะทรัพย์สินที่ได้มาระหว่าง 1 มกราคม 2532 ถึง 13 ตุลาคม 2553
105 ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สิน (6) ทรัพย์สินที่ได้มาโดยการเช่าซื้อหรือซื้อขายเงินผ่อน ทรัพย์สินที่ได้มาโดยการเช่าซื้อหรือซื้อขายเงินผ่อน ให้คำนวณหักค่าสึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนที่พึงชำระ ทั้งหมด แต่ค่าสึกหรอและเลื่อมราคาละสมจนถึงรอบระยะเวลาบัญชีปี ปัจจุบันต้องไม่เกินค่าเช่าซื้อที่ได้ผ่อนชำระไปแล้วทั้งสิ้น (มาตรา 7) ให้คำนวณหักค่าสึกหรอและเลื่อมราคาจากมูลค่าต้นทุนที่พึงชำระ ทั้งหมด แต่ค่าสึกหรอและเลื่อมราคาละสมจนถึงรอบระยะเวลาบัญชีปี ปัจจุบันต้องไม่เกินค่าเช่าซื้อที่ได้ผ่อนชำระไปแล้วทั้งสิ้น (มาตรา 7) การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินจะหักจนหมด มูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินนั้นไม่ได้ (เหลือไว้อย่างน้อย 1 บาท) (มาตรา 8) การหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาทรัพย์สินจะหักจนหมด มูลค่าต้นทุนของทรัพย์สินนั้นไม่ได้ (เหลือไว้อย่างน้อย 1 บาท) (มาตรา 8)
106 Tax Planning: Depreciation การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนดทั้ง ในทางบัญชี และภาษีอากร การปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไข และอัตราที่กำหนดทั้ง ในทางบัญชี และภาษีอากร รถยนต์นั่ง รถยนต์นั่ง การเช่าซื้อทรัพย์สิน การเช่าซื้อทรัพย์สิน ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมา (Initial) ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาเบื้องต้นในวันที่ได้ทรัพย์สินนั้นมา (Initial) ความแตกต่างทางบัญชีกับทางภาษีอากร – Deferred Tax ความแตกต่างทางบัญชีกับทางภาษีอากร – Deferred Tax วิธีการได้มาซึ่งทรัพย์สิน โดยการเลือกใช้วิธีอื่นแทนการซื้อ ทรัพย์สิน เช่น การเช่า การเช่าซื้อ Leasing วิธีการได้มาซึ่งทรัพย์สิน โดยการเลือกใช้วิธีอื่นแทนการซื้อ ทรัพย์สิน เช่น การเช่า การเช่าซื้อ Leasing การพิจารณาผลการประกอบกิจการ การพิจารณาผลการประกอบกิจการ ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคากับรายจ่ายในการวิจัยและพัฒนา ค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคากับรายจ่ายในการวิจัยและพัฒนา เลือกวิธีหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาที่สัมพันธ์กับค่าซ่อมบำรุง เพื่อให้ค่าใช้ทรัพย์สินคงที่ตลอดอายุการใช้ทรัพย์สินนั้น เลือกวิธีหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาที่สัมพันธ์กับค่าซ่อมบำรุง เพื่อให้ค่าใช้ทรัพย์สินคงที่ตลอดอายุการใช้ทรัพย์สินนั้น ให้รับรู้กำไร / ขาดทุนจากวัดมูลค่า ด้วยมูลค่ายุติธรรมเป็นรายได้ / ค่าใช้จ่ายในกำไรขาดทุน
107 ปัญหาอัตราแลกเปลี่ยนตามประมวลรัษฎากร มีทั้งกฎหมายพิเศษตามมาตรา 65 ทวิ (CIT) และมาตรา 79/4 (VAT) กับกฎหมายทั่วไปตามมาตรา 9 มีทั้งกฎหมายพิเศษตามมาตรา 65 ทวิ (CIT) และมาตรา 79/4 (VAT) กับกฎหมายทั่วไปตามมาตรา 9 หลักกฎหมายพิเศษย่อมใช้บังคับก่อนหรือยกเว้นกฎหมายทั่วไป หลักกฎหมายพิเศษย่อมใช้บังคับก่อนหรือยกเว้นกฎหมายทั่วไป กรมสรรพากรวางแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนตาม คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 132/2548 กรมสรรพากรวางแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยนตาม คำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 132/2548 เพื่ออำนวยให้เกิดความสะดวกในการปฏิบัติ จึงไม่คำนึงถึงหลักการ ตีความกรณีกฎหมายขัดกันดังกล่าว เพื่ออำนวยให้เกิดความสะดวกในการปฏิบัติ จึงไม่คำนึงถึงหลักการ ตีความกรณีกฎหมายขัดกันดังกล่าว สรุปหลักการใช้อัตราแลกเปลี่ยน สรุปหลักการใช้อัตราแลกเปลี่ยน กรณีได้รับหรือจ่ายเงินตราต่างประเทศ ให้คำนวณตามอัตรา แลกเปลี่ยนตามที่เกิดขึ้นจริง (Actual Rate) กรณีได้รับหรือจ่ายเงินตราต่างประเทศ ให้คำนวณตามอัตรา แลกเปลี่ยนตามที่เกิดขึ้นจริง (Actual Rate) กรณีการบันทึกรายการทางบัญชีเกี่ยวกับรายการเงินตราต่างประเทศที่ ยังไม่มีการรับหรือจ่ายเงินจริง ให้ใช้ตามอัตราอ้างอิงของธนาคาร พาณิชย์ หรือธนาคารแห่งประเทศไทย แล้วแต่กรณี โดยยึดถือตามหลัก ความสม่ำเสมอ (Consistency) กรณีการบันทึกรายการทางบัญชีเกี่ยวกับรายการเงินตราต่างประเทศที่ ยังไม่มีการรับหรือจ่ายเงินจริง ให้ใช้ตามอัตราอ้างอิงของธนาคาร พาณิชย์ หรือธนาคารแห่งประเทศไทย แล้วแต่กรณี โดยยึดถือตามหลัก ความสม่ำเสมอ (Consistency)
108 การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้ มาตรา 65 ทวิ (9) ดู กฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534) มาตรา 65 ทวิ (9) ดู กฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ. 2534) 1. หนี้สูญที่จะถือเป็นรายจ่ายทางภาษี ต้องเป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 โดยให้ถือเป็นรายจ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีที่เป็น ไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามกฎกระทรวงดังกล่าว 2. หนี้สูญที่ได้รับกลับคืนมา ให้นำมาถือเป็นรายได้ในรอบระยะ เวลาบัญชีปีที่ได้รับกลับคืน นั้น 3. หนี้สูญที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 ย่อมเข้าลักษณะเป็นรายจ่ายต้องห้าม ให้บวกกลับเป็นรายได้ในรอบ ระยะเวลาบัญชีที่จำหน่ายหนี้สูญนั้น ย่อมเข้าลักษณะเป็นรายจ่ายต้องห้าม ให้บวกกลับเป็นรายได้ในรอบ ระยะเวลาบัญชีที่จำหน่ายหนี้สูญนั้น หากภายหลังได้รับกลับคืนมา ก็ไม่ต้องนำ มาถือเป็นรายได้ทางภาษี อากรอีก หากภายหลังได้รับกลับคืนมา ก็ไม่ต้องนำ มาถือเป็นรายได้ทางภาษี อากรอีก
109 คุณลักษณะของลูกหนี้ที่จะนำมาจำหน่าย หนี้สูญทางภาษีอากร (1) ต้องเป็นหนี้จากการประกอบกิจการหรือเนื่องจากการประกอบ กิจการ หรือหนี้ที่ได้รวมเป็นเงินได้ในการคำนวณกำไรสุทธิ ทั้งนี้ ไม่รวมหนี้ที่ผู้เป็น หรือเคยเป็นกรรมการหรือหุ้นส่วน ผู้จัดการ เป็นลูกหนี้ ไม่ว่าหนี้นั้นจะเกิดขึ้นก่อนหรือในขณะที่ผู้ นั้นเป็นกรรมการหรือหุ้นส่วนผู้จัดการ (2) ต้องเป็นหนี้ที่ยังไม่ขาดอายุความและ (3) ต้องมีหลักฐานโดยชัดแจ้งที่สามารถฟ้องลูกหนี้ได้ (4) มีหลักฐานการติดตามทวงถามให้ชำระหนี้ตามสมควรแก่กรณี แล้วแต่ไม่ได้รับชำระหนี้
110 หนี้สูญ (Bad Debt) Account Payable : A/P Account Receivable : A/R เงื่อนไขในการจำหน่ายหนี้สูญ เป็นไปตามม. 65 ทวิ(9) หลักเกณฑ์ในการจำหน่ายหนี้สูญ เป็นไปตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 จำนวนหนี้ที่ได้รับการ ปลดหรือลดให้ = รายได้ ได้รับยกเว้น CIT ตามพรฎ. (ฉ.340) การฟื้นฟูกิจการของ ลูกหนี้ต่อศาลล้มละลายและ (ฉ.340) การฟื้นฟูกิจการของ ลูกหนี้ต่อศาลล้มละลายและ การปรับปรุงโครงสร้างหนี้ โดย พรฎ. (ฉ.325) (ฉ.360) (ฉ.399) (ฉ.410) ( ฉ.418) (ฉ.433)
111 ตารางสรุปการจำหน่ายหนี้สูญ วิธีการติดตามทวงถามลูกหนี้มีจำนวน ไม่เกิน 1 แสน* ลูกหนี้มีจำนวน ไม่เกิน 5 แสน ลูกหนี้มีจำนวน เกินกว่า 5 แสน 1. ทวงถาม ด้วยตนเอง ด้วยตนเอง 2. ฟ้องร้องใน คดีแพ่ง คดีแพ่งไม่ต้องดำเนินคดีหากมีหลักฐานการทวงถามตามสมควร แก่กรณีแล้ว แต่ไม่ ได้รับชำระหนี้ และ หากจะฟ้องต้องเสียค่าใช้จ่ายไม่คุ้มกับหนี้ที่จะได้รับชำระเมื่อศาลมีคำสั่งรับคำ ฟ้องแล้ว ให้กรรม การหรือหุ้นส่วนผู้จัดการมีคำสั่งอนุมัติให้จำหน่ายหนี้สูญ ภายใน 30 วันนับ แต่วันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี ต้องดำเนินคดีจน ถึงที่สุด โดยศาลมี คำสั่ง/ คำบังคับ แล้ว แต่ลูกหนี้ไม่ มีทรัพย์สินใดๆ ชำระหนี้ได้ ต้องดำเนินการจนถึงที่สุด โดยมีหลักฐานการติดตามทวง ถามอย่างชัดแจ้ง และไม่ได้รับชำระหนี้ โดยปรากฏว่า (1) ลูกหนี้ตาย/สาบสูญและไม่มีทรัพย์สินใดๆ จะชำระหนี้ได้ (2) ลูกหนี้เลิกกิจการ และเจ้าหนี้อื่นมีบุริมสิทธิเหนือ ทรัพย์สินของลูกหนี้
112 ตารางสรุปการจำหน่ายหนี้สูญ วิธีการติดตามทวงถามลูกหนี้มีจำนวน ไม่เกิน 1 แสน* ลูกหนี้มีจำนวน ไม่เกิน 5 แสน ลูกหนี้มีจำนวน เกินกว่า 5 แสน 3. ฟ้องร้องใน คดีล้มละลาย คดีล้มละลาย ไม่ต้องดำเนินคดีหากมีหลักฐานการทวงถามตามสมควรแก่กรณีแล้วแต่ไม่ ได้รับชำระหนี้ และ หากจะฟ้องต้องเสีย ค่าใช้ จ่ายไม่คุ้มกับ หนี้ที่จะได้รับชำระเมื่อศาลมีคำสั่งรับ คำฟ้องแล้วให้กรรม- การหรือหุ้นส่วนผู้จัด การมีคำสั่งอนุมัติให้ จำหน่ายหนี้สูญภาย ใน 30 วันนับแต่วัน สุดท้ายของรอบระยะ เวลาบัญชี ต้องดำเนินคดีถึงที่สุด 1. มีการประนอมหนี้ โดยศาลมีคำสั่งเห็นชอบ 2. ศาลพิพากษาให้ลูก หนี้เป็นบุคคลล้มละลาย ต้องมีการแบ่งเฉลี่ย ทรัพย์สินของลูกหนี้ ครั้งแรกแล้ว 4. กรณีปฏิบัติ ตามแผนฟื้น ตามแผนฟื้น ฟูกิจการ ฟูกิจการ หนี้ในส่วนที่ได้ปลดหรือประนอมหนี้ให้ลูกหนี้ ให้จำหน่ายหนี้ โดยไม่ต้องดำเนินการตามวิธีที่ 1 ถึงวิธีที่ 3 ข้างต้น กรณีธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ เครดิตฟองซิเอร์ จำนวนลูกหนี้ กรณีธนาคารพาณิชย์ บริษัทเงินทุน หลักทรัพย์ เครดิตฟองซิเอร์ จำนวนลูกหนี้ แต่ละรายเพิ่มจำนวนเป็นไม่เกิน 2 แสนบาท แต่ละรายเพิ่มจำนวนเป็นไม่เกิน 2 แสนบาท
113 การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้ ลูกหนี้ มีคุณลักษณะเป็นลูกหนี้ ทีจำหน่ายหนี้สูญได้ Non Deductible Expense Y N ดำเนินการฟ้องร้อง เป็นคดีทางศาล การติดตามทวงถามต้อง ดำเนินการจนถึงที่สุดเท่านั้น Y N ลูกหนี้มีจำนวนไม่เกิน 100,000 บาทและคุ้มค่า ใช้จ่ายทีจะดำเนินการ จำหน่ายหนี้สูญทางภาษีอากร Y N นำไปรวมกับลูกหนี้ที่มีจำนวนไม่เกิน 500,000 บาท เมื่อได้รับชำระหนี้ให้นำกลับมาถือ เป็นรายได้ในการคำนวณกำไร ขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร
114 การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้ ลูกหนี้ที่มีจำนวนไม่เกิน 500,000 บาท ดำเนินการฟ้องร้อง เป็นคดีทางศาล การติดตามทวงถามต้อง ดำเนินการจนถึงที่สุดเท่านั้น Y N ไม่ว่าจะดำเนินการในคดีแพ่งหรือคดี ล้มละลาย เมื่อศาลมีคำสั่งรับคำฟ้อง จำหน่ายหนี้สูญทันที แต่ไม่เกิน 30 วัน นับแต่วันสุดท้ายของรอบบัญชี เมื่อได้รับชำระหนี้ให้นำกลับมาถือเป็นรายได้ใน การคำนวณกำไรขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร
115 การจำหน่ายหนี้สูญออกจากบัญชีลูกหนี้ ลูกหนี้ที่มีจำนวนเกินกว่า 500,000 บาท ดำเนินการฟ้องร้อง เป็นคดีทางศาล การติดตามทวงถามต้อง ดำเนินการจนถึงที่สุดเท่านั้น Y N เมื่อได้รับชำระหนี้ให้นำกลับมาถือเป็นรายได้ในการ คำนวณกำไรขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร ดำเนินการฟ้องร้อง ในคดีแพ่ง การติดตามทวงถามต้อง ดำเนินการจนถึงที่สุดเท่านั้น Y N ดำเนินการฟ้องร้องในคดีล้มละลาย ต้องดำเนินการจนถึงที่สุด ศาลมีคำสั่ง เห็นชอบกับ การประนอมหนี้ ศาลมีคำสั่งเห็นชอบกับ แผนฟื้นฟูกิจการของ ลูกหนี้ ศาลพิพากษาให้ลูกหนี้เป็นบุคคล ล้มละลายและได้มีการแบ่งเฉลี่ย ทรัพย์ของลูกหนี้ครั้งแรก
116 การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ การดำเนินการด้านเจ้าหนี้ด้านลูกหนี้ การประนอมหนี้ตาม กฎกระทรวง ฉบับที 186 รับรู้เป็นรายจ่ายรับรู้เป็นรายได้ การลดหนี้ตามแผน ฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ตาม พรฎ.(340)2541 รับรู้เป็นรายจ่ายตาม กฎกระทรวง ฉบับที 186 ยกเว้น CIT การลดหนี้โดยการปรับ โครงสร้างหนี้ตามหลัก เกณฑ์ BOT รับรู้เป็นรายจ่าย... ยกเว้น CIT,VAT,SBT และ SD สำหรับการ ขายทรัพย์สิน สินค้า หรือการให้บริการ ยกเว้น CIT เฉพาะที่ได้ กระทำภายในกำหนด เวลาของกฎหมาย และ สิทธิประโยชน์เช่นเดียว กับเจ้าหนี้
117 การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ ตามกฎกระทรวง ฉบับที่ 186 (พ.ศ.2534): สิทธิประโยชน์ของเจ้าหนี้อันเนื่องมา จากการปรับปรุง โครงสร้างหนี้ตามเกณฑ์ของธนาคารแห่งประเทศไทย แก้ไขเพิ่มเติมโดยกฎกระทรวงสำหรับการปลดหนี้ให้ลูกหนี้ในระหว่าง ฉบับที่ 225 (พ.ศ.2542) ฉบับที่ 225 (พ.ศ.2542) ฉบับที่ 237 (พ.ศ.2545) ฉบับที่ 237 (พ.ศ.2545) ฉบับที่ 242 (พ.ศ.2546) ฉบับที่ 242 (พ.ศ.2546) ฉบับที่ 243 (พ.ศ.2547) ฉบับที่ 243 (พ.ศ.2547) ฉบับที่ 251 (พ.ศ.2548) ฉบับที่ 251 (พ.ศ.2548) 1 ตุลาคม 2542 ถึง 31 ธันวาคม มกราคม 2545 ถึง 31 ธันวาคม มกราคม 2546 ถึง 31 ธันวาคม มกราคม 2547 ถึง 31 ธันวาคม มกราคม 2548 ถึง 31 ธันวาคม 2549
118 โดยพระราชกฤษฎีกาสำหรับการปลดหนี้ให้ลูกหนี้ในระหว่าง (ฉบับที่ 360) พ.ศ.2542 (ฉบับที่ 360) พ.ศ.2542 (ฉบับที่ 399) พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 399) พ.ศ.2545 (ฉบับที่ 410) พ.ศ.2546 (ฉบับที่ 410) พ.ศ.2546 (ฉบับที่ 418) พ.ศ.2547 (ฉบับที่ 418) พ.ศ.2547 (ฉบับที่ 433) พ.ศ.2548 (ฉบับที่ 433) พ.ศ ตุลาคม 2542 ถึง 31 ธันวาคม มกราคม 2545 ถึง 31 ธันวาคม มกราคม 2546 ถึง 31 ธันวาคม มกราคม 2547 ถึง 31 ธันวาคม มกราคม 2548 ถึง 31 ธันวาคม 2549 การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการปรับปรุง โครงสร้างหนี้ของธนาคารแห่งประเทศไทย: สิทธิประโยชน์ของลูกหนี้และเจ้าหนี้ (บางกรณี)
119 การปลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้ ตามแผนฟื้นฟูกิจการของลูกหนี้ ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 340) พ.ศ.2541: สิทธิประโยชน์ของลูกหนี้ ใช้สำหรับการปลดหนี้ให้ลูกหนี้ในตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2541 เป็นต้นไป (ไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุดดังเช่นการปรับปรุง โครงสร้างหนี้ (Restructure Debt) ตามหลักเกณฑ์ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย) ใช้สำหรับการปลดหนี้ให้ลูกหนี้ในตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2541 เป็นต้นไป (ไม่มีกำหนดเวลาสิ้นสุดดังเช่นการปรับปรุง โครงสร้างหนี้ (Restructure Debt) ตามหลักเกณฑ์ของ ธนาคารแห่งประเทศไทย)
