Learning Organization. คริส อาร์จีริส (Chris Argyris) โดนัล ชุน (Donald Schon) ค. ศ. 1978 ค. ศ. 1980 ค. ศ. 1990 ค. ศ. 1991 ค. ศ. 2000 ปีเตอร์ เชงกี้ (Peter.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
Advertisements

การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
ชุมชนนักปฏิบัติ CoP “ การปฏิบัติงานพัสดุไม่ ยากอย่างที่คิด ” เริ่มก่อตั้งแต่ปี
กลุ่มตรวจการสหกรณ์ สำนักงานสหกรณ์จังหวัดสุพรรณบุรี
ความเป็นมาของการจัดการ ความรู้ในกรมชลประทาน ตามพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ. ศ หมวดที่ 3 มาตราที่ 11 ระบุว่า.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2623 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4239 อัตราว่าง จำนวน 3 อัตรา ( ชำนาญการพิเศษ = 2 ชำนาญการ = 1) มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับทีม
การสร้างความตระหนักในโรงเรียนวิถีพุทธ
วิสัยทัศน์การจัดการความรู้ กรมชลประทาน กรมชลประทานมุ่งจัดการ ความรู้ สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
KM Refreshing Course การจัดการความรู้ กรมชลประทาน.
วิสัยทัศน์ ประเด็น ยุทธศาสตร์ สิ่งสำคัญที่ต้องทำ ให้บรรลุ เพื่อตอบสนอง วิสัยทัศน์ เป้าประสง ค์ หลัก ประสิทธิภ าพ ผลสำเร็จ สูงสุดของ องค์กรซึ่ง ประชาชน.
KM WEBSITE กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข เสนอ อาจารย์ สุกัลยา ชาญสมร.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
LOGO องค์กรอัจฉริยะ ผศ. ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
เยี่ยมเสริมพลัง การจัดการความรู้ วันที่ 14 ก. ย
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
การสร้างแผนปฏิบัติการระดับตำบลหรือท้องถิ่น
หน่วยที่ 1 ข้อมูลทางการตลาด. สาระการเรียนรู้ 1. ความหมายของข้อมูลทางการตลาด 2. ความสำคัญของข้อมูลทางการตลาด 3. ประโยชน์ของข้อมูลทางการตลาด 4. ข้อจำกัดในการหาข้อมูลทาง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบบริหารจัดการความเสี่ยง
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
1.กิจกรรมหัวเราะโลก ปีที่ 2 (วันอาทิตย์ที่ 1 พ.ค.2559)
การดำเนินงานคุณธรรม และความโปร่งใส
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
เป้าหมายจังหวัด TO BE NUMBER ONE
กิจกรรมการสรุปบทเรียนตามภารกิจหลัก และ แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 23 สิงหาคม 2556 เวลา 9.30 – น.
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
การกลั่นกรององค์ความรู้ สำนักพัฒนาแหล่งน้ำขนาดใหญ่
ตัวชี้วัด : ร้อยละ 25 รพ.สต.ผ่านเกณฑ์พัฒนาคุณภาพ รพ.สต.ติดดาว
ความก้าวหน้าในการดำเนินงาน Product Champion Cluster วัยรุ่น
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ISO ย่อมาจาก International Organization for Standardization คือ องค์การมาตรฐานสากล หรือองค์การระหว่างประเทศว่าด้วยการมาตรฐาน เป็นองค์กรที่ออกมาตรฐานต่างๆ.
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
การวิเคราะห์ศักยภาพองค์กรกองแผนงาน โดย SWOT Analysis
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Learning Organization

คริส อาร์จีริส (Chris Argyris) โดนัล ชุน (Donald Schon) ค. ศ ค. ศ ค. ศ ค. ศ ค. ศ ปีเตอร์ เชงกี้ (Peter M. Senge) “The Fifth Discipline : The Art and The Learning Organization”

“Organizations learn only through individual who learns. Individual learning does not guarantee organizational learning, but without it no organizational learning occurs.” Peter Senge (1990)

องค์การแห่งการ เรียนรู้ (Learning Organization: LO) แบบแผน ความคิด (Mental Model) สร้าง วิสัยทัศน์ ร่วม (Shared Vision) เรียนรู้เป็น ทีม (Team Learning) มุ่งมั่นสู่ความ เป็นเลิศ (Personal Mastery) คิดเชิงระบบ (System Thinking)

