บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข
1 ประเมินผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติงานตาม เป้าหมาย / ยุทธศาสตร์การพัฒนางาน สุขภาพจิต และภารกิจที่สำคัญ 2 ประสานการดำเนินงานระหว่างกรมสุขภาพจิต และหน่วยงานในระดับเขต 3 พัฒนาแนวทางการดำเนินงานให้สอดคล้อง กับสถานการณ์ของพื้นที่ 4 ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนางาน สุขภาพจิต / ภารกิจ ที่สำคัญ และการแก้ไข ปัญหาสุขภาพจิตในแต่ละพื้นที่
1. Internal audit 2. External audit
ภารกิจใหม่ แผน ยุทธศาสตร์ คุณภาพ กระบวนการ ( มาตรฐาน ) กระทรวง สธ. น. ผู้ทรงคุณวุฒิ, ผู้เชี่ยวชาญ External Audit Internal Audit เขต CEO นักวิชาการ (2 เสือ ) CEO + ศูนย์เขต / รพ. จ ศูนย์เขต + รพ. จ คณะทำงาน รพ. + ศูนย์ 1 ปี 30% 2 ปี 70% 3 ปี 100% โดย Q.assessment * เฉพาะหน้า ช่วย วิเคราะห์ / เสนอแนะ ติดตาม / ปรับปรุง Sup./KM + พัฒ นา
ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ 17 ประเด็น 4 ตัวชี้วัด ที่กรมรับผิดชอบ 1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (IQ/EQ/ พัฒนาการไม่สมวัย ) 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบและจัดระบบบริการ สุขภาพ - ซึมเศร้า - MCATT - Psychosocial care และ การติดตาม service track จิตเวช ใน service plan ซึ่งประกอบด้วย - สารเสพติด / โรคเรื้อรัง /OSCC/ ท้องไม่พร้อม / สุรา ยาเสพติด / ความรุนแรงและ Service คุณภาพ (ANC/DCC/WCC/NCD/Psychosocial clinic) ตาม กลุ่มวัย -District Health System (DHS)
1. ทราบสถานการณ์ 2. สะท้อนปัญหา 3. กระตุ้นการทำงาน
1. ดำเนินการตรวจราชการงานสุขภาพจิตในระดับ เขตที่รับผิดชอบ 2. ให้คำปรึกษา / ข้อเสนอแนะการแก้ไขปัญหาการ ดำเนินงานสุขภาพจิตในระดับเขต 3. ร่วมประชุมการพัฒนางานสุขภาพจิตในคณะตรวจ ราชการงานสุขภาพจิต 4. จัดทำสรุปรายงานการตรวจราชการงาน สุขภาพจิต / ข้อเสนอแนะ ต่อสำนักตรวจราชการ สาธารณสุขในระดับเขต และกรมสุขภาพจิต
รูปแบบที่ 1 ศูนย์สุขภาพจิตเขตลงติดตาม / สนับสนุน / ให้คำปรึกษา รูปแบบที่ 2 ร่วมทีมตรวจราชการสาธารณสุข ใช้ ระยะเวลาในการตรวจราชการ จำนวน 3 วัน วันที่ 1-2 ดำเนินการตรวจตามประเด็นการตรวจ ราชการ วันที่ 3 ช่วงเช้า เวลา น. เตรียม ความพร้อมทีม Regulator ช่วงบ่าย เวลา น. นำเสนอ ผลการตรวจราชการ กับประธานคณะกรรมการเขต บริการสุขภาพ (CEO) ช่วงบ่าย เวลา น. นำเสนอ ผลการตรวจราชการ กับประธานคณะกรรมการเขต บริการสุขภาพ (CEO) รูปแบบที่ 3 รูปแบบอื่น โดยทีมตรวจราชการเขต บริการสุขภาพพิจารณาตามความเหมาะสม
1. รายงานเฉพาะประเด็น รายเดือน และราย ไตรมาส เสนอต่อ Board of Regulator 2. รายงานผลการตรวจราชการเขตบริการ สุขภาพที่ 1-12 ทุกจังหวัด ปีละ 2 ครั้ง 3 ประชุมสรุปผลการตรวจราชการประจำปี 2557 ปลายปีงบประมาณ 1 ครั้ง
แบบรายงาน ตก.1 และ ตก.2 มีสาระสำคัญ ประกอบด้วย 1. ประเด็นการตรวจราชการ 2. ข้อมูลแสดงผลการดำเนินงานหรือการบรรลุ เป้าหมาย ( ข้อมูลเชิงปริมาณ / ข้อมูลเชิง คุณภาพ ) 3. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้การดำเนินงานสำเร็จ ( กรณีที่บรรลุเป้าหมาย ) 4. ปัจจัยสำคัญที่ทำให้การดำเนินงานไม่บรรลุ เป้าหมาย ( กรณีที่ไม่บรรลุเป้าหมาย ) และ ข้อเสนอที่ให้ต่อหน่วยรับตรวจ 5. ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย 6. นวัตกรรมที่สามารถเป็นแบบอย่าง ( ถ้ามี )