การเปรียบเทียบ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างการสอนแบบร่วมมือ กับแบบทดลอง เรื่อง การทำงานของ หม้อแปลงไฟฟ้า รายวิชา หม้อ แปลงไฟฟ้า นักเรียนระดับปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง ผู้วิจัย : อ. วัชราภรณ์ วงศ์สุนทร วิทยาลัยเทคโนโลยี พัทยา
วัตถุประสงค์ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาหม้อแปลงไฟฟ้า เรื่อง การ ทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้า ของ นักเรียนชั้น ปวช.1 สาขาวิชาไฟฟ้า กำลัง โดยใช้วิธีการสอนแบบร่วมมือ และแบบทดลอง
ขอบเขตของการวิจัย 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 1.1 ประชากร คือ นักเรียน ชั้น ปวช. 1 สาขาวิชา 1.1 ประชากร คือ นักเรียน ชั้น ปวช. 1 สาขาวิชา ไฟฟ้ากำลัง ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน ชั้น ปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 12 คน 1.2 กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียน ชั้น ปวช. 1 สาขาวิชาไฟฟ้ากำลัง ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557 จำนวน 12 คน
ผลการวิเคราะห์ข้อมูลผลคะแนนการสอนแบบร่วมมือ นักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบร่วมมือ มีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางเรียนก่อน เรียน = 3.50 และหลังเรียน = 7.50 มี คะแนนเพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 4 คะแนน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ ระดับ.05 = เมื่อ t > t วิกฤต (18.76>1.79) แสดงให้เห็นว่านักเรียนที่ เรียนโดยวิธีการสอนแบบร่วมมือ มีการ พัฒนาความก้าวหน้าทางการเรียนรู้ เพิ่มขึ้นเป็นที่น่าพอใจ
ผลคะแนนการสอนแบบทดลอง นักเรียนที่เรียนด้วยการสอนแบบทดลอง มี คะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางเรียนก่อนเรียน = 3.50 และหลังเรียน = 7.75 มีคะแนน เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ย 4.25 คะแนน แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 = เมื่อ t > t วิกฤต (11.43>1.79) แสดง ให้เห็นว่านักเรียนที่เรียนโดยวิธีการสอน แบบทดลอง มีการพัฒนาความก้าวหน้า ทางการเรียนรู้เพิ่มขึ้นเป็นที่น่าพอใจ
ตารางการวิเคราะห์ความแตกต่าง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ระหว่างผลทดสอบก่อนเรียนและหลัง เรียน วิธีการ สอน NDf คะแนน เต็ม ก่อนเรียนหลังเรียน t XX S.D XX แบบ ร่วมมือ แบบ ทดลอง
สรุปผลการวิจัย หลังจากการวิเคราะห์ข้อมูล ผลที่ได้ ปรากฏดังต่อไปนี้ - คะแนนของนักเรียนจากการสอนแบบ ร่วมมือ นักเรียนสามารถ - คะแนนของนักเรียนจากการสอนแบบ ร่วมมือ นักเรียนสามารถ ทำคะแนนได้โดยเฉลี่ย ก่อนเรียน = 3.50 และหลังเรียน = คะแนนของนักเรียนจากการสอนแบบ ทดลอง นักเรียนสามารถ - คะแนนของนักเรียนจากการสอนแบบ ทดลอง นักเรียนสามารถ ทำคะแนนได้โดยเฉลี่ย ก่อนเรียน = 3.50 และหลังเรียน = 7.75 ซึ่งมีค่ามากกว่าการสอนแบบร่วมมือ - ค่าสถิติทดสอบ t ของการสอนแบบ ร่วมมือ ได้เท่ากับ ค่าสถิติทดสอบ t ของการสอนแบบ ร่วมมือ ได้เท่ากับ มีนัยสำคัญทางสถิติ.05 และค่าสถิติ ทดสอบ t ของการสอน แบบร่วมมือ ได้เท่ากับ มีนัยสำคัญ ทางสถิติ.05
อภิปรายผลการวิจัย การศึกษาครั้งนี้ ผู้วิจัยใช้แบบฝึกหัด และแบบทดสอบเรื่อง การทำงาน ของหม้อแปลงไฟฟ้า ผลคะแนนที่ได้ ก่อนเรียนและหลังเรียน มีค่าคะแนนที่ แตกต่างกันคือ ค่าเฉลี่ยคะแนนของ การสอนแบบร่วมมือ มีค่าน้อยกว่าการ สอนแบบทดลอง มีค่าความแตกต่าง ของคะแนนก่อนและหลังเรียน แสดง ว่าวิธีการสอนแบบทดลอง ทำให้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพิ่มขึ้นใน ระดับนัยสำคัญทางสถิติ.05
ข้อเสนอแนะ 1. ครูควรอธิบายความหมาย ให้ความ สนใจ คอยให้กำลังใจ คำแนะนำ และ ตอบคำถามในกรณีที่นักเรียนมีปัญหา ขัดข้องในการทำแบบฝึกหัดและใบงาน 2. ครูควรให้นักเรียนเขียนสัญลักษณ์และ พารามิเตอร์ต่าง ๆ ให้ถูกต้อง เพื่อให้ได้ การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นขั้นตอน สามารถ สรุปและอภิปรายผลการทดลองได้ 3. ครูควรสังเกตการปฎิบัติงานของ นักเรียนและวิธีการใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ของนักเรียนอย่างใกล้ชิดทุกขั้นตอน เพื่อให้ได้ผลการทดลอง ที่ถูกต้อง