1. การค้นหา ความรู้ (Knowledge Identification ) 2. การสร้าง และแสวงหา ความรู้ (Knowledge Creation and Acquisition) 3. การจัด ความรู้ให้ เป็นระบบ (Knowledge Organization) 4. การ ประมวลและ กลั่นกรอง ความรู้ (Knowledge Codification and Refinement) 5. การเข้าถึง ความรู้ (Knowledge Access) 6. การ แบ่งปัน แลกเปลี่ยน ความรู้ (Knowledge Sharing) 7. การเรียนรู้ (Learning) ภาพกระบวนการจัดการความรู้ (Knowledge Management Process)

 มีโครงสร้างที่เหมาะสม  มีวัฒนธรรมแห่งการ เรียนรู้ภายในองค์กร  มีการเพิ่มอำนาจแก่ สมาชิก  มีการตรวจสอบ สภาพแวดล้อม  มีการสร้างสรรค์องค์ ความรู้  มีเทคโนโลยีเพื่อ สนับสนุนการเรียนรู้  ให้ความสำคัญกับ คุณภาพ  เน้นเรื่องกลยุทธ์  มีบรรยากาศที่ สนับสนุน  มีการทำงานร่วมกัน เป็นทีมและเครือข่าย  สมาชิกมีวิสัยทัศน์ ร่วมกัน

 ความไม่สำเร็จในกระบวนการสร้างวิสัยทัศน์อาจ เกิดได้จาก 4 สาเหตุคือ หนึ่งความเห็นไม่ สอดคล้อง มีความเห็นที่แตกต่างออกไปมาก ขึ้นเรื่อยๆ จนมีการ “ แบ่งขั้ว ” สองถอดใจ เพราะเห็นว่าช่องว่างระหว่างวิสัยทัศน์กับความ เป็นจริงห่างกันเหลือเกิน สามหมดแรง เพราะ สภาพความเป็นจริงก่อปัญหาหรือมีภาระงานให้ ต้องดำเนินการมากจนหมดแรง สี่ขาด กระบวนการกลุ่ม ทำให้คนบางคนหรือบาง กลุ่มเปลี่ยนใจหรือไม่เอาด้วย

 การจัดการความรู้ (Knowledge Management)  การใช้มาตรฐานอ้างอิง (Benchmarking)  การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (Total Quality Management)

 ขั้นตอนที่ 1 สำรวจสภาพปัจจุบัน วิเคราะห์ ศึกษาว่า องค์กรของเรามีอะไรดี ประเมินศักยภาพขององค์กร / บุคลากร ค่านิยม ปัญหาข้อบกพร่องต่างๆ รวมทั้ง ประเมินการมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ในปัจจุบัน  ขั้นตอนที่ 2 นำข้อมูลที่ได้มากำหนดเป้าหมาย กลยุทธ์ หรือแนวทางที่จะใช้เป็นรูปแบบ และกิจกรรมที่จะทำ ให้ เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน (mutual learning) เช่น บางหน่วยจัดให้มี Knowledge Center ของตนเอง รวบรวมทรัพยากรแห่งการเรียนรู้ที่เข้าถึงได้ง่ายและ สะดวกต่อการใช้เป็นสถานที่แลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู้ ระหว่างกัน  ขั้นตอนที่ 3 ดำเนินงานตามแผน มีการแต่งตั้ง คณะทำงานส่งเสริมการดำเนินงาน ติดตาม และ ประเมินผลตามระยะเวลา หรืออาจมีการตั้งหน่วยวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ในองค์กร ซึ่งมีตัวแทนจาก บุคลากรทุกฝ่าย รวมทั้งผู้บริหาร  ขั้นตอนที่ 4 จัดเกณฑ์การพิจารณาประเมินผลในขั้น ท้ายสุดหลังจากที่ดำ เนินการไปแล้วระยะหนึ่ง เพื่อให้ ทราบว่าองค์กรของเรามีลักษณะเป็นองค์กรแห่งการ เรียนรู้มากน้อยเพียงใด

 วัฒนธรรมองค์กร  บุคลากร  ระบบความดีความชอบ  ด้านการเรียนรู้

 มหาวิทยาลัยรามคำแหง

 บริษัทปูนซีเมนต์นครหลวง  การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย  3 M  Hewlett-Packard  Xerox  Norvatis  GE (General Electric)