งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

จังหวัดสุรินทร์ ระหว่างวันที่ 1-3 ก.ค. 58

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "จังหวัดสุรินทร์ ระหว่างวันที่ 1-3 ก.ค. 58"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 จังหวัดสุรินทร์ ระหว่างวันที่ 1-3 ก.ค. 58
สรุปผลการตรวจราชการและนิเทศงาน (รอบที่ 2) คณะที่ 1 : การพัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย และระบบควบคุมโรค จังหวัดสุรินทร์ ระหว่างวันที่ 1-3 ก.ค. 58

2 ประเด็นการตรวจราชการ :
(1) การบริหารงานส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคตามกลุ่มวัย ข้อสังเกต/ข้อค้นพบ กำกับติดตามและประเมินผลระดับจังหวัด รอบ 1 (กระบวนการ) รอบ 2 (ผลสำเร็จตามตัวชี้วัด) มีแผนการตรวจติดตามประเมินผลอำเภอทุกแห่งรอบ 2 กำกับติดตาม (MOU+Ranking) ข้อเสนอแนะ สรุปบทเรียนจากการประเมินผล

3 เด็กแรกเกิด -6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 ( 59.19 )
กลุ่มเด็กและสตรี ประเด็นการตรวจราชการ : ระบบการเฝ้าระวังพัฒนาการและการช่วยเหลือ เด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้า เป้าประสงค์ ส่งเสริมพัฒนาการ ระบบเฝ้าระวังและช่วยเหลือเหมาะสม เพื่อให้ IQ เกิน100 ในเด็กวัยเรียน เด็กแรกเกิด -6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว ร้อยละ 50 ( ) ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัยไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85 ( ) ร้อยละเด็กอายุ 18 , 30 เดือนได้รับการพัฒนาการทุกราย ร้อยละของเด็ก 9,18,30,42 เดือน ได้รับการตรวจพัฒนาการโดยDSPM ร้อยละ 100 เด็กกลุ่มเสี่ยงได้รับการตรวจพัฒนาการโดยใช้DAIM ร้อยละ 100 ศูนย์เด็กเล็กผ่านการประเมินมาตรฐานมีคุณ ภาพ ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60 ( 75.05)

4

5

6 -พื้นที่ควรทบทวน3 ประเด็น ศักยภาพบุคลากรในการใช้เครื่องมือDSPM
ข้อเสนอแนะ DSPM & DAIM -พื้นที่ควรทบทวน3 ประเด็น ศักยภาพบุคลากรในการใช้เครื่องมือDSPM ตรวจจริงหรือไม่ การแปรผลพัฒนาการล่าช้า มีความคลาดเคลื่อนหรือไม่ มีการจัดตั้ง CPM แต่ยังไม่กำหนด focal point & บทบาทหน้าที่ชัดเจน CUP : เป็นพี่เลี้ยง รพ.สต.เรื่อง DSPM - พื้นที่ยังขาดความเข้าใจในการใช้แนวทางการกระตุ้น Flow chart แนวทางการกระตุ้นและ ส่งต่อ (DSI 300,TEDA 4 I,DSI 654 ข้อ) ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย เพื่อลดการทำงานซ้ำซ้อน ในการลงข้อมูล ส่วนกลาง ปรับ43 แฟ้มให้รองรับ DSPM การปรับข้อมูลDAIM ควรพิจารณาโดยคณะกรรมการพัฒนาการเขตเพื่อนำเสนอส่วนกลาง

7 กลุ่มเด็กและสตรี ประเด็นการตรวจราชการ : ระบบการเฝ้าระวังพัฒนาการและการช่วยเหลือ เด็ก 0-5 ปี ที่มีพัฒนาการล่าช้า สิ่งที่ค้นพบ : แม่ซีด 23%, พื้นที่มีความเสี่ยงต่อการขาดสารไอโอดีน ,จ่ายไอโอดีน เหล็ก โฟลิก 39%, LBW 9.4% ,BA 21.9 : 1,000 ข้อเสนอแนะ/จุดเด่นที่พบ : ติดตามการบริหารจัดการยาเม็ดเสริมไอโอดีน เหล็ก โฟลิก เพื่อแก้ปัญหาขาดไอโอดีน การจัดเก็บข้อมูล การรายงาน

