บทที่ 8 การใช้งาน Control อ. สุรินทร์ทิพ ศักดิ์ภูวดล สำนักวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร
การใช้งาน Image การแสดงรูปโดย Image Imagename.Picture = LoadPicture(“Filename”) ตัวอย่างคำสั่ง ImgPicture.Picture = LoadPicture(“c:\Image\Flower.jpg”) การลบรูปภาพออกจาก Image ImgPicture.Picture = LoadPicture(“”)
การใช้ TabStrip
วิธีการสร้าง 1. สร้าง Form ใหม่ชื่อ frmData แล้วแทรก control TabStrip1 ลงบน Form ดังรูป แล้วตั้งชื่อ control ดังภาพ TabStrip1 fraEdu frmData 2. เปลี่ยนชื่อ Tab1, Tab2 เป็น ข้อมูลส่วนตัว, การศึกษา 3. แทรก control อื่นๆ ดังภาพ
จากนั้นทดสอบ คำสั่งต่อไปนี้ Private Sub UserForm_Initialize() frmData.FraEdu.Visible = False End Sub Private Sub TabStrip1_Click(ByVal Index As Long) Select Case TabStrip1.SelectedItem.Index Case 0 frmData.FraEdu.Visible = False Case 1 frmData.FraEdu.Visible = True End Select End Sub
การใช้ Multipage ให้นิสิต สร้าง Form และใช้ control MultiPage ดังรูป 1. เปลี่ยนชื่อ Page1 เป็น ข้อมูลส่วนตัว โดยการ Click ขวาที่ Page แล้วเปลี่ยนชื่อ 2. เปลี่ยนชื่อ Page2 เป็น การศึกษา 3. จากนั้นใส่ Control ดังภาพ
การใช้ Multipage ( ต่อ ) จากนั้น Run ดูการทำงาน และสังเกตความ แตกต่าง ระหว่าง TabStrip และ MultiPage
การใช้ Multipage ( ต่อ ) การเพิ่ม Page ใหม่ โดย Click ขวา ตรงคำว่า “ ข้อมูลส่วนตัว ” แล้วเลือก New Page ดังรูป
ความแตกต่างระหว่าง TabStrip และ MultiPage TabStrip ไม่แยกพื้นที่การทำงานออกจากกัน เมื่อต้องการแสดงข้อมูลของ Tab ใดๆ ต้อง เขียนคำสั่งควบคุม Multipage จะแยกพื้นที่การทำงานออกจากกัน เมื่อ Run Program ไม่จำเป็นต้องเขียนคำสั่ง คอยควบคุมการแสดง Control ของแต่ละ Page เมื่อเลือก Page ใดจะแสดง Control ของ Page นั้นๆ เท่านั้น
การใช้ ScrollBar ให้นิสิตสร้างหน้าจอดังภาพ
การใช้ ScrollBar ให้นิสิตสร้างข้อมูลดังภาพ
Private Sub Workbook_Open() frmData.Show End Sub ให้ Double Click ที่ ThisWorkbook และพิมพ์ คำสั่งดังกล่าว
การใช้ ScrollBar Private Sub UserForm_Initialize() ‘’’’ ในครั้งแรก ScrollBar1.Value = 0 Range("B3").Select txtProvince.Value = ActiveCell.Value txtSale.Value = ActiveCell.Offset(0, 1).Value txtProfit.Value = ActiveCell.Offset(0, 2).Value End Sub
การใช้ ScrollBar Private Sub ScrollBar1_Change() Row = ScrollBar1.Value txtProvince = ActiveCell.Offset(Row, 0).Value txtSale = ActiveCell.Offset(Row, 1).Value txtProfit = ActiveCell.Offset(Row, 2).Value End Sub
ให้นิสิตสังเกตความแตกต่างระหว่าง 2 คำสั่งนี้ txtProvince = ActiveCell.Offset(Row, 0).Value txtProvince = ActiveCell.(Row, 0).Value
การสร้าง User Form ให้นิสิตสร้าง Form ดังรูป
การสร้าง User Form Private Sub Workbook_Open() Menuform.Show End Sub ให้ Double Click ที่ ThisWorkbook และพิมพ์ คำสั่งดังกล่าว
การสร้าง User Form Private Sub cmdClose_Click() Unload Me End Sub จากนั้นให้นิสิตลอง Run โปรแกรม
การกำหนด Cell แบบ Cells Property คำสั่งบอกตำแหน่งด้วย cells(Row,Column) A1 =cells(1,1), B1=cells(1,2), C1=cells(1,3)… A2 =cells(2,1), B2=cells(2,2), C2=cells(2,3)…
คำสั่งที่ใช้เลือก Cell โดยการกำหนด Range Object Range(“A1”).Select = เลือก Cell A1 Range(“A1:B4”).Select = เลือกช่วง Cell A1 ถึง B4 Range(“MyRange”).Select = เลือกช่วง Cell ที่มีชื่อว่า MyRange คำสั่งที่ใช้เลือก Cell โดยการกำหนด Cells Property Cells(1,1).select= เลือก Cell A1 ActiveCell.cells (2,4).Select= ?
ให้นิสิตหาว่า คำสั่งต่อไปนี้ถูก หรือไม่ Range(cells(1,1),(3,4)).Select= เลือก ช่วง Cell A1 ถึง D3
หนังสืออ้างอิง conventions/3/ conventions/3/ NamingConventions.pdf เรียนลัด VBA บน Excel, วิศัลย์ พัวรุ่งโรจน์ Excel VBA Programming, วิชา ศิริธรรมจักร และสุรเชษฐ์ วงศ์ชัยพรพงษ์ มือใหม่เริ่มเรียน หัดเขียน Macro และ VBA บน Microsoft Excel, ว่าที่ร้อยโท ณัฐศิระ เยาวสุต, P