120 รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี รายจ่ายที่โดยสภาพของ รายจ่ายนั้นไม่ใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือรายจ่ายเพื่อกิจการ โดยเฉพาะ ซึ่งในทางบัญชีก็ไม่ได้นำรายการรายจ่ายนี้ไปถือ เป็นรายจ่าย 1. รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ หมายถึง รายจ่ายที่โดยสภาพของ รายจ่ายนั้นไม่ใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือรายจ่ายเพื่อกิจการ โดยเฉพาะ ซึ่งในทางบัญชีก็ไม่ได้นำรายการรายจ่ายนี้ไปถือ เป็นรายจ่าย หมายถึง รายจ่ายซึ่งโดย ปกติทั่วไปถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรหรือขาดทุนทาง บัญชี แต่ห้ามมิให้นำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรหรือ ขาดทุนทางภาษีอากร 2. รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย หมายถึง รายจ่ายซึ่งโดย ปกติทั่วไปถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรหรือขาดทุนทาง บัญชี แต่ห้ามมิให้นำมาถือเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรหรือ ขาดทุนทางภาษีอากร อย่างไรก็ตาม ด้านตรงข้ามของหลักเกณฑ์เกี่ยวกับรายจ่ายต้องห้าม (Non Deductible Expenditure) ย่อมเป็นหลักเกณฑ์ เกี่ยวกับรายจ่ายที่ไม่ต้องห้าม (Deductible Expenditure) โดยปริยาย
121 รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ (Proper Non-deductible Expenditure) รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย (Legal Non-deductible Expenditure) รายจ่ายที่ถือเป็นรายจ่ายได้ (Deductible Expenditure) ด้านตรงกันข้าม
122 บทบัญญัติ ที่เกี่ยวข้อง รายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายที่ถือเป็น รายจ่ายได้ โดยแท้โดยผลของกฎหมาย ม.65 ทวิ(2) ค่าเสื่อมราคา ในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับการ ประกอบกิจการ ในส่วนที่ไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ของ พรฎ. (145) ในส่วนที่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ของพรฎ. (145) ม.65 ทวิ(7) Anti Transfer Pricing ราคาทุนของสินค้าใน ส่วนที่ไม่เกินสมควร ม.65 ทวิ(8) ในส่วนที่ไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ของกฎหมาย การคำนวณราคาทุนของ สินค้าที่เป็นเงินตราต่าง ประเทศให้เป็นเงินตรา ไทย ณ วันที่ได้รับสินค้า ม.65 ทวิ(9) ในส่วนที่ไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ของกฎ กระทรวง ฉบับที่ 186 ในส่วนที่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ของกฎ กระทรวง ฉบับที่ 186 ม.65 ตรี(1) สำรองตามกฎหมาย Accounting Provision ในส่วนที่เป็นไปตามเงื่อน ไขใน ม.65 ตรี(1) (ก)- (ค) รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร
123 บทบัญญัติ ที่เกี่ยวข้อง รายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายที่ถือเป็น รายจ่ายได้ โดยแท้โดยผลของกฎหมาย ม.65 ตรี(2) เงินกองทุน (Fund) เงินสมทบ Provident Fund ในส่วนที่ไม่เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ของกฎ กระทรวง ฉบับที่ 183 เงินสมทบ Provident Fund ในส่วนที่เป็นไป ตามหลักเกณฑ์ของกฎ กระทรวง ฉบับที่ 183 ม.65 ตรี(3) รายจ่ายอันมีลักษณะ เป็นการส่วนตัว ให้โดย เสน่หา ค่าการกุศลไม่สาธารณะ ค่าการกุศลสาธารณะหรือ การสาธารณประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อการ ศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามเงื่อนไขและหลัก เกณฑ์ของกฎหมาย ม.65 ตรี(4) รายจ่ายอันมีลักษณะ เป็นการส่วนตัว ในส่วนที่ไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ของกฎ กระทรวง ฉบับที่ 143 ในส่วนที่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ของกฎ กระทรวง ฉบับที่ 143 ม.65 ตรี(5) รายจ่ายอันมีลักษณะ เป็นการลงทุน ต่อเติมฯ ค่าซ่อมแซมให้คงสภาพ เดิม การทำลายทรัพย์สิน รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร
124 บทบัญญัติ ที่เกี่ยวข้อง รายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายที่ถือเป็น รายจ่ายได้ โดยแท้โดยผลของกฎหมาย ม.65 ตรี(6) ในส่วนที่ไม่เกี่ยวข้อง โดยตรงกับการ ประกอบกิจการ เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับ อาญาตามประมวล รัษฎากร และค่าภาษีเงิน ได้นิติบุคคลของตนเอง เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับ อาญาตามกฎหมายอื่น ค่า ภาษีเงินได้ที่ออกแทนให้ ผู้อื่น ม.65 ตรี (6 ทวิ) ภาษีซื้อที่เครดิตได้ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้อง ชำระหรือพึงต้องชำระ ภาษีซื้อต้องห้าม ภาษีซื้อต้องห้ามตาม มาตรา 82/5 (4)และ(6) (ดูพรฏ. (243) ประกอบ) ม.65 ตรี(7) การถอนเงินโดยปราศ จากค่าตอบแทนของผู้ เป็นหุ้นส่วน โบนัสที่จ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้น หรือผู้เป็นหุ้นส่วน (ดู ม. 65 ตรี(19) ประกอบ) รายจ่ายในการดำเนิน กิจการ ม.65 ตรี(8) เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือ ผู้เป็นหุ้นส่วนเฉพาะส่วน ที่จ่ายเกินสมควร เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือ ผู้เป็นหุ้นส่วนเฉพาะส่วน ที่จ่ายไม่เกินสมควร รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร
125 บทบัญญัติ ที่เกี่ยวข้อง รายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายที่ถือเป็น รายจ่ายได้ โดยแท้โดยผลของกฎหมาย ม.65 ตรี(9) รายจ่ายที่กำหนดขึ้นเอง โดยไม่มีการจ่ายจริง (ดู การหลีกเลี่ยงตามม.37) รายจ่ายของรอบระยะเวลา บัญชีปีอื่น รายจ่ายที่ไม่สามารถ กำหนดจ่ายในรอบระยะ เวลาบัญชีปีก่อนได้ ม.65ตรี(10) ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์ สินซึ่งบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลเป็น เจ้าของเองและใช้เอง ค่าสึกหรอและค่าเสื่อม ราคาทรัพย์สินถาวรตาม มาตรา 65 ทวิ (2) ม.65ตรี(11) ดอกเบี้ยที่คิดให้สำหรับ เงินทุน เงินสำรองต่างๆ หรือเงินกองทุนของตน ดอกเบี้ยในการประกอบ กิจการ ม.65ตรี(12) ผลขาดทุนสุทธิในส่วนที่ เกินกว่า 5 ปี ผลขาดทุนทางภาษีอากร ในส่วนที่ไม่เกิน 5 ปี ผลเสียหายอันอาจได้กลับ คืนเนื่องจากการประกันฯ ผลเสียหายเนื่องในการ ประกอบกิจการกรณีอื่น รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร
126 บทบัญญัติ ที่เกี่ยวข้อง รายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายที่ถือเป็น รายจ่ายได้ โดยแท้โดยผลของกฎหมาย ม.65ตรี(13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่าย เพื่อหากำไรหรือเพื่อ กิจการโดยเฉพาะ รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือ เพื่อกิจการโดยเฉพาะ ม.65ตรี(14) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่าย เพื่อกิจการในประเทศไทย โดยเฉพาะ รายจ่ายเพื่อกิจการใน ประเทศไทยโดยเฉพาะ (ดู ป.13/2529ประกอบ) ม.65ตรี(15) ค่าซื้อและรายจ่ายเกี่ยวกับ การซื้อหรือขายทรัพย์สิน ในส่วนที่เกินปกติ โดยไม่ มีเหตุผลอันสมควร ค่าซื้อและรายจ่ายเกี่ยวกับ การซื้อหรือขายทรัพย์สิน ในส่วนที่ไม่เกินปกติ และ มีเหตุผลอันสมควร ม.65ตรี(16) ค่าของทรัพยากร ธรรมชาติที่สูญหรือสิ้น ไปเนื่องจากกิจการที่ทำ ค่าเสื่อมสิ้นของค่า สัมปทาน (ดู พรฎ (ฉ. 145) ประกอบ ม.65ตรี(17) ค่าของทรัพย์สินนอกจาก สินค้าที่ตีราคาต่ำลง การด้อยค่าของสินค้า คงเหลือตามม.65 ทวิ(6) รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร
127 บทบัญญัติ ที่เกี่ยวข้อง รายจ่ายต้องห้าม รายจ่ายที่ถือเป็น รายจ่ายได้ โดยแท้โดยผลของกฎหมาย ม.65ตรี(18) รายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใคร เป็นผู้รับ รายจ่ายที่มีหลักฐานการ จ่ายและพิสูจน์ผู้รับได้ ม.65ตรี(19) รายจ่ายที่กำหนดจ่ายผลกำไร ที่ได้เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลา บัญชีแล้ว รายจ่ายในการประกอบ กิจการทั่วไป ม.65ตรี(20) มูลค่าต้นทุนทรัพย์สินประเภท รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดย สารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ใน ส่วนที่เกินกว่า 1 ล้านบาท เว้นแต่กิจการขายหรือให้ เช่ารถยนต์ดังกล่าว ค่าเช่ารถยนต์นั่งหรือรถยนต์ โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ในส่วนที่เกินกว่า 36,000 บาท ต่อคันต่อเดือน หรือ 1,200 บาทต่อคันต่อวัน (ดู พรฎ. (ฉ.315) ประกอบ) รายจ่ายต้องห้ามตามประมวลรัษฎากร
128 รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ 1. มาตรา 65 ตรี (1) เงินสำรอง เช่น สำรองตามกฎหมาย 2. มาตรา 65 ตรี (2) เงินกองทุน 3. มาตรา 65 ตรี (3) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการส่วนตัว การให้ โดยเสน่หา และการกุศลที่มิใช่การกุศลสาธารณะ 4. มาตรา 65 ตรี (5) รายจ่ายอันมีลักษณะเป็นการลงทุน รายจ่าย ในการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่ง ทรัพย์สิน 5. มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) ภาษีมูลค่าที่ชำระหรือพึงต้องชำระ ภาษี ซื้อที่เครดิตได้ และภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5 (1)(2)(3) และ (5)
129 รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ 6. มาตรา 65 ตรี (7) เงินถอนทุนโดยปราศจากค่าตอบแทนให้ห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล 7. มาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายที่กำหนดขึ้นเองโดยไม่มีการจ่ายจริง (รายจ่ายหน้าด้าน) 8. มาตรา 65 ตรี (10) ค่าตอบแทนแก่ทรัพย์สินที่บริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลเป็นเจ้าของและใช้เอง (รายจ่ายที่เป็นไปไม่ได้) 9. มาตรา 65 ตรี (11) ดอกเบี้ยที่คิดให้แก่เงินทุน เงินสำรอง เงินกองทุนของตนเอง (รายจ่ายที่เป็นไปไม่ได้) 10. มาตรา 65 ตรี (12) ผลขาดทุนสุทธิยกมาในส่วนที่เกินกว่า 5 รอบระยะเวลาบัญชี (รายจ่ายเหลืออดเหลือทน)
130 รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ 11. มาตรา 65 ตรี (13) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อหากำไรหรือ เพื่อกิจการโดยเฉพาะ (รายจ่ายต้องห้ามขนานแท้) 12. มาตรา 65 ตรี (14) รายจ่ายซึ่งมิใช่รายจ่ายเพื่อกิจการใน ประเทศไทยโดยเฉพาะ ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 13/2529 ดูคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 13/ มาตรา 65 ตรี (16) ค่าของทรัพยากรธรรมชาติที่สูญหรือสิ้น ไปได้เนื่องจากกิจการที่ทำ (รายจ่ายที่เป็นไปไม่ได้)
131 รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ รายการรายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ มาตรา 65 ตรี 1. ในทางบัญชีไม่ถือเป็นรายจ่าย 2. รายจ่ายต้องห้ามโดยแท้ 3. เข้าลักษณะเป็นหลีกเลี่ยงภาษี 4. รายจ่ายที่เป็นไปไม่ได้ (1)(2)(3)(5)(6 ทวิ)(7)(12) (13)(14)(9)(10)(11)(16)
132 ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 ปี 1. ต้องเป็นผลขาดทุนสุทธิทางภาษีอากร ซึ่งได้ปรับปรุงให้เป็นไป ตามเงื่อนไขแห่งประมวลรัษฎากรแล้ว 2. ต้องเป็นผลขาดทุนสุทธิของรอบระยะ เวลาบัญชีที่นับย้อนหลังขึ้น ไปไม่เกิน 5 ปี ก่อนรอบระยะเวลาบัญชีปีปัจจุบัน 3. การนำผลขาดทุนสุทธิไปถือเป็นรายจ่าย ให้นำผลขาดทุนสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้นก่อน ไปหักเป็น รายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีที่มีกำไรสุทธิ เป็นปีแรกในช่วงเวลาไม่เกิน 5 ปีหลังจากปีที่มีผลขาดทุนสุทธิดังกล่าว ตาม (First-loss, First- use: FLFU) ให้นำผลขาดทุนสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดขึ้นก่อน ไปหักเป็น รายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีที่มีกำไรสุทธิ เป็นปีแรกในช่วงเวลาไม่เกิน 5 ปีหลังจากปีที่มีผลขาดทุนสุทธิดังกล่าว ตามหลักผลขาดทุนเกิดขึ้นก่อนให้นำมาหักก่อน (First-loss, First- use: FLFU) ในกรณีที่ยังมีผลขาดทุนสุทธิเหลืออยู่ ก็ให้นำผลขาดทุนสุทธิดังกล่าวไป หักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีปีต่อไป ตามหลักเกณฑ์ข้างต้น ในกรณีที่ยังมีผลขาดทุนสุทธิเหลืออยู่ ก็ให้นำผลขาดทุนสุทธิดังกล่าวไป หักเป็นรายจ่ายในการคำนวณกำไรสุทธิของรอบระยะเวลาบัญชีปีต่อไป ตามหลักเกณฑ์ข้างต้น
133 ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 ปี 4. ในการนำผลขาดทุนสุทธิยกมาถือเป็นรายจ่าย ให้นำมาหักเป็นรายจ่ายได้เพียงเท่าที่ไม่เกินกว่ากำไรสุทธิของรอบ ระยะเวลาบัญชีนั้นเท่านั้น ให้นำมาหักเป็นรายจ่ายได้เพียงเท่าที่ไม่เกินกว่ากำไรสุทธิของรอบ ระยะเวลาบัญชีนั้นเท่านั้น
