ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การเขียนโครงการ.
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
การชี้แจงการ ประชุมกลุ่ม โดย นางศิริลักษณ์ สิมะพรชัย หัวหน้ากลุ่มส่งเสริมสนับสนุนวิชาการ สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและ สิ่งแวดล้อม.
แบบประเมินความเข้มแข็ง ศอช.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
ระบบสารสนเทศทางธุรกิจ (Business Information Systems)
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
การเขียนโครงร่างวิจัย
อ. สิริพร มีนะนันทน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
บทที่ 6 งบประมาณ.
เทคนิคการเขียนข่าว การเขียนข่าวเพื่อการประชาสัมพันธ์เบื้องต้น มีโครงสร้างการเขียนข่าว ประกอบด้วย 1.พาดหัวข่าว (Headline) 2.ความนำ (Lead) 3.ส่วนเชื่อม (Neck/Bridge)
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เทคนิคการตรวจสอบภายใน
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
เอกสารการบรรยายเรื่อง
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
โครงการ ( Project) หมายถึง โครงการ ( Project) หมายถึง.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.
กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2 กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2.
เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการ ให้เทียบเท่ามาตรฐานสากล เครื่องมือตรวจสุขภาพและปรับปรุง องค์การ กรอบการประเมินองค์การด้วยตนเอง ตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การเขียนหนังสือราชการและการโต้ตอบ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการ
สถานการณ์ผลิต พื้นที่ปลูกลดลงทุกปี ความต้องการใช้เพิ่มขึ้น
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การรายงานความคืบหน้าหรือสถานะ
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
แผนการขายลูกค้า SMEs พื้นที่ บน.3.1 ขบน ก.พ
      วิจัย เรื่อง การประเมินผลการดำเนินงานประกันคุณภาพภายใน ของสำนักงานประกันคุณภาพและงานวิจัย วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการอยุธยา ปีการศึกษา 2556.
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ และแนวทางแก้ไข ของกองวิจัยและพัฒนาข้าว
โครงการสนับสนุนสินเชื่อเกษตรกรชาวสวนยางรายย่อย เพื่อประกอบอาชีพเสริม
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
การขอโครงการวิจัย.
การปฐมนิเทศและการบรรจุ
SMS News Distribute Service
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การกำหนดประเด็นปัญหา
รายงานผลการดำเนินงาน ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
กลุ่มส่งเสริมอาชีพการเกษตร
โครงการส่งเสริมการบริหารจัดการการเงินชุมชน
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
การสร้างแบบทดสอบ อาจารย์ ปรีชา เครือวรรณ อาจารย์ สมพงษ์ พันธุรัตน์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
บทที่ ๓ การวางแผนการพัฒนา Development Planning
หลักการเขียนข่าว เพื่อการประชาสัมพันธ์องค์กร
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
กรณีศึกษา การจัดทำข้อเสนอโครงการที่ดี
แผนงานโครงการที่จะนำไปใช้เพื่อ การแก้ปัญหาสุขภาพหรือบริการ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้

ก. ทำทำไม (WHY) ข. ทำอะไร (WHAT) ค. ทำที่ไหน (WHERE) ง. ทำเมื่อไร (WHEN) การวางแผนโครงการ ตอบคำถามเกี่ยวกับการวางแผน โครงการ (6 W 2 H) (6 W 2 H) จ. ทำโดยใคร (WHO) ฉ. ทำเพื่อใคร (WHOM) ช. ทำอย่างไร (HOW) ซ. จ่ายเท่าไร (HOW MUCH)

ทำทำไม (Why): หมายถึง หลักการและเหตุผลที่จะต้อง ดำเนินการเรื่องนั้น ทำอะไร (What): หมายถึงการ คิดกิจกรรมที่จะต้องปฏิบัติ ทำที่ไหน (Where): หมายถึง การกำหนดสถานที่ในการ ดำเนินงานที่เหมาะสม 18 ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการ กำหนดวิธีการ

ทำเมื่อไร (When): หมายถึง การ กำหนดเวลาที่ใช้ในการดำเนินงาน หรือกิจกรรมต่างๆ ทำโดยใคร (Who): หมายถึง การกำหนดผู้รับผิดชอบ ทำเพื่อใคร (Whom): หมายถึง กลุ่มคนหรือพื้นที่เป้าหมายที่ ต้องการให้ได้รับประโยชน์ ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการ กำหนดวิธีการ

ทำอย่างไร (How): หมายถึง รูปแบบ กฎเกณฑ์และกรรมวิธี ใน การดำเนินกิจกรรม ใช้จ่ายเท่าไร (How much): หมายถึง การคิดคำนวณค่าใช้จ่าย ต่าง ๆ ในการดำเนินกิจกรรม