134 รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย 1. มาตรา 65 ตรี (2) เงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพที่ไม่เป็นไปตาม หลักเกณฑ์ในกฎกระทรวงฉบับที่ มาตรา 65 ตรี (4) ค่ารับรองในส่วนที่ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ ในกฎกระทรวง ฉบับที่ มาตรา 65 ตรี (6) เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม ค่าปรับทางอาญาตาม ประมวลรัษฎากร และค่าภาษีเงินได้นิติบุคคลที่จ่ายจากกำไร สุทธิ ดูคำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 10/2528 ดูคำวินิจฉัยคณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรที่ 10/ มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) ภาษีขาย หรือภาษีมูลค่าเพิ่มที่ไม่ได้เรียก เก็บหรือออกให้แก่บุคคลอื่น ดูพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 243) ดูพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 243)
135 รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย 5. มาตรา 65 ตรี (8) เงินเดือนของผู้ถือหุ้นหรือผู้เป็นหุ้นส่วนใน ส่วนที่จ่ายเกินสมควร 6. มาตรา 65 ตรี (9) รายจ่ายซึ่งควรจะได้จ่ายในรอบระยะเวลา บัญชีอื่น 7. มาตรา 65 ตรี (12) ผลเสียหายอันอาจได้กลับคืนเนื่องจากการ ประกันหรือสัญญาคุ้นกันใดๆ (หลัก Matching) 8. มาตรา 65 ตรี (15) ค่าซื้อทรัพย์สิน และรายจ่ายในการซื้อหรือ ขายทรัพย์สิน (รวมทั้งสินค้า) ในส่วนที่เกินปกติโดยไม่มีเหตุอัน สมควร 9. มาตรา 65 ตรี (17) ค่าของทรัพย์สินนอกจากสินค้าที่ตีราคา ต่ำลง (การด้อยค่าของทรัพย์สิน Devalue) 10. มาตรา 65 ตรี (18) รายจ่ายที่พิสูจน์ไม่ได้ว่าใครเป็นผู้รับ
136 A. Co. ltd. Traders Accepted Doc. - Tax Inv., Invoice - Receipt - Slip with Copy PIN card - Cross Chq. “A/C Payee only” Holder Group of Person PIT: Exp.80% Beware VAT: 1.8 M./yr. Non Deductible ม. 65 ตรี (18) Construction Buy in Sale out Site General Plan - Trade Registered - Tax ID Accepted Doc.
137 รายจ่ายต้องห้ามโดยผลของกฎหมาย 11. มาตรา 65 ตรี (19) รายจ่ายที่กำหนดจ่ายผลกำไรที่ได้เมื่อสิ้น รอบระยะเวลาบัญชีแล้ว ไม่ว่าจะเป็นกำไรขั้นต้น กำไรต่อหน่วย หรือกำไรสุทธิ ไม่ว่าจะเป็นกำไรขั้นต้น กำไรต่อหน่วย หรือกำไรสุทธิ อาจกำหนดจ่ายจากรายได้ หรือพฤติกรรมของพนักงาน (เบี้ยขยัน) อาจกำหนดจ่ายจากรายได้ หรือพฤติกรรมของพนักงาน (เบี้ยขยัน) 12. มาตรา 65 ตรี (20) ดู พรฎ. (ฉบับที่ 315) พ.ศ.2540 ใช้ บังคับตั้งแต่ 29 พ.ค เป็นต้นมา (1) มูลค่าต้นทุนทรัพย์สินประเภทรถยนต์นั่งหรือรถยนต์ โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ในส่วนที่เกินกว่า 1 ล้านบาท (1) มูลค่าต้นทุนทรัพย์สินประเภทรถยนต์นั่งหรือรถยนต์ โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ในส่วนที่เกินกว่า 1 ล้านบาท (2) ค่าเช่ารถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ในส่วนที่เกินกว่า 36,000 บาท ต่อคันต่อเดือน หรือ 1,200 บาทต่อคันต่อวัน (2) ค่าเช่ารถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ในส่วนที่เกินกว่า 36,000 บาท ต่อคันต่อเดือน หรือ 1,200 บาทต่อคันต่อวัน
138 Donation & Charity เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.458) และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.458) Y N หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้ 1.5 เท่าของจำนวนที่จ่ายจริงแต่ ไม่เกิน 20% ของ NP Y N เป็นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะฯและเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) และประกาศ อธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) Y N รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของส่วนที่ เกิน 10% ของ NP หักเป็นรายจ่าย ในกาคำนวณ P&L ได้ตามจำนวนที่ จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 2% ของ NP รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (3) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตาม พรฎ. และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.420) และ (ฉ.428) หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้สองเท่าของจำนวนที่จ่ายจริงแต่ ไม่เกิน 10% ของ NP
139 มาตรา 3 ให้ยกเว้น CIT สำหรับเงินหรือมูลค่าของทรัพย์สินเป็น จำนวนสองเท่าของรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุน การศึกษา แต่ต้องไม่เกิน 10% ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่าย เพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการสาธารณะประโยชน์ และ เพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่ง ประมวลรัษฎากร ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดี กรมสรรพากรประกาศกำหนด ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการศึกษาดังกล่าว ต้องเป็นค่าใช้จ่าย สำหรับโครงการที่กระทรวงศึกษาให้ความเห็นชอบ และเป็น ค่าใช้จ่ายดังต่อไปนี้ (1) จัดหาหรือจัดสร้างอาคาร อาคารพร้อมที่ดิน หรือที่ดินให้แก่ สถานศึกษา เพื่อใช้ประโยชน์ทางการศึกษา รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการศึกษาตาม พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 420)
140 (2) จัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อการศึกษา แบบเรียน ตำรา หนังสือ ทางวิชาการ สื่อ และเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ตลอดจนวัสดุ อุปกรณ์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาให้แก่ สถานศึกษา ตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังกำหนด “(3) จัดหาครู อาจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา หรือเป็น ทุนการศึกษา การประดิษฐ์ การพัฒนา การค้นคว้า หรือการ วิจัย สำหรับนักเรียน นิสิต หรือนักศึกษาของสถานศึกษา ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด” “(3) จัดหาครู อาจารย์ หรือผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษา หรือเป็น ทุนการศึกษา การประดิษฐ์ การพัฒนา การค้นคว้า หรือการ วิจัย สำหรับนักเรียน นิสิต หรือนักศึกษาของสถานศึกษา ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด” (แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 476) พ.ศ ใช้บังคับ ตั้งแต่วันที่ 7 สิงหาคม 2551 เป็นต้นไป) รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการศึกษาตาม พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 420)
141 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการศึกษาตาม พระราชกฤษฎีกา (ฉบับที่ 420) มาตรา 4 ให้ยกเว้น PIT CIT VAT SBT และ SD ให้แก่บุคคล ธรรมดา หรือบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สำหรับเงินได้ที่ ได้รับจากการโอนทรัพย์สิน หรือการขายสินค้า หรือสำหรับการ กระทำตราสารอันเนื่องมา จากการดำเนินการสนับสนุน การศึกษา ตามโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการให้ความเห็นชอบ ตามมาตรา 3 โดยผู้โอนจะต้องไม่นำต้นทุนของทรัพย์สินหรือ สินค้าซึ่งได้รับยกเว้นภาษีดังกล่าวมาหักเป็นค่าใช้จ่ายในการ คำนวณภาษีเงินได้ของบุคคลธรรมดา หรือบริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคล ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ เงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด
142 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนด้านการเรียนรู้ และนันทนาการตาม พรฎ. (ฉ.428) มาตรา 3 ให้ยกเว้น CIT สำหรับเงินหรือมูลค่าของทรัพย์สินเป็น จำนวนสองเท่าของรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดสร้าง และการบำรุงรักษาสนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬา ของเอกชนที่เปิดให้ประชาชนใช้เป็นการทั่วไป โดยไม่เก็บ ค่าบริการใดๆ หรือสนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ หรือสนามกีฬา ของทางราชการ แต่เมื่อรวมกับรายจ่ายที่จ่ายไปเป็นค่าใช้จ่าย เพื่อสนับสนุนการศึกษาสำหรับโครงการที่กระทรวงศึกษาธิการ ให้ความเห็นชอบแล้ว (ตามพรฎ. (ฉ.420) แต่ต้องไม่เกิน 10% ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการ สาธารณประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร
143 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนด้านการเรียนรู้ และนันทนาการตาม พรฎ. (ฉ.428) มาตรา 4 ให้ยกเว้น CIT สำหรับการบริจาคให้แก่กองทุนฟื้นฟู สมรรถภาพคนพิการ กองทุนส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม กองทุนคุ้มครองเด็ก หรือกองทุนพัฒนากีฬาแห่งชาติที่จัดตั้งขึ้น ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2542 เป็น จำนวนเงินหรือมูลค่าของทรัพย์สินเท่าที่บริจาค แต่เมื่อรวมกับ รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะตามมาตรา 65 ตรี (3) แห่ง ประมวลรัษฎากรแล้ว ต้องไม่เกินร้อยละสองของกำไรสุทธิก่อน หักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ
144 Donation & Charity เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.420) และ (ฉ.428) Y N หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้สองเท่าของจำนวนที่ จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% ของ NP เป็นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ หรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ ตามมาตรา 65 ตรี (3) และประกาศ อธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) Y N รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของ ส่วนที่เกิน 10%ของ NPตาม พรฎ.(428) หักเป็นรายจ่าย ได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่ เกิน 2% ของ NP เป็นรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะ หรือเพื่อการสาธารณประโยชน์ ตามมาตรา 65 ตรี (3) และประกาศ อธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) Y N รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของ ส่วนที่เกิน 10%ของ NP ตาม พรฎ.(420) หักเป็นรายจ่าย ได้ตามจำนวนที่จ่ายจริงแต่ไม่ เกิน 2% ของ NP รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (3)
145 NP before Donation 1,000, NP before Donation 1,000, Less Donation (10/110) 90, (Royal Decree 420 & 428) (Royal Decree 420 & 428) Balance 909, Balance 909, Less Donation under sec.65 Ter(3) 19, Balance 889, Balance 889, Total (45, ,607.84) = 65, Total (45, ,607.84) = 65, (4.545% %) = 6.506% (4.545% %) = 6.506% สรุป บริจาคตาม พรฎ. (420 & 428) เป็นจำนวน 6.506% ของกำไรก่อนหักค่าการกุศล แต่เป็นรายจ่ายได้ %
146 รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนการกีฬาตามโครงการ ตามยุทธศาสตร์ 4 ปีสร้างกีฬาชาติ (พ.ศ – 2551) ตามพรฎ. (ฉ.458) ให้ยกเว้น CIT สำหรับการบริจาคเพื่อจัดหาอุปกรณ์กีฬา สำหรับการฝึกซ้อมหรือการแข่งขันกีฬา หรือส่งเสริมสนับสนุนการ พัฒนานักกีฬาและบุคลากรด้านกีฬา เท่ากับจำนวนเงินหรือมูลค่า ของทรัพย์สินเป็นจำนวน 1.5 เท่าของรายจ่ายที่จ่ายไปเป็น ค่าใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนการกีฬาตามโครงการตามยุทธศาสตร์ 4 ปี สร้างกีฬาชาติ (พ.ศ – 2551) แต่ต้องไม่เกินร้อยละ 20 ของกำไรสุทธิก่อนหักรายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อการ สาธารณประโยชน์ และรายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬาตาม มาตรา 65 ตรี (3) แห่งประมวลรัษฎากร สำหรับเงินได้ที่เกิดขึ้น ตั้งแต่ปี 2549 ถึง 2551
147 Donation & Charity เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.458) และเงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.458) Y N หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้ 1.5 เท่าของจำนวน ที่จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 20%NP รายจ่ายเพื่อการกุศลสาธารณะหรือเพื่อ การสาธารณประโยชน์ตามม.65 ตรี (3) และ ประกาศอธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) Y N รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของส่วนที่ เกิน 10%ของ NP ของพรฎ.(428) หักเป็นรายจ่ายได้ตามจำนวนที่จ่าย จริงแต่ไม่เกิน 2% ของ NP รายจ่ายเพื่อการศึกษาหรือเพื่อการกีฬา ตามมาตรา 65 ตรี (3) และประกาศ อธิบดีฯ เกี่ยวภาษีเงินได้(ฉ.43) Y N รวมกับจำนวนที่จ่ายจริงของส่วนที่ เกิน 10%ของ NP ของพรฎ.(420) หักเป็นรายจ่ายได้ตามจำนวนที่จ่าย จริงแต่ไม่เกิน 2% ของ NP รายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (3) เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และ เงื่อนไขตาม พรฎ. (ฉ.420) และ (ฉ.428) Y หักเป็นรายจ่ายในกาคำนวณ P&L ได้สองเท่าของจำนวนที่ จ่ายจริงแต่ไม่เกิน 10% NP N
148 NP before Donation 1,000,000,00 NP before Donation 1,000,000,00 Less Donation 1.5 times (20/120) 166, (Royal Decree (#458) (Royal Decree (#458) Balance 833, Balance 833, Less Donation (10/110 of 1 M) 90, (Royal Decree (#420 & #428) (Royal Decree (#420 & #428) Balance 742, Balance 742, Less Donation sec.65 Ter(3) 19, , , , , Balance 703, Balance 703, Total จำนวนที่บริจาคจริง (111, , ,461.54) = 195, (111, , ,461.54) = 195, (11.111% % %) = % (11.111% % %) = % นำไปถือเป็นรายจ่ายได้จำนวน 296, บาท นำไปถือเป็นรายจ่ายได้จำนวน 296, บาท (166, = 1.5 เท่าของ 111,111.11)
149 Donation VAT Goods องค์กรสาธารณะกุศล 1.สถานศึกษาของราชการ 2.โรงพยาบาลราชการ 3.สภากาชาดไทย 4.วัดวาอาราม 5.มูลนิธิ/สมาคม(Public Org) 6.โรงเรียน/มหาวิทยาลัย เอกชนประกอบกิจการใน รูปนิติบุคคล องค์การ/หน่วยงานราชการ ที่มีโครงการเพื่อ... 1.ช่วยเหลือผู้ประสบภัย พิบัติ 2.เพื่อให้รัฐบาล/ส่วนราชการ บริจาคต่อให้แก่สถาน ศึกษา Others - ส่วนราชการ,รัฐวิสาหกิจ เช่น กรมตำรวจ CIT : ม.65 ตรี (3) VAT Exempt ม.81(1)(น) CIT: ม. 65 ตรี (3) VAT: Non Vat Base CIT: ม.65 ตรี (3) Deemed Sale VAT Input Tax: Unclaimable Deduct Output Tax: Non ประกาศ VAT ( ฉบับที่ 40) Input Tax: Claimable Output Tax: Non Input Tax: Unclaimable Output Tax: VAT
150 ค่ารับรองหรือค่าบริการ เป็นไปตามมาตรา 65 ตรี (4) และกฎกระทรวง ฉบับที่ คุณลักษณะของค่ารับรองหรือค่าบริการ (1) เป็นกรณีจำเป็นตามธรรมเนียมประเพณีทางธุรกิจทั่วไป และผู้ที่ถูกรับรองต้องไม่ใช่ลูกจ้าง เว้นแต่ลูกจ้างจะมีส่วนเข้า ร่วมในการนั้น (1) เป็นกรณีจำเป็นตามธรรมเนียมประเพณีทางธุรกิจทั่วไป และผู้ที่ถูกรับรองต้องไม่ใช่ลูกจ้าง เว้นแต่ลูกจ้างจะมีส่วนเข้า ร่วมในการนั้น (2) เป็นค่าใช้จ่ายอันอาจอำนวยประโยชน์แก่กิจการ เช่น ค่าอาหาร ค่าที่พัก ค่าเครื่องดื่ม ค่าดูมหรสพ หรือค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการกีฬา เป็นต้น (2) เป็นค่าใช้จ่ายอันอาจอำนวยประโยชน์แก่กิจการ เช่น ค่าอาหาร ค่าที่พัก ค่าเครื่องดื่ม ค่าดูมหรสพ หรือค่าใช้จ่าย เกี่ยวกับการกีฬา เป็นต้น (3) กรณีให้เป็นสิ่งของต้องมีมูลค่าไม่เกิน 2,000 บาท/คน/คราว (3) กรณีให้เป็นสิ่งของต้องมีมูลค่าไม่เกิน 2,000 บาท/คน/คราว (4) ต้องมีหลักฐานการจ่าย และได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจใน กิจการค่ารับรองดังกล่าวให้รวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย (4) ต้องมีหลักฐานการจ่าย และได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจใน กิจการค่ารับรองดังกล่าวให้รวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่มด้วย
151 ค่ารับรองหรือค่าบริการ (ต่อ) 2. จำนวนค่ารับรองหรือค่าบริการที่จะนำไปถือเป็นรายจ่าย (1) ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 0.3% ของรายได้ก่อนหัก รายจ่ายใดๆ ที่นำมาคำนวณกำไรหรือขาดทุนสุทธิทางภาษี อากร หรือเงินทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ณ วันสุดท้ายของ รอบระยะเวลาบัญชี แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า (1) ตามจำนวนที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 0.3% ของรายได้ก่อนหัก รายจ่ายใดๆ ที่นำมาคำนวณกำไรหรือขาดทุนสุทธิทางภาษี อากร หรือเงินทุนจดทะเบียนชำระแล้ว ณ วันสุดท้ายของ รอบระยะเวลาบัญชี แล้วแต่อย่างใดจะมากกว่า (2) จำนวนค่ารับรองสูงสุดต้องไม่เกิน 10 ล้านบาท (2) จำนวนค่ารับรองสูงสุดต้องไม่เกิน 10 ล้านบาท
152 ค่าอาหาร (Meal) รายการรายงาน จำกัด จำนวน ไม่จำกัด จำนวน ค่ารับรอง (ควรระบุชื่อผู้ถูกรับรอง เพือ่ การควบคุมภายใน) ค่ารับรอง (ควรระบุชื่อผู้ถูกรับรอง เพือ่ การควบคุมภายใน) ค่าสวัสดิการพนักงาน ค่าสวัสดิการพนักงาน รายจ่ายในการประชุมกรรมการ พนักงาน รายจ่ายในการประชุมกรรมการ พนักงาน รายจ่ายในการฝึกอบรม รายจ่ายในการฝึกอบรม รายจ่ายในการส่งเสริมการขาย รายจ่ายในการส่งเสริมการขาย
153 ค่ารับรองหรือค่าบริการ (ต่อ) ค่ารับรองตามบัญชีเงินทุนจดทะเบียน ชำระแล้ว ณ วันสิ้น สิ้นรอบระยะเวลา ค่ารับรองทางบัญชี ค่ารับรองทางภาษี แต่ไม่เกิน 10 ล้านบาท ถือเป็นรายจ่ายตามจำนวนที่น้อยกว่า คูณ 0.3% จำนวนที่มากกว่า รายได้ก่อนหักราย จ่ายใดๆ ที่ นำมา คำนวณ CIT เป็นไปตามหลักเกณฑ์ในกฎกระทรวง ฉบับที่ 143 ( พ. ศ.2522) - จำเป็นตามธรรมเนียมประเพณีทาง ธุรกิจทั่วไป - รับรองบุคคลภายนอก - อาจอำนายประโยชน์แก่กิจการ - ค่าสิ่งของไม่เกิน 2,000 บ / คน / คราว - รวมค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม - มีหลักฐานการจ่าย - มีการอนุมัติสั่งจ่ายโดยผู้มีอำนาจ
154 Member Fee, Fees Golf Club, Sport Club Entertainment Club ตกเป็นกรรมสิทธิ์โดยเด็ดขาดของกรรมการ,ที่ปรึกษาหรือพนักงาน นำไปใช้เพื่อการรับรอง ถือเป็นรายจ่าย ต้องห้ามตาม ม.65ตรี (3) ค่ารับรองโดย เฉลี่ยเป็นรายปี ตามอายุสมาชิก Y YN N 1. ถือเป็นเงินได้ของผู้รับ 2. Input Tax ต้องห้าม นำไปใช้เพื่อการรับรอง กรณีนำไปใช้ใน กิจการไม่ต้องห้าม ม.65ตรี พิจารณา เป็นรายกรณี YN 1. ไม่ถือเป็นเงินได้ของผู้รับ 2. Input Tax ต้องห้าม ค่ารับรองโดย เฉลี่ยเป็นรายปี ตามอายุสมาชิก ป. 56/2538
155 ภาษีซื้อที่ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม ได้แก่ ภาษีซื้อที่เครดิตได้ และภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5 (1)(2)(3) และ (5) ดังนี้ (มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ)) 1. ภาษีซื้อที่สามารถนำไปเป็นเครดิตหักออกจากภาษีขาย ในการคำนวณ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระ (มาตรา 82/5(1)) 2. ภาษีซื้อที่ไม่มีใบกำกับภาษี หรือมีใบกำกับภาษีแต่ไม่อาจพิสูจน์ได้ว่ามีการ จ่ายภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีไปจริง (มาตรา 82/5(1)) 3. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่มีข้อความไม่ครบถ้วนบริบูรณ์ใน ส่วนที่เป็นสาระสำคัญตามมาตรา 86/4 (มาตรา 82/5(2)) 4. ภาษีซื้อที่ไม่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการประกอบกิจการ หรือภาษีซื้อสำหรับ รายจ่ายต้องห้าม (มาตรา 82/5(3)) 5. ภาษีซื้อที่ออกโดยผู้ที่ไม่มีสิทธิออกใบกำกับภาษี (มาตรา 82/5(5))
156 ภาษีซื้อที่ถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม นอกจากนี้ได้แก่ ภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อด้งต่อไปนี้ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ได้ชำระตามแบบ ภ.พ.30 และ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่ได้ชำระตามแบบ ภ.พ.30 และ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่พึงต้องชำระ ภาษีมูลค่าเพิ่มที่พึงต้องชำระ ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งปรากฎในงบดุล ในชื้อบัญชี “เจ้าหนี้ กรมสรรพากร” ณ วันสิ้นรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่งปรากฎในงบดุล ในชื้อบัญชี “เจ้าหนี้ กรมสรรพากร” กรมสรรพากรยังให้รวมถึง ภาษีขายที่ไม่เรียกเก็บหรือออกให้แก่ผู้ ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ (โดยการตีความ) กรมสรรพากรยังให้รวมถึง ภาษีขายที่ไม่เรียกเก็บหรือออกให้แก่ผู้ ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ (โดยการตีความ) ก็ถือเป็นรายจ่ายต้องห้ามตามมาตรา 65 ตรี (6 ทวิ) ด้วย
157 ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ ได้แก่ ภาษีซื้อสำหรับค่ารับรอง และภาษีซื้อต้องห้ามตามมาตรา 82/5 (6) ดังนี้ (มาตรา 65 ตรี (6 ทวิ)) 1. ภาษีซื้อสำหรับค่ารับรอง 2. ภาษีซื้อสำหรับรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน รวมทั้งภาษีซื้อสำหรับสินค้าหรือบริการที่เกี่ยวกับ รถยนต์ดังกล่าว 3. ภาษีซื้อสำหรับรถยนต์ที่ไม่ใช่รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่ มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ซึ่งทำการดัดแปลงให้เป็นรถยนต์ที่ไม่ใช่ รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน 4. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีอย่างย่อ 5. ภาษีซื้อสำหรับทรัพย์สินหรือรายจ่ายที่ใช้ในกิจการประเภทที่ไม่ ต้องเสียภาษี VAT
158 ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ 6. ภาษีซื้อจากการเฉลี่ยในส่วนที่เป็นของกิจการที่ไม่ต้องเสีย VAT 7. ภาษีซื้อสำหรับสินค้าหรือบริการที่ต้องใช้ในกิจการทั้งที่ต้องเสีย VAT และไม่ต้องเสีย VAT ซึ่งรายได้ในส่วนที่ต้องเสีย VAT ไม่น้อยกว่า 90% และผู้ประกอบการจดทะเบียนเลือกใช้สิทธิไม่ เฉลี่ยภาษีซื้อ 8. ภาษีซื้อสำหรับการก่อสร้างอาคารหรืออสังหาริมทรัพย์ที่ใช้ใน กิจการที่ต้องเสีย VAT และต่อมาไม่เกิน 3 ปีนับแต่เดือนที่สร้าง เสร็จสมบูรณ์ได้ขายหรือให้เช่าหรือนำไปใช้ในกิจการที่ต้องเสีย VAT 9. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการ ไม่ได้ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำ ใบกำกับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 9. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการ “ใบกำกับภาษี” ไม่ได้ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำ ใบกำกับภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ
159 รูปแบบการสร้างอาคารบนที่ดินเช่า B – O – T: Built – Operate - Transfer B – O – T: Built – Operate - Transfer B – T – O: Built – Transfer - Operate ( ดู ป.90/2542 ประกอบ ) B – T – O: Built – Transfer - Operate ( ดู ป.90/2542 ประกอบ ) การวางแผนภาษีอากร การวางแผนภาษีอากร B – O 3yr. – T – O: Built – Operate at least 3 yrs - Transfer - Operate
160 ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ (3) 10. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการ ไม่ได้ ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับ ภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 10. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการ “ชื่อ ที่อยู่ และ เลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออกใบกำกับภาษี” ไม่ได้ ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับ ภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 11. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่ใบกำกับภาษีไม่ใช่ เอกสารฉบับแรก และรายการไม่ได้ ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับ ภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 11. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่ใบกำกับภาษีไม่ใช่ เอกสารฉบับแรก และรายการ “เอกสารออกเป็นชุด” ไม่ได้ ตีพิมพ์หรือจัดทำด้วยระบบคอมพิวเตอร์ กรณีจัดทำใบกำกับ ภาษีด้วยระบบคอมพิวเตอร์ทั้งฉบับ 12. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปของสำนักใหญ่ที่สาขา นำไปออกโดยไม่มีรายการ 12. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปของสำนักใหญ่ที่สาขา นำไปออกโดยไม่มีรายการ “สาขาที่ออกใบกำกับภาษีคือ...” 13. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปสำหรับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ รถยนต์ที่ออกโดยผู้ประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมัน โดยไม่มี รายการ 13. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปสำหรับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับ รถยนต์ที่ออกโดยผู้ประกอบกิจการสถานีบริการน้ำมัน โดยไม่มี รายการ “เลขทะเบียนรถยนต์”
161 ภาษีซื้อต้องห้ามที่ถือเป็นรายจ่ายได้ 14. ภาษีซื้อตาม เว้นแต่ใบกำกับ ภาษีที่ไม่ใช่เอกสารฉบับแรกซึ่งมีรายการ “เอกสารออกเป็นชุด” 14. ภาษีซื้อตามสำเนาใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป เว้นแต่ใบกำกับ ภาษีที่ไม่ใช่เอกสารฉบับแรกซึ่งมีรายการ “เอกสารออกเป็นชุด” 15. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการในใบกำกับภาษี ได้ถูก เว้นแต่รายการดังต่อไปนี้ 15. ภาษีซื้อตามใบกำกับภาษีแบบเต็มรูปที่รายการในใบกำกับภาษี ได้ถูกแก้ไขเปลี่ยนแปลง เว้นแต่รายการดังต่อไปนี้ (1) การแก้ไขที่อยู่ของผู้ออกใบกำกับภาษี เนื่องจากทาง ราชการได้ประกาศเปลี่ยนแปลง เลขที่ ชื่อถนน หมู่บ้าน ตำบล หรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัด โดยลงลายมือชื่อกำกับ การแก้ไข หรือประทับด้วยตรายางภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ทาง ราชการประกาศเปลี่ยนแปลง (1) การแก้ไขที่อยู่ของผู้ออกใบกำกับภาษี เนื่องจากทาง ราชการได้ประกาศเปลี่ยนแปลง เลขที่ ชื่อถนน หมู่บ้าน ตำบล หรือแขวง อำเภอหรือเขต หรือจังหวัด โดยลงลายมือชื่อกำกับ การแก้ไข หรือประทับด้วยตรายางภายใน 1 ปี นับแต่วันที่ทาง ราชการประกาศเปลี่ยนแปลง (2) การแก้ไขเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออก ใบกำกับภาษี โดยลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไข หรือประทับด้วย ตรายางภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่กรมสรรพากรได้แจ้งการ เปลี่ยนแปลงรายการดังกล่าวให้ใหม่ (2) การแก้ไขเลขประจำตัวผู้เสียภาษีอากรของผู้ออก ใบกำกับภาษี โดยลงลายมือชื่อกำกับการแก้ไข หรือประทับด้วย ตรายางภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่กรมสรรพากรได้แจ้งการ เปลี่ยนแปลงรายการดังกล่าวให้ใหม่
162 ภาษีเงินได้นิติบุคคลหัก ณ ที่จ่าย ภาษีขายที่มีสิทธิเรียกเก็บ ภาษีซื้อที่มีสิทธินำไปเครดิต/ขอคืน นำไปใช้เป็นเครดิตในการคำนวณ CIT หรือใช้สิทธิเรียกเก็บจากผู้ซื้อ หรือนำไปเครดิตในการคำนวณ VAT Y N ไม่ก่อให้เกิดความสูญเสียใดๆ ในทางภาษีอากร ก่อให้เกิดความสูญเสียทางภาษีอากร เป็นจำนวน 230% ของจำนวนเงิน ภาษีอากรที่ไม่ได้ใช้สิทธินั้น แนวทางในการวางแผนภาษีอากร 1. สร้างความมุ่งมั่นในการปฏิบัติตามเงื่อนไขทางภาษีอากรสูงสุด 2. ไม่พยายามก่อให้เกิดความเสียหายจากการปฏิบัติดังกล่าว