หัวข้อโครงการขอรับการสนับสนุน จากกองทุน 1. ชื่อโครงการ - ชื่อโครงการที่เสนอขอรับ เงินสนับสนุนจากกองทุน 2. เจ้าของโครงการ - หน่วยงานของรัฐ - ภาคเอกชน, สถาบัน - หน่วยงานสนับสนุน

3. หลักการและเหตุผล - ความจำเป็นที่ต้องทำโครงการ เพราะผลกระทบเสรีทางการค้า (FTA AFTA WTO ฯลฯ ) - ผลจาก FTA ทำให้สินค้านำเข้ามาก น้อยเพียงไร - หากไม่ดำเนินการจะกระทบอย่างไร 4. วัตถุประสงค์ - ทำเพื่ออะไร - แก้ปัญหาอะไร หัวข้อโครงการขอรับการสนับสนุน จากกองทุน

หลักการเขียนวัตถุประสงค์ที่ดี SMART 1. Sensible and Specific คือ ต้องมีความเป็นไปได้และมี ความเฉพาะเจาะจงในการดำเนินการโครงการ 2. Measurable คือ ต้องสามารถวัดและประเมินผลระดับของ ความสำเร็จได้ 3. Attainable คือ ต้องระบุถึงการกระทำที่สามรถปฏิบัติได้ มิใช่สิ่งเพ้อฝัน 4. Reasonable and Realistic คือ ต้องระบุให้มีความเป็นเหตุ เป็นผล และสอดคล้องกับความเป็นจริง 5. Time ต้องมีการกำหนดขอบเขตของเวลาที่จะกระทำให้ สำเร็จได้อย่างชัดเจน

5. วิธีดำเนินการ - รายละเอียดขั้นตอนดำเนินงาน - แยกกิจกรรมเป็นรายปี - นิยมใช้แผนภูมิ 6. เป้าหมาย / ขอบเขตการ ดำเนินการ - จำนวน / ปริมาณ / กลุ่ม / พื้นที่ ดำเนินการ 7. ระยะเวลาโครงการ - ระยะเวลาที่กองทุนสนับสนุน หัวข้อโครงการขอรับการ สนับสนุนจากกองทุน

8. ระยะการดำเนินการ - ระยะเวลาดำเนินการตั้งแต่เริ่ม จนถึงสิ้นสุด ( คืนเงิน ) 9. งบประมาณ - แสดงรายละเอียดแต่ละหมวด / กิจกรรม - แจกแจงงบประมาณเงินจ่ายขาด / เงินยืม - เงื่อนไขและแผนการคืนเงิน หัวข้อโครงการขอรับการสนับสนุน จากกองทุน

10. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ - ผลของการดำเนินงานลดผลกระทบอย่างไร - ใครเป็นผู้ได้รับประโยชน์ - ควรแสดงเป็นตัวเลขเชิงปริมาณ หัวข้อโครงการขอรับการสนับสนุน จากกองทุน

โครงการที่ดีควรมีลักษณะ อย่างไร - สามารถแก้ไขปัญหาขององค์กรได้ อย่างมีประสิทธิภาพ - มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน - สามารถดำเนินงานได้ - รายละเอียดโครงการต้องสอดคล้อง สัมพันธ์กันมี - รายละเอียดของโครงการสามารถ เข้าใจได้ง่าย - สามารถนำไปปฏิบัติได้ - มีวิธีการประเมินผลที่ชัดเจน

ปัญหาเกี่ยวกับการเขียนโครงการ ปัญหาเกี่ยวกับการเขียนโครงการ 1. ไม่แสดงถึงปัญหาที่ต้องการจะแก้ไขอย่างชัดเจน 2. หลักการ + เหตุผล ไม่หนักแน่น 3. ขาดข้อมูลสนับสนุนอ้างอิง 4. ไม่ทันกาล ไม่ทันสมัย 5. วัตถุประสงค์ไม่ชัดเจน คลุมเครือ 6. วิธีการเป็นไปได้ยาก ทำตามไม่ได้ 7. ไม่เห็นประโยชน์ที่ชัดเจน 8. แผน งบ เวลา ไม่สัมพันธ์กัน ไม่สมเหตุสมผล 9. การนำเสนอ / การเขียน - ไม่ต่อเนื่อง - ไม่เรียงลำดับ - ไม่กระชับ - ใช้ภาษาพูด เช่น คณะผู้จัดทำโครงการได้ปลุก ปล้ำโครงการนี้

การเขียนโครงการ การเขียนโครงการจะต้อง ครอบคลุมส่วนประกอบสำคัญ และจะต้องมีรายละเอียดที่จำเป็น สำหรับการดำเนินงานโครงการ เพื่อใช้เป็นแผนปฏิบัติงานที่ สามารถนำไปใช้ปฏิบัติได้อย่าง ชัดเจน ข้อ มูล

www2.oae.go.th