163 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 1. รายจ่ายดังต่อไปนี้ หักเป็นรายจ่ายได้เพิ่มขึ้นจำนวน 100% ของ รายจ่ายที่ได้จ่ายไปนั้น (พรฎ. (ฉ.437) ใช้บังคับ 19 ต.ค.2548 (1) รายจ่ายในการส่งลูกจ้างเข้ารับการศึกษาหรือฝึกอบรมใน สถานศึกษาหรือสถาบันฝึกอบรมที่วิชาชีพที่ราชการจัดตั้งขึ้น (Public Training) (2) รายจ่ายในการฝึกอบรมลูกจ้างของตน (In house Training) ตามหลักสูตรที่ได้รับความเห็นชอบและอนุมัติ ค่าใช้จ่ายโดยกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน (3) รายจ่ายในการฝึกอบรมตามกฎหมายว่าด้วยการฝึกอบรม วิชาชีพ
164 Training Exp เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือนไขใน พรฎ.(ฉ.437) YN In-house Training ที่ได้รับ In-house Training ที่ได้รับอนุมัติจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน Public Training กับนิติบุคคล Public Training กับนิติบุคคล การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน การฝึกอบรมฝีมือแรงงาน (ตั้งแต่ 19 ต.ค. 48 เป็นต้นไป หักเป็นรายจ่ายทางภาษีอากรได้ 200% ของรายจ่ายที่ได้จ่ายไปจริง หักเป็นรายจ่ายทางภาษี อากรได้ตามที่จ่ายจริง
165 In house Training ต้องเป็นหลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานของลูกจ้าง และได้รับการ รับรองจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน และค่าใช้จ่ายใน การฝึกอบรมลูกจ้างแต่ละคนนั้นต้องเป็นไปตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจาก กระทรวงแรงงาน ต้องเป็นหลักสูตรที่จัดขึ้นเพื่อพัฒนาฝีมือแรงงานของลูกจ้าง และได้รับการ รับรองจากกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน กระทรวงแรงงาน และค่าใช้จ่ายใน การฝึกอบรมลูกจ้างแต่ละคนนั้นต้องเป็นไปตามอัตราที่ได้รับอนุมัติจาก กระทรวงแรงงาน การฝึกอบรมต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ของกิจการของนายจ้างนั้น การฝึกอบรมต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ของกิจการของนายจ้างนั้น ลูกจ้างที่เข้ารับการฝึกอบรมต้องเป็นลูกจ้างของตน โดยนายจ้างต้องจัดทำ ทะเบียนลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานเพื่อเป็นหลักฐาน การทำงานของลูกจ้าง ลูกจ้างที่เข้ารับการฝึกอบรมต้องเป็นลูกจ้างของตน โดยนายจ้างต้องจัดทำ ทะเบียนลูกจ้างตามกฎหมายว่าด้วยการคุ้มครองแรงงานเพื่อเป็นหลักฐาน การทำงานของลูกจ้าง ต้องมีการกำหนดเงื่อนไขให้ลูกจ้างที่เข้ารับการฝึกอบรมนั้นกลับเข้าทำงาน หลังจากการฝึกอบรมเสร็จสิ้น ต้องมีการกำหนดเงื่อนไขให้ลูกจ้างที่เข้ารับการฝึกอบรมนั้นกลับเข้าทำงาน หลังจากการฝึกอบรมเสร็จสิ้น ต้องกำหนดลักษณะ ขนาด และคุณสมบัติของวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการ ฝึกอบรม เพื่อมิให้ปะปนกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบกิจการ ตามปกติของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น ต้องกำหนดลักษณะ ขนาด และคุณสมบัติของวัสดุอุปกรณ์ที่จะใช้ในการ ฝึกอบรม เพื่อมิให้ปะปนกับวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการประกอบกิจการ ตามปกติของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้น
166 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 2. ค่าจ้างเพื่อทำการวิจัยและพัฒนา (R&D) ให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือเอกชนหรือของตนเอง จำนวน 100% ของรายจ่ายดังกล่าว (พรฎ. (ฉบับที่ 297) พ.ศ.) 3. รายจ่ายในการบริจาคเงินหรือทรัพย์สินเพื่อสนับสนุนการศึกษา และรายจ่ายเพื่อการสนับสนุนด้านการเรียนรู้และนันทนาการ จำนวน 100% ของรายจ่ายดังกล่าว แต่ไม่เกิน 10% ของกำไร สุทธิ ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 420) และ (ฉบับที่ 428) 4. รายจ่ายในการบริจาคสนับสนุนการกีฬาตามโครงการตาม ยุทธศาสตร์ 4 ปีสร้างกีฬาชาติ (พ.ศ – 2551) แก่กองทุน พัฒนาการกีฬาแห่งชาติ ตาม พรฎ. (ฉบับที่ 458)
167 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 5. ค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการ ประหยัดพลังงานที่ไม่เคยผ่านการใช้งาน เพื่อการปรับเปลี่ยน แทนอุปกรณ์เดิม เป็นจำนวนร้อยละ 25 ของค่าใช้จ่ายนั้น เฉพาะ ในส่วนที่ไม่เกิน 50 ล้านบาท ตามพรฎ. (ฉ.436) ซึ่ง ต้องได้มาและพร้อมใช้งานได้ในระหว่าง 6 ตุลามคม 2548 ถึง 31 ธันวาคม 2549 ต้องได้มาและพร้อมใช้งานได้ในระหว่าง 6 ตุลามคม 2548 ถึง 31 ธันวาคม 2549 โดยให้ยกเว้นตามส่วนเฉลี่ยเป็นจำนวนเท่ากันของจำนวนเงินได้ที่ได้รับ ยกเว้นภาษี สำหรับระยะเวลา 5 รอบระยะเวลาบัญชีนับแต่รอบระยะเวลา บัญชีแรกที่ได้ทรัพย์สินดังกล่าวมาและพร้อมใช้งานได้ โดยให้ยกเว้นตามส่วนเฉลี่ยเป็นจำนวนเท่ากันของจำนวนเงินได้ที่ได้รับ ยกเว้นภาษี สำหรับระยะเวลา 5 รอบระยะเวลาบัญชีนับแต่รอบระยะเวลา บัญชีแรกที่ได้ทรัพย์สินดังกล่าวมาและพร้อมใช้งานได้ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดี กรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 145) ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขตามประกาศอธิบดี กรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 145)
168 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 145) “ทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน” หมายความว่า อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงที่ประหยัดพลังงานและ/หรือลด ความต้องการพลังงาน ซึ่งสามารถทำงานครบกระบวน การด้วยตัวเอง ที่ ได้รับการรับรองจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานว่ามี ผลต่อการประหยัดพลังงาน “ทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน” หมายความว่า อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงที่ประหยัดพลังงานและ/หรือลด ความต้องการพลังงาน ซึ่งสามารถทำงานครบกระบวน การด้วยตัวเอง ที่ ได้รับการรับรองจากกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานว่ามี ผลต่อการประหยัดพลังงาน “ค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อ การประหยัดพลังงาน” หมายความว่า มูลค่าของอุปกรณ์ เครื่องจักร รวมถึงค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัด พลังงาน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ “ค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อ การประหยัดพลังงาน” หมายความว่า มูลค่าของอุปกรณ์ เครื่องจักร รวมถึงค่าใช้จ่ายในการติดตั้งอุปกรณ์หรือเครื่องจักรที่มีผลต่อการประหยัด พลังงาน ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ดังต่อไปนี้ ทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์เดิมต้องมีหลักฐานการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ไม่ ว่าจะเป็นใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี ใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ สัญญาซื้อ ขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน บัญชีทรัพย์สิน หรือเอกสารอื่นใดใน ทำนองเดียวกัน และทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัด พลังงานที่นำมาปรับเปลี่ยน ต้องเป็นการได้มาโดยมีค่าตอบแทน และ พร้อมใช้งานได้ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2549 ทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์เดิมต้องมีหลักฐานการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ไม่ ว่าจะเป็นใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี ใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ สัญญาซื้อ ขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน บัญชีทรัพย์สิน หรือเอกสารอื่นใดใน ทำนองเดียวกัน และทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัด พลังงานที่นำมาปรับเปลี่ยน ต้องเป็นการได้มาโดยมีค่าตอบแทน และ พร้อมใช้งานได้ภายในวันที่ 31 ธันวาคม 2549
169 ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 145) – ต่อ ต้องเป็นทรัพย์สินประเภทเดียวกันกับทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์เดิม ก่อนมีการปรับเปลี่ยน ต้องเป็นทรัพย์สินประเภทเดียวกันกับทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์เดิม ก่อนมีการปรับเปลี่ยน ผู้ประกอบการที่ประสงค์จะขอรับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้ที่ จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อ การประหยัดพลังงาน ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนแทนอุปกรณ์เดิม ต้องยื่น คำขอต่อกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานให้ตรวจสอบ และได้รับหนังสือรับรองว่าเป็นอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน ตามหลักเกณฑ์ที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กำหนด ผู้ประกอบการที่ประสงค์จะขอรับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ สำหรับเงินได้ที่ จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อ การประหยัดพลังงาน ซึ่งเป็นการปรับเปลี่ยนแทนอุปกรณ์เดิม ต้องยื่น คำขอต่อกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงานให้ตรวจสอบ และได้รับหนังสือรับรองว่าเป็นอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัดพลังงาน ตามหลักเกณฑ์ที่กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กำหนด ผู้ประกอบการซึ่งได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลดังกล่าว หากได้ขายทรัพย์สินดังกล่าวในปีใด ให้หมดสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลตั้งแต่ปีที่ขายทรัพย์สินดังกล่าวนั้น ผู้ประกอบการซึ่งได้รับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลดังกล่าว หากได้ขายทรัพย์สินดังกล่าวในปีใด ให้หมดสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลตั้งแต่ปีที่ขายทรัพย์สินดังกล่าวนั้น ผู้ประกอบการที่จะขอรับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ ต้องไม่ได้รับสิทธิ ประโยชน์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาขอรับสิทธิประโยชน์สนับสนุน จากส่วนราชการโดยตรงเพื่อการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงาน โครงการอื่นใด ผู้ประกอบการที่จะขอรับสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้ ต้องไม่ได้รับสิทธิ ประโยชน์หรืออยู่ระหว่างการพิจารณาขอรับสิทธิประโยชน์สนับสนุน จากส่วนราชการโดยตรงเพื่อการส่งเสริมการลงทุนด้านอนุรักษ์พลังงาน โครงการอื่นใด
170 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 6. สำหรับเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการลงทุนหรือการต่อเติมเปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สิน แต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซม ให้คงสภาพเดิม ตามมาตรา 65 ตรี (5) แห่งประมวลรัษฎากร ให้แก่บริษัทจดทะเบียน เป็นจำนวน 25% ของเงินได้ที่ได้จ่ายไป นั้น โดยการดำเนินการดังกล่าวต้องเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของ กิจการและจัดทำเป็นโครงการที่มีมูลค่าตั้งแต่ห้าล้านบาทขึ้นไป ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากร ประกาศกำหนด ทั้งนี้ ต้องจ่ายภายในห้ารอบระยะเวลาบัญชีนับแต่รอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ เป็นต้นไป (ม.3 (1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549) ทั้งนี้ ต้องจ่ายภายในห้ารอบระยะเวลาบัญชีนับแต่รอบ ระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ เป็นต้นไป (ม.3 (1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549)
171 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่าย เพื่อการลงทุน หรือการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สินตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ ต้องเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของกิจการ โดยมีแผนโครงการ พร้อมที่จะให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบได้ ต้องเกี่ยวเนื่องกับธุรกิจหลักของกิจการ โดยมีแผนโครงการ พร้อมที่จะให้เจ้าพนักงานประเมินตรวจสอบได้ “ธุรกิจหลักของกิจการ” หมายความว่า ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการ ผลิตสินค้าหรือการขายสินค้าหรือการให้บริการที่กิจการกระทำเป็นปกติ “ธุรกิจหลักของกิจการ” หมายความว่า ธุรกิจที่เกี่ยวเนื่องโดยตรงกับการ ผลิตสินค้าหรือการขายสินค้าหรือการให้บริการที่กิจการกระทำเป็นปกติ “โครงการ” หมายความว่า โครงการการลงทุนของบริษัทในทรัพย์สินที่ เกี่ยวเนื่องกับการดำเนินธุรกิจหลักของกิจการ ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนใน ทรัพย์สินใหม่ การต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่ง ทรัพย์สิน แต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม ตามมาตรา 65 ตรี (5) แห่งประมวลรัษฎากร โดยบริษัทต้องจัดทำเป็นแผนโครงการ ซึ่งได้รับอนุมัติแผนโครงการจากกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัท “โครงการ” หมายความว่า โครงการการลงทุนของบริษัทในทรัพย์สินที่ เกี่ยวเนื่องกับการดำเนินธุรกิจหลักของกิจการ ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนใน ทรัพย์สินใหม่ การต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่ง ทรัพย์สิน แต่ไม่ใช่เป็นการซ่อมแซมให้คงสภาพเดิม ตามมาตรา 65 ตรี (5) แห่งประมวลรัษฎากร โดยบริษัทต้องจัดทำเป็นแผนโครงการ ซึ่งได้รับอนุมัติแผนโครงการจากกรรมการผู้มีอำนาจของบริษัท
172 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่าย เพื่อการลงทุนตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ ต้องเป็นเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินตามโครงการ และได้จัดทำเป็นโครงการที่มีมูลค่าตั้งแต่ 5 ล้านบาทขึ้นไป ใน ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ ต้องเป็นเงินได้ที่ได้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สินตามโครงการ และได้จัดทำเป็นโครงการที่มีมูลค่าตั้งแต่ 5 ล้านบาทขึ้นไป ใน ทรัพย์สินดังต่อไปนี้ เครื่องจักร ส่วนประกอบ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องตกแต่ง และเฟอร์นิเจอร์ บรรดาที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจหลักของกิจการ เครื่องจักร ส่วนประกอบ อุปกรณ์ เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องตกแต่ง และเฟอร์นิเจอร์ บรรดาที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจหลักของกิจการ โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซื้อ โปรแกรมหรือซื้อลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาใช้ในธุรกิจหลัก ของกิจการของบริษัท โปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยการพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์ หรือซื้อ โปรแกรมหรือซื้อลิขสิทธิ์โปรแกรมคอมพิวเตอร์ มาใช้ในธุรกิจหลัก ของกิจการของบริษัท ยานพาหนะที่จดทะเบียนในราชอาณาจักรที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจหลัก ของกิจการ แต่ไม่รวมถึงรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตที่มิใช่ได้มาเพื่อ นำออกให้เช่า ซึ่งเป็นธุรกิจหลักของกิจการ ยานพาหนะที่จดทะเบียนในราชอาณาจักรที่ใช้ในการดำเนินธุรกิจหลัก ของกิจการ แต่ไม่รวมถึงรถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสาร ที่มีที่นั่งไม่เกิน 10 คน ตามกฎหมายว่าด้วยพิกัดอัตราภาษีสรรพสามิตที่มิใช่ได้มาเพื่อ นำออกให้เช่า ซึ่งเป็นธุรกิจหลักของกิจการ มูลค่าของทรัพย์สินดังกล่าว ได้แก่ มูลค่าของต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่ง ทรัพย์สินจนถึงวันที่ทรัพย์สินนั้นใช้การได้ตามประสงค์ มูลค่าของทรัพย์สินดังกล่าว ได้แก่ มูลค่าของต้นทุนเพื่อการได้มาซึ่ง ทรัพย์สินจนถึงวันที่ทรัพย์สินนั้นใช้การได้ตามประสงค์
173 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่าย เพื่อการลงทุนตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ ทรัพย์สินซึ่งมูลค่าของทรัพย์สินนั้นรวมเป็นมูลค่าของโครงการ ได้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ ทรัพย์สินซึ่งมูลค่าของทรัพย์สินนั้นรวมเป็นมูลค่าของโครงการ ได้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ ต้องไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน ต้องไม่เคยผ่านการใช้งานมาก่อน ต้องสามารถหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) แห่งประมวลรัษฎากร และต้องได้ทรัพย์สินนั้นมาและอยู่ใน สภาพพร้อมที่จะใช้การได้ตามประสงค์ภายใน 5 รอบระยะเวลาบัญชี นับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ เป็นต้นไป ต้องสามารถหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินตามมาตรา 65 ทวิ (2) แห่งประมวลรัษฎากร และต้องได้ทรัพย์สินนั้นมาและอยู่ใน สภาพพร้อมที่จะใช้การได้ตามประสงค์ภายใน 5 รอบระยะเวลาบัญชี นับแต่รอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม พ.ศ เป็นต้นไป ต้องหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินนั้นเป็นระยะเวลาไม่ น้อยกว่า 3 ปี นับแต่วันที่ทรัพย์สินอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้การได้ตาม ประสงค์ ต้องหักค่าสึกหรอและค่าเสื่อมราคาของทรัพย์สินนั้นเป็นระยะเวลาไม่ น้อยกว่า 3 ปี นับแต่วันที่ทรัพย์สินอยู่ในสภาพพร้อมที่จะใช้การได้ตาม ประสงค์ ต้องอยู่ในราชอาณาจักร แต่ไม่รวมถึงกรณีทรัพย์สินประเภท ยานพาหนะต้องเป็นทรัพย์สินที่ต้องจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วย ยานพาหนะนั้นๆ ในราชอาณาจักร ต้องอยู่ในราชอาณาจักร แต่ไม่รวมถึงกรณีทรัพย์สินประเภท ยานพาหนะต้องเป็นทรัพย์สินที่ต้องจดทะเบียนตามกฎหมายว่าด้วย ยานพาหนะนั้นๆ ในราชอาณาจักร
174 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่าย เพื่อการลงทุน หรือการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สินตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ ทรัพย์สินซึ่งมูลค่าของทรัพย์สินนั้นรวมเป็นมูลค่าของโครงการ ได้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ ทรัพย์สินซึ่งมูลค่าของทรัพย์สินนั้นรวมเป็นมูลค่าของโครงการ ได้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขดังต่อไปนี้ ต้องไม่นำไปใช้ในกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ซึ่งก่อให้เกิด รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมการลงทุน ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ต้องไม่นำไปใช้ในกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน ซึ่งก่อให้เกิด รายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยการ ส่งเสริมการลงทุน ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ต้องไม่นำไปใช้ในกิจการ ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลตามพระราชกฤษฎีกา ที่ออกตามความในประมวลรัษฎากร ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ต้องไม่นำไปใช้ในกิจการ ซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้ นิติบุคคลตามพระราชกฤษฎีกา ที่ออกตามความในประมวลรัษฎากร ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 156)
175 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่าย เพื่อการลงทุนตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ ต้องไม่ใช่ทรัพย์สินในกรณีดังต่อไปนี้ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่เกี่ยว ข้องกับทรัพย์สินนั้น ต้องไม่ใช่ทรัพย์สินในกรณีดังต่อไปนี้ ที่ได้รับสิทธิประโยชน์ทางภาษีที่เกี่ยว ข้องกับทรัพย์สินนั้น ทรัพย์สินอันเกิดจากรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็นค่าจ้างเพื่อการวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการส่งเสริมการ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีตาม พรฎ. (ฉบับที่ 297) พ.ศ ทรัพย์สินอันเกิดจากรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็นค่าจ้างเพื่อการวิจัยและ พัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการส่งเสริมการ วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีตาม พรฎ. (ฉบับที่ 297) พ.ศ เรือลำใหม่ที่ซื้อทดแทนเรือลำเก่าซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตาม มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมกิจการพาณิชยนาวีตาม พรฎ. (ฉบับที่ 299) พ.ศ เรือลำใหม่ที่ซื้อทดแทนเรือลำเก่าซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตาม มาตรการภาษีเพื่อส่งเสริมกิจการพาณิชยนาวีตาม พรฎ. (ฉบับที่ 299) พ.ศ อุปกรณ์ประหยัดพลังงานที่ซื้อทดแทนอุปกรณ์เดิมซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ ทางภาษีตามมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ พลังงานตาม พรฎ. (ฉบับที่ 436) พ.ศ อุปกรณ์ประหยัดพลังงานที่ซื้อทดแทนอุปกรณ์เดิมซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ ทางภาษีตามมาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ พลังงานตาม พรฎ. (ฉบับที่ 436) พ.ศ ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ซื้อทดแทน เครื่องจักรเก่าที่ใช้ในการประกอบกิจการซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี ตามมาตรการขายเครื่องจักรเก่าเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนตาม พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ซื้อทดแทน เครื่องจักรเก่าที่ใช้ในการประกอบกิจการซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษี ตามมาตรการขายเครื่องจักรเก่าเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนตาม พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549
176 หลักเกณฑ์ วิธีการและเงือนไข เกี่ยวกับเงินได้ที่ได้จ่าย เพื่อการลงทุน หรือการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดีขึ้นซึ่งทรัพย์สินตามมาตรา 3(1) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ ให้บริษัทมีสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นจำนวนร้อยละ 25 ของเงิน ได้ที่ได้จ่ายซึ่งเป็นมูลค่าของโครงการที่กำหนด และเป็นเงินได้ที่จ่ายไปจริง โดยบริษัทได้จ่ายเงินได้ดังกล่าวไปในรอบระยะเวลาบัญชีใด ให้มีสิทธิ ยกเว้นภาษีเงินได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น และต้องมีหลักฐานการจ่ายเงิน ที่ได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น ให้บริษัทมีสิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลเป็นจำนวนร้อยละ 25 ของเงิน ได้ที่ได้จ่ายซึ่งเป็นมูลค่าของโครงการที่กำหนด และเป็นเงินได้ที่จ่ายไปจริง โดยบริษัทได้จ่ายเงินได้ดังกล่าวไปในรอบระยะเวลาบัญชีใด ให้มีสิทธิ ยกเว้นภาษีเงินได้ในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น และต้องมีหลักฐานการจ่ายเงิน ที่ได้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีนั้น กรณีบริษัทได้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีใด แล้ว และต่อมาได้ปฏิบัติไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กำหนด บริษัทไม่มีสิทธิได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัทต้องนำเงิน ได้ที่ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปแล้ว ไปรวมเป็นรายได้ในการ คำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลและกรณีที่บริษัทยื่นแบบ แสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล เพิ่มเติมของรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น บริษัทต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากร กรณีบริษัทได้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลในรอบระยะเวลาบัญชีใด แล้ว และต่อมาได้ปฏิบัติไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่ กำหนด บริษัทไม่มีสิทธิได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล บริษัทต้องนำเงิน ได้ที่ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลไปแล้ว ไปรวมเป็นรายได้ในการ คำนวณกำไรสุทธิเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคลและกรณีที่บริษัทยื่นแบบ แสดงรายการภาษีเงินได้นิติบุคคลเพิ่มเติมเพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล เพิ่มเติมของรอบระยะเวลาบัญชีที่ได้ใช้สิทธิยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลนั้น บริษัทต้องรับผิดเสียเงินเพิ่มตามมาตรา 27 แห่งประมวลรัษฎากร
177 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 6. (ต่อ) สำหรับเงินได้ที่ได้รับจากการขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ ใช้ในการประกอบกิจการเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทน โดย จะต้องไม่นำมูลค่าต้นทุนส่วนที่เหลือของเครื่องจักรที่ขายมาหัก เป็นรายจ่ายในการคำนวณภาษีเงินได้ของบริษัทหรือห้างหุ้นส่วน นิติบุคคล ทั้งนี้ เฉพาะการขายที่ได้กระทำในระหว่างวันที่ 1 มกราคม 2549 ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2553 และตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีกรมสรรพากรประกาศกำหนด (ม.3 (2) แห่ง พรฎ. (ฉบับที่ 460) พ.ศ. 2549)
178 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลสำหรับเงินได้จากการขายเครื่องจักรเพื่อซื้อ เครื่องจักรใหม่ทดแทนตามม. 3 (2) แห่ง พรฎ. (ฉ. 460) ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ขายต้องมี หลักฐานการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ไม่ว่าจะเป็นใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี ใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ สัญญาซื้อขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน บัญชี ทรัพย์สิน หรือเอกสารอื่นใดในทำนองเดียวกัน โดยเครื่องจักรใหม่ที่ซื้อ ทดแทนต้องเป็นทรัพย์สินประเภทเดียวกันกับทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ ใช้ในการประกอบกิจการที่ขาย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มกำลังการผลิต หรือการให้บริการที่ดีขึ้น หรือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตหรือการ ให้บริการของกิจการ และต้องเป็นเครื่องจักรที่ไม่เคยผ่านการใช้งานมา ก่อน ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ขายต้องมี หลักฐานการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ไม่ว่าจะเป็นใบเสร็จรับเงิน ใบกำกับภาษี ใบส่งสินค้า ใบแจ้งหนี้ สัญญาซื้อขายโอนกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สิน บัญชี ทรัพย์สิน หรือเอกสารอื่นใดในทำนองเดียวกัน โดยเครื่องจักรใหม่ที่ซื้อ ทดแทนต้องเป็นทรัพย์สินประเภทเดียวกันกับทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ ใช้ในการประกอบกิจการที่ขาย ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มกำลังการผลิต หรือการให้บริการที่ดีขึ้น หรือเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิตหรือการ ให้บริการของกิจการ และต้องเป็นเครื่องจักรที่ไม่เคยผ่านการใช้งานมา ก่อน ประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 156)
179 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลสำหรับการขายเครื่องจักรเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ ทดแทนตามม. 3 (2) แห่ง พรฎ. (ฉ. 460) พ.ศ ในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักร ที่ใช้ในการประกอบกิจการก่อนซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทน บริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นต้องซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการ หรือในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซื้อทรัพย์สินประเภท เครื่องจักรใหม่ทดแทนก่อนขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการ ประกอบกิจการ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นต้องขายทรัพย์สิน ประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ได้ซื้อทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรใหม่ทดแทน ในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักร ที่ใช้ในการประกอบกิจการก่อนซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทน บริษัทหรือห้าง หุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นต้องซื้อเครื่องจักรใหม่ทดแทนภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการ หรือในกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลซื้อทรัพย์สินประเภท เครื่องจักรใหม่ทดแทนก่อนขายทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการ ประกอบกิจการ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลนั้นต้องขายทรัพย์สิน ประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการภายในระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี นับแต่วันที่ได้ซื้อทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรใหม่ทดแทน
180 หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการยกเว้นภาษีเงินได้นิติ บุคคลสำหรับการขายเครื่องจักรเพื่อซื้อเครื่องจักรใหม่ ทดแทนตามม. 3 (2) แห่ง พรฎ. (ฉ. 460) พ.ศ ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ขายเพื่อซื้อ เครื่องจักรใหม่ทดแทน ต้องไม่ใช่ทรัพย์สินในกรณีดังต่อไปนี้ ที่ได้รับสิทธิ ประโยชน์ทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้น ทรัพย์สินประเภทเครื่องจักรที่ใช้ในการประกอบกิจการที่ขายเพื่อซื้อ เครื่องจักรใหม่ทดแทน ต้องไม่ใช่ทรัพย์สินในกรณีดังต่อไปนี้ ที่ได้รับสิทธิ ประโยชน์ทางภาษีที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สินนั้น ทรัพย์สินที่นำไปใช้ในกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน ไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ทรัพย์สินที่นำไปใช้ในกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุนซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมการลงทุน ไม่ว่าทั้งหมด หรือบางส่วน ทรัพย์สินที่นำไปใช้ในกิจการซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามพระราชกฤษฎีกา ที่ออกตามความในประมวลรัษฎากร ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ทรัพย์สินที่นำไปใช้ในกิจการซึ่งก่อให้เกิดรายได้ที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ตามพระราชกฤษฎีกา ที่ออกตามความในประมวลรัษฎากร ไม่ว่าทั้งหมดหรือบางส่วน ทรัพย์สินอันเกิดจากรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็นค่าจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีตาม พรฎ. (ฉบับที่ 297) พ.ศ ทรัพย์สินอันเกิดจากรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็นค่าจ้างเพื่อการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยี ซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตามมาตรการส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีตาม พรฎ. (ฉบับที่ 297) พ.ศ อุปกรณ์ประหยัดพลังงานที่ซื้อทดแทนอุปกรณ์เดิมซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตาม มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานตามพรฎ (ฉบับที่ 436) พ.ศ อุปกรณ์ประหยัดพลังงานที่ซื้อทดแทนอุปกรณ์เดิมซึ่งใช้สิทธิประโยชน์ทางภาษีตาม มาตรการภาษีเพื่อสนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานตามพรฎ (ฉบับที่ 436) พ.ศ. 2548
181 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 7. ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 รอบระยะเวลาบัญชี ตามม. 65 ตรี (12) 8. รายจ่ายค่าขนส่งภายในประเทศ ค่าไฟฟ้า และค่าประปาจำนวน 100% ของรายจ่ายดังกล่าว สำหรับผู้ได้รับส่งเสริมการลงทุนใน เขต 3 ตามเงื่อนไข วิธีการ และระยะเวลาที่คณะกรรมการ BOI กำหนด 9. รายจ่ายในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่งอำนวยความสะดวก เช่น ระบบไฟฟ้า ถนน ระบบสาธารณูปโภคอื่น จำนวน 25% ของ รายจ่ายดังกล่าว สำหรับผู้ได้รับส่งเสริมการลงทุนในเขต 3 ตาม หลักเกณฑ์ที่คณะกรรมการ BOI กำหนด
182 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 10. พรบ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พ.ศ. 2550) มาตรา 37 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ออกกฎกระทรวง เพื่อกำหนด ลักษณะ หรือการจัดให้มีอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือบริการ ในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือบริการสาธารณะ อื่น ให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ มาตรา 37 ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการพัฒนาสังคมและความ มั่นคงของมนุษย์รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม และ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ออกกฎกระทรวง เพื่อกำหนด ลักษณะ หรือการจัดให้มีอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือบริการ ในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือบริการสาธารณะ อื่น ให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ เจ้าของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือผู้ ให้บริการสาธารณะอื่น ซึ่งได้จัดอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือ บริการตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิได้รับการลดหย่อนภาษี หรือยกเว้นภาษี เป็นร้อยละของจำนวนเงินค่าใช้จ่ายตามที่กฎหมายกำหนด เจ้าของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือผู้ ให้บริการสาธารณะอื่น ซึ่งได้จัดอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือ บริการตามวรรคหนึ่ง มีสิทธิได้รับการลดหย่อนภาษี หรือยกเว้นภาษี เป็นร้อยละของจำนวนเงินค่าใช้จ่ายตามที่กฎหมายกำหนด มาตรา 38 นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการที่จ้างคนพิการเข้า ทำงานมากกว่าร้อยละหกสิบของลูกจ้างในสถานประกอบการนั้น โดย มีระยะเวลาจ้างเกินกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันในปีภาษีใดมีสิทธิได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้ในปีภาษีนั้น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกำหนด มาตรา 38 นายจ้างหรือเจ้าของสถานประกอบการที่จ้างคนพิการเข้า ทำงานมากกว่าร้อยละหกสิบของลูกจ้างในสถานประกอบการนั้น โดย มีระยะเวลาจ้างเกินกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันในปีภาษีใดมีสิทธิได้รับ ยกเว้นภาษีเงินได้ในปีภาษีนั้น ทั้งนี้ ตามที่กฎหมายกำหนด
183 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 10. พรบ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ (พ.ศ. 2550) และ พรฎ. (ฉบับที่ 499) พ.ศ ใช้บังคับ 10 มิ.ย ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่นายจ้างหรือเจ้าของสถาน ประกอบการซึ่งรับคนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการตามกฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเข้าทำงานสำหรับเงิน ได้ เป็นจำนวนร้อยละ 100 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการ จ้างคนพิการดังกล่าว (มาตรา 3) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่นายจ้างหรือเจ้าของสถาน ประกอบการซึ่งรับคนพิการที่มีบัตรประจำตัวคนพิการตามกฎหมายว่า ด้วยการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการเข้าทำงานสำหรับเงิน ได้ เป็นจำนวนร้อยละ 100 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการ จ้างคนพิการดังกล่าว (มาตรา 3) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่ เจ้าของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือผู้ให้บริการ สาธารณะอื่น ซึ่งได้จัดอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือบริการใน อาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือบริการสาธารณะอื่น ให้แก่คนพิการในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ ตามกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ สำหรับเงินได้เป็นจำนวน ร้อยละ 100 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดให้มีอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือบริการดังกล่าว (มาตรา 4) ให้ยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาและภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่ เจ้าของอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือผู้ให้บริการ สาธารณะอื่น ซึ่งได้จัดอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือบริการใน อาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือบริการสาธารณะอื่น ให้แก่คนพิการในการเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ ตามกฎหมายว่าด้วย การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ สำหรับเงินได้เป็นจำนวน ร้อยละ 100 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าใช้จ่ายในการจัดให้มีอุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือบริการดังกล่าว (มาตรา 4)
184 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 11 ค่าเช่าพื้นที่ ค่าก่อสร้างสถานที่จัดแสดง ค่าประกันภัย ค่าระวาง หรือค่าขนส่งสินค้าและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าร่วมงาน ออก ร้าน งานนิทรรศการหรืองานแสดงสินค้าทั้งในประเทศและ ต่างประเทศ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สำหรับเงินได้เป็นจำนวนร้อยละ100 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าเช่า พื้นที่ ค่าก่อสร้างสถานที่จัดแสดง ค่าประกันภัย ค่าระวาง หรือค่าขนส่ง สินค้าและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าร่วมงานออกร้าน งานนิทรรศการหรือ งานแสดงสินค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ สำหรับรายจ่ายที่ได้จ่าย ไปตั้งแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้มีผลใช้บังคับถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีหนังสือ รับรองจากหน่วยงานของรัฐว่าได้เข้าร่วมงานจริง ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคล ให้แก่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล สำหรับเงินได้เป็นจำนวนร้อยละ100 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นค่าเช่า พื้นที่ ค่าก่อสร้างสถานที่จัดแสดง ค่าประกันภัย ค่าระวาง หรือค่าขนส่ง สินค้าและอุปกรณ์ที่ใช้ในการเข้าร่วมงานออกร้าน งานนิทรรศการหรือ งานแสดงสินค้าทั้งในประเทศและต่างประเทศ สำหรับรายจ่ายที่ได้จ่าย ไปตั้งแต่วันที่พระราชกฤษฎีกานี้มีผลใช้บังคับถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2554 ทั้งนี้ เฉพาะกรณีที่บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีหนังสือ รับรองจากหน่วยงานของรัฐว่าได้เข้าร่วมงานจริง พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้น รัษฎากร (ฉบับที่ 503) พ.ศ พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้น รัษฎากร (ฉบับที่ 503) พ.ศ. 2553
185 รายจ่ายที่หักได้เพิ่มขึ้น 12 ค่าห้องสัมมนา ค่าห้องพัก ค่าขนส่งหรือรายจ่ายอื่นที่เกี่ยวข้อง ในการอบรมสัมมนาภายในประเทศ ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับเงินได้เป็นจำนวนร้อยละ 100 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็นค่าห้องสัมมนา ค่าห้องพัก ค่าขนส่งหรือ รายจ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องในการอบรมสัมมนาภายในประเทศที่บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้จัดขึ้นให้แก่ลูกจ้าง หรือรายจ่ายที่ได้จ่ายให้แก่ ผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุ เทศก์เพื่อการอบรมสัมมนาดังกล่าวเป็นเวลาสองรอบระยะเวลาบัญชี สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2553 ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด ให้ยกเว้นภาษีเงินได้นิติบุคคลสำหรับเงินได้เป็นจำนวนร้อยละ 100 ของรายจ่ายที่ได้จ่ายไปเป็นค่าห้องสัมมนา ค่าห้องพัก ค่าขนส่งหรือ รายจ่ายอื่นที่เกี่ยวข้องในการอบรมสัมมนาภายในประเทศที่บริษัทหรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลได้จัดขึ้นให้แก่ลูกจ้าง หรือรายจ่ายที่ได้จ่ายให้แก่ ผู้ประกอบธุรกิจนำเที่ยวตามกฎหมายว่าด้วยธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุ เทศก์เพื่อการอบรมสัมมนาดังกล่าวเป็นเวลาสองรอบระยะเวลาบัญชี สำหรับรอบระยะเวลาบัญชีที่เริ่มในหรือหลังวันที่ 1 มกราคม 2553 ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขที่อธิบดีประกาศกำหนด พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้น รัษฎากร (ฉบับที่ 506) พ.ศ พระราชกฤษฎีกาออกตามความในประมวลรัษฎากร ว่าด้วยการยกเว้น รัษฎากร (ฉบับที่ 506) พ.ศ. 2553
186 สรุปการยกเว้น CIT โดยหักรายจ่ายได้เพิ่ม บทบัญญัติรายการ หักได้ % มาตรา 65 ตรี(12) มาตรา 65 ตรี(12) ผลขาดทุนสุทธิยกมาไม่เกิน 5 ปี 100% พรฎ. (ฉ.297) พรฎ. (ฉ.297) รายจ่ายในการวิจัยและพัฒนา (R&D) 200% พรฎ. (ฉ.437) พรฎ. (ฉ.437)รายจ่ายในการฝึกอบรมและพัฒนา200% พรฎ. (ฉ.420) พรฎ. (ฉ.420)รายจ่ายสนับสนุนการศึกษา200% พรฎ. (ฉ.428) พรฎ. (ฉ.428) รายจ่ายเพื่อการสนับสนุนด้านการ เรียนรู้และนันทนาการ 200% พรฎ. (ฉ.436) พรฎ. (ฉ.436) ค่าใช้จ่ายเพื่อการได้มาซึ่งทรัพย์สิน ประเภทอุปกรณ์ที่มีผลต่อการประหยัด พลังงานเพื่อการปรับเปลี่ยนแทน อุปกรณ์เดิม 125% พรฎ. (ฉ.438) พรฎ. (ฉ.438) รายจ่ายที่ได้จ่ายเป็นเงินเพิ่มค่าครอง ชีพพิเศษให้แก่ลูกจ้างของตน 150%
187 สรุปการยกเว้น CIT โดยหักรายจ่ายได้เพิ่ม บทบัญญัติรายการ หักได้ % พรฎ. (ฉ.458) พรฎ. (ฉ.458) รายจ่ายในการบริจาคสนับสนุนการ กีฬาตามโครงการตามยุทธศาสตร์ 4 ปี สร้างกีฬาชาติ (พ.ศ – 2551) แก่กองทุนพัฒนาการกีฬาแห่งชาติ 150% พรฎ. (ฉ.460) พรฎ. (ฉ.460) จ่ายเพื่อการลงทุนหรือการต่อเติม เปลี่ยนแปลง ขยายออก หรือทำให้ดี ขึ้นซึ่งทรัพย์สิน ตามมาตรา 65 ตรี (5) ให้แก่บริษัทจดทะเบียน 125% พรบ. BOI พรบ. BOI รายจ่ายค่าขนส่งภายในประเทศ ค่า ไฟฟ้า และค่าประปาจำนวน 200% พรบ. BOI พรบ. BOI รายจ่ายในการติดตั้งหรือก่อสร้างสิ่ง อำนวยความสะดวก เช่น ระบบไฟฟ้า ถนน ระบบสาธารณูปโภคอื่น 125%125%125%125%
188 สรุปการยกเว้น CIT โดยหักรายจ่ายได้เพิ่ม บทบัญญัติรายการ หักได้ % พรบ. ส่งเสริมและ พัฒนาคนพิการ พ.ศ พรบ. ส่งเสริมและ พัฒนาคนพิการ พ.ศ มาตรา 37 รายจ่ายในการจัดให้มี อุปกรณ์ สิ่งอำนวยความสะดวก หรือ บริการในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ บริการขนส่ง หรือบริการสาธารณะอื่น ให้คนพิการสามารถเข้าถึงและใช้ ประโยชน์ได้ 200% มาตรา 38 ค่าจ้างคนพิการเข้าทำงาน มากกว่า 60% ของลูกจ้างในสถาน ประกอบการนั้น โดยมีระยะเวลาจ้าง เกินกว่าหนึ่งร้อยแปดสิบวันในปีภาษี 200%
189 รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารไม่เกิน 10 คน Sedan Coupe/ Sport Wagon Utility
190 รถยนต์นั่งหรือรถยนต์โดยสารไม่เกิน 10 คน Alterative รถดัดแปลง Van Double Cab
191 รถยนต์อื่นหรือรถยนต์โดยสารเกิน 10 คน Pick up Normal Pick up Cab Van 11 seat
192 ผู้ขายผู้ให้เช่าผู้ใช้ 1. ต้นทุนเพื่อการคิดค่า สึกหรอและค่าเสื่อม สึกหรอและค่าเสื่อม ราคา ราคา ไม่มี, ยอม ให้ถือเป็น รายจ่ายทั้ง จำนวน ไม่เกิน 1 ล้านบาท, ส่วนที่เกินยอมให้ ถือเป็นรายจ่ายได้ เมื่อจำหน่าย ไม่เกิน 1 ล้านบาท, ส่วนที่เกินถือเป็น รายจ่ายต้องห้าม ตามพรฎ.(ฉ.315) 2. ค่าเช่า -- < 36,000 บ./ด. หรือ <1,200 บ./ว. 3. ภาษีซื้อสำหรับ - รถยนต์ - ค่าอะไหล่ ค่าซ่อม - ค่าน้ำมัน รถยนต์นั่ง/รถยนต์โดยสารไม่เกิน 10 ที่นั่ง รายการ บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล
193 พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 145) ให้คิดค่าสึกหรอและค่า เสื่อมราคาได้เฉพาะมูลค่าต้นทุนในส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้าน พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 145) ให้คิดค่าสึกหรอและค่า เสื่อมราคาได้เฉพาะมูลค่าต้นทุนในส่วนที่ไม่เกิน 1 ล้าน Leaser มูลค่าต้นทุนไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม Leaser มูลค่าต้นทุนไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม User มูลค่าต้นทุนรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม User มูลค่าต้นทุนรวมภาษีมูลค่าเพิ่ม พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 315) พระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 315) Leaser มูลค่าต้นทุนในส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท ไม่ถือเป็นรายจ่าย ต้องห้าม Leaser มูลค่าต้นทุนในส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท ไม่ถือเป็นรายจ่าย ต้องห้าม User มูลค่าต้นทุนในส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท ถือเป็นรายจ่าย ต้องห้าม ตามมาตรา 65 ตรี (20) User มูลค่าต้นทุนในส่วนที่เกิน 1 ล้านบาท ถือเป็นรายจ่าย ต้องห้าม ตามมาตรา 65 ตรี (20) รถยนต์นั่ง/รถยนต์โดยสารไม่เกิน 10 ที่นั่ง
194 การตีราคาทรัพย์สินอย่างอื่น ที่มิใช่สินค้าคงเหลือ มาตรา 65 ทวิ (3) 1. ให้ถือตามราคาที่พึงซื้อทรัพย์สินนั้นได้ตามปกติ 2. กรณีตีราคาทรัพย์สินเพิ่มขึ้น ห้ามมิให้นำมารวมคำนวณกำไร และขาดทุนสุทธิ และไม่มีสิทธินำมาคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อม ราคา 3. ห้ามมิให้นำมูลค่าของทรัพย์สินในส่วนที่ตีราคาต่ำลงมาถือเป็น รายจ่ายในการคำนวณกำไรและขาดทุนสุทธิ (มาตรา 65 ตรี (17))
195 การตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินที่มีค่า เป็นเงินตราต่างประเทศ ตามมาตรา 65 ทวิ (5) 1. กรณีได้เงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินมาหรือจ่ายเงินตรา ทรัพย์สิน หรือหนี้สินไประหว่างรอบระยะเวลาบัญชี ให้คำนวณ ค่าหรือราคาเป็นเงินตราไทยตามราคาตลาดในวันที่รับมาหรือ จ่ายไปนั้น 2. กรณีคงเหลืออยู่ในวันสุดท้ายของรอบระยะเวลาบัญชี (1) สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไป ให้ตีราคา เงินตรา หรือทรัพย์สินตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์รับซื้อ และให้ตีราคาหนี้สินตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์ขาย (1) สำหรับบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทั่วไป ให้ตีราคา เงินตรา หรือทรัพย์สินตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์รับซื้อ และให้ตีราคาหนี้สินตามอัตราถัวเฉลี่ยที่ธนาคารพาณิชย์ขาย (2) สำหรับธนาคารพาณิชย์ ให้ตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน และ หนี้สินตามอัตราถัวเฉลี่ยของอัตรารับซื้อและอัตราขาย (2) สำหรับธนาคารพาณิชย์ ให้ตีราคาเงินตรา ทรัพย์สิน และ หนี้สินตามอัตราถัวเฉลี่ยของอัตรารับซื้อและอัตราขาย
196 การตีราคาสินค้าคงเหลือ มาตรา 65 ทวิ (6) 1. ให้ตีราคาตามราคาทุนหรือราคาตลาด แล้วแต่อย่างใดจะต่ำกว่า และให้ถือเป็นราคาสินค้าคงเหลือยกมาสำหรับรอบระยะเวลา บัญชีปีถัดไปด้วย 2. การตีราคาสินค้าคงเหลือตามราคาทุน เมื่อได้เลือกปฏิบัติตาม หลักเกณฑ์ใดตามวิชาการบัญชี ให้ใช้หลักเกณฑ์นั้นตลอดไป เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากอธิบดีกรมสรรพากร หลักทรัพย์เพื่อค้า = สินค้า กรณีคงเหลือ ณ วันสุดท้ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีให้ตีราคาตามหลัก LCM Principle หลักทรัพย์เผือขาย = ทรัพย์สิน ถือปฏิบัติตาม ม.65 ทวิ (3)
197 สินค้าล้าสมัย (Obsolete Goods) สินค้าเสื่อมคุณภาพ (Expired Goods) สินค้าชำรุด (Damage Goods) x x ม.65 ทวิ(6) = Deductible Expenditure LCM Principle: Devalue Destroy #2 ป.79/2541 x Appraisal x Destroy #1 ป.79/2541 ถือเป็นรายจ่ายตาม ราคาทุน ถือเป็นรายจ่ายตาม ราคาทุนคงเหลือสุทธิ
198 Destroyed Goods Character of Goods that Want to Destroy Character of Goods that Want to Destroy Not Normal Waste in manufacture process Not Normal Waste in manufacture process Expired Goods (สินค้าหมดอายุ) Expired Goods (สินค้าหมดอายุ) Obsolete Goods (สินค้าล้าสมัย) Obsolete Goods (สินค้าล้าสมัย) Damage Goods (สินค้าชำรุด) Damage Goods (สินค้าชำรุด) have Good Internal Control enough have Good Internal Control enough Separate Stock Separate Stock have Supporting Documents (C/N, Stock Book, Report) have Supporting Documents (C/N, Stock Book, Report) has Authorized Approval has Authorized Approval Inform Auditor Inform Auditor Declare to RD’s Officer Declare to RD’s Officer
199 ป.79/2541 Destroyed Goods BOI Goods EPZ Goods Wait for Destroy Follow BOI Regulation Follow EPZ Regulation No need Pre-declare Y Y Y N N N 1. Name, Category, Quantity & Value of Goods 2. Reason 3. Destroyed Method 4. Timing & Place Chemical, Fresh Goods Pre-declare ≥30 days before destroy
200 Securities: หลักทรัพย์ มีไว้เพื่อค้าหากำไร YN หลักทรัพย์ที่มีไว้เพื่อค้า ถือปฏิบัติตามม. 65 ทวิ(3) - ส่วนที่ตีราคาเพิ่มขึ้นไม่ถือ เป็นรายได้ - มูลค่าหลักทรัพย์ส่วนที่ตีราคา ต่ำลงถือเป็นรายจ่ายต้องห้าม ตามม. 65ตรี(17) ถือปฏิบัติเช่นเดียวกับสินค้า คงเหลือปลายงวดตีราคาหลัก ทรัพย์ตามราคาทุนหรือราคา ตลาดแล้วแต่อย่างใดจะต่ำกว่า (LCM Principle) ตามม.65 ทวิ (6) หลักทรัพย์ที่มีไว้เผื่อขาย
201 การตีราคาทรัพย์สิน ณ วันเลิกกิจการ มาตรา 74(1) 1. กรณีเลิกกิจการ ให้ถือตีราคาตามราคาตลาดในวันเลิกกิจการนั้น 2. กรณีควบกิจการ หรือโอนกิจการ (1) ให้กิจการที่เลิกไปโดยการควบ หรือโอนกิจการนั้น ตีราคา ทรัพย์สินตามราคาตลาดในวันที่ควบหรือโอนกิจการ แต่ไม่ต้อง นำกำไรหรือขาดทุนดังกล่าวไปรวมคำนวณกำไรและขาดทุนสุทธิ เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (1) ให้กิจการที่เลิกไปโดยการควบ หรือโอนกิจการนั้น ตีราคา ทรัพย์สินตามราคาตลาดในวันที่ควบหรือโอนกิจการ แต่ไม่ต้อง นำกำไรหรือขาดทุนดังกล่าวไปรวมคำนวณกำไรและขาดทุนสุทธิ เพื่อเสียภาษีเงินได้นิติบุคคล (2) ให้กิจการที่รับโอนทรัพย์สิน บันทึกทรัพย์สินตามราคาที่ตี ขึ้นใหม่ (ราคาตลาด) นั้น แต่ให้มีสิทธิคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อม ราคาสำหรับทรัพย์สินนั้นตามมูลค่าต้นทุนเดิม วิธีการเดิม และ ระยะเวลาต่อเนื่องจากกิจการเดิมที่ได้โอนทรัพย์สินมาให้นั้น จนกว่าจะมีการจำหน่ายทรัพย์สินนั้นไป (2) ให้กิจการที่รับโอนทรัพย์สิน บันทึกทรัพย์สินตามราคาที่ตี ขึ้นใหม่ (ราคาตลาด) นั้น แต่ให้มีสิทธิคิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อม ราคาสำหรับทรัพย์สินนั้นตามมูลค่าต้นทุนเดิม วิธีการเดิม และ ระยะเวลาต่อเนื่องจากกิจการเดิมที่ได้โอนทรัพย์สินมาให้นั้น จนกว่าจะมีการจำหน่ายทรัพย์สินนั้นไป
202 A Co. ltd. B Co. ltd. Each Corporate Dissolved A+B = A /B (Transferred) X+Y = Z (Amalgamation) See Section 74(1)(ก) Y N See Section 74(1)(ข)(ค) Y DescriptionTransferorTransferee A+B = B (Transferred) AB A+B = A (Transfer) BA X+Y = Z (Amalgamation) X & Y Z การตีราคาทรัพย์สิน ณ วันเลิกกิจการ
203 รายการผู้โอนผู้รับโอน 1. การตีราคา ทรัพย์สิน (1) ตีราคาทรัพย์สินตาม ตลาดในวันที่ควบหรือ โอนกิจการ (2) บันทึกรับรู้รายได้หรือ รายจ่ายจากการตีราคาฯ ทางบัญชี แต่ไม่ต้องนำ รายได้หรือรายจ่ายนั้นไป รวมคำนวณกำไรและ ขาดทุนสุทธิเพื่อเสียภาษี เงินได้นิติบุคคล (1) บันทึกรับรู้ทรัพย์สินตาม ราคาที่รับโอนนั้น (2) ให้คิดค่าสึกหรอและค่าเสื่อม ราคาตามมูลค่าต้นทุนเดิม วิธีการเดิม และระยะ เวลาต่อ เนื่องจากที่ผู้โอนได้ถือปฏิบัติ (3) เมือมีการจำหน่ายทรัพย์สิน นั้นไป ให้คำนวณกำไรหรือ ขาดทุนจากราคาทรัพย์สินที่รับ โอน โดยปรับปรุงด้วยผลต่าง ของค่าเสื่อมราคา 2. วัตถุ ประสงค์ ประสงค์ เพื่อคำนวณส่วนได้ส่วนเสีย ของเจ้าของกิจการและรับรู้ เป็นรายได้ (รายจ่าย) ถือเสมือนหนึ่งผู้โอนยังคงดำเนิน กิจการต่อไปจนกว่าจะได้มีการ จำหน่ายทรัพย์สินนั้นไป การตีราคาทรัพย์สิน ณ วันเลิกกิจการ
204 A. co. ltd. NP B. co. ltd. NL Executive A + B = B A + B = A A + B = C Formula Choose Impact ม.72, 73, 74
205 A. co. ltd. Net Loss B. co. ltd. Net Profit Question 1: Who should be dissolve and why? Who should be dissolve and why?Answer: B should be dissolve, A + B = A. B should be dissolve, A + B = A. Because, A has right in tax shield. Because, A has right in tax shield. Question 2: How can A pay dividend for shareholders? How can A pay dividend for shareholders?Answer: A reduce capital and reduce NL. Then A increase A reduce capital and reduce NL. Then A increase capital, but still use tax shield. So A doesn ’ t pay capital, but still use tax shield. So A doesn ’ t pay CIT but can pay dividend for shareholders. CIT but can pay dividend for shareholders. Business Transferred Planning Transferred
206 บัญชีเงินกู้ยืมกรรมการ (จน.) สาเหตุ สาเหตุ ธรรมชาติของบัญชีเงินกู้กรรมการอยู่ด้านเครดิตเช่นเดียวกับ บัญชีรายได้ ธรรมชาติของบัญชีเงินกู้กรรมการอยู่ด้านเครดิตเช่นเดียวกับ บัญชีรายได้ การให้กู้เงินของกรรมการเป็นการประกอบกิจการเยี่ยง ธนาคารพาณิชย์ การให้กู้เงินของกรรมการเป็นการประกอบกิจการเยี่ยง ธนาคารพาณิชย์ เมื่อเลิกกิจการยังคงมีบัญชีเจ้าหนี้กรรมการ เมื่อเลิกกิจการยังคงมีบัญชีเจ้าหนี้กรรมการ