8 กลุ่มเด็กและสตรี (ต่อ)
ประเด็นการตรวจราชการ : ระบบและกลไกการจัดการปัญหาแม่และเด็กระดับจังหวัด เป้าประสงค์ ลูกเกิดรอด แม่ปลอดภัย สิ่งที่ค้นพบ : แม่ตาย ต่อพันการเกิดมีชีพ (ปี 57 = 30.6) (Septic Abortion 18 ปี + PIH no ANC) พี่เลี้ยงโดย Node 6 แห่ง (รพ.สร. ปราสาท/รัตน/ท่าตูม/ศีขร/ สังขะ) จุดเด่นที่พบ One province one labor room(Tele line Consult System )ใน รพ.สร. MCH board เข้มแข็ง fast track ข้อเสนอแนะ เชื่อมโยงข้อมูลกับ Node วัยรุ่น & Teen manager Teen up care 3 แห่ง

9 กลุ่มเด็กและสตรี (ต่อ)
ประเด็นการตรวจราชการ : ระบบการจัดการช่วยเหลือหญิงตั้งครรภ์ที่ มีความเสี่ยง&หญิงตั้งครรภ์ภาวะฉุกเฉิน สิ่งที่ค้นพบ : Early ANC 38%, ANC 5 ครั้งคุณภาพ 36% (ข้อมูลที่พบมีความคลาดเคลื่อน early ANC 40% & ANC คุณภาพ 78%) ข้อเสนอแนะ ติดตาม CUP บริการต่ำกว่าความเป็นจริงหรือปัญหาการลงข้อมูลใน Hos-Xp บทบาทของFCT ในANC คุณภาพ Best practice

10 ประเด็นการตรวจราชการ : ภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน
กลุ่มวัยเรียน ประเด็นการตรวจราชการ : ภาวะโภชนาการในเด็กนักเรียน สิ่งที่ค้นพบ : ภาวะอ้วนไม่เกินเป้าหมาย(ร้อยละ 6.47/เทอม1/2558) แนวโน้มลดลง มีการนำข้อมูลมาวิเคราะห์เป็นรายอำเภอ/รร. กำหนดแนวทางให้ รร. แก้ไขปัญหาและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในเด็กวัยเรียน ขับเคลื่อนการดำเนินงาน โดยการมีส่วนร่วมจากเครือข่าย และทำ MOU ร่วมกัน (สพม./สพป./อปท./องค์กรสมัชชา) ระบบรายงาน 43 แฟ้ม ยังขาดประสิทธิภาพการนำออกข้อมูล (ครบถ้วน/ถูกต้อง) ขาดการบูรณาการเป็นองค์รวมในงานที่เกี่ยวข้อง (แยกส่วนการดำเนินงาน) ข้อเสนอแนะ : ระบบข้อมูล (ผู้รับผิดชอบKPI & ผู้ดูแลการจัดเก็บ IT) ควรสื่อสารทำความเข้าใจ/ชี้แจงการบันทึกกับผู้ปฏิบัติในระดับพท. และควรมีการตรวจสอบข้อมูล ให้ครอบคลุม ถูกต้อง ควรมีการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน อย่างเป็นระบบ ภาวะโลหิตจางในเด็กนักเรียน ป. 1 ร้อยละ ( 2557) มีผลต่อการเรียนรู้ และIQ ภาวะโภชนาการในเด็ก ยังเป็นปัญหาสำคัญที่ควรนำเสนอสถานศึกษาถึงความสำคัญ

11 ประเด็นการตรวจราชการ : การแก้ปัญหาการเสียชีวิตของเด็กอายุ
กลุ่มวัยเรียน ประเด็นการตรวจราชการ : การแก้ปัญหาการเสียชีวิตของเด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี จากการจมน้ำเสียชีวิต สิ่งที่ค้นพบ : จังหวัดมีทีมผู้ก่อการดีป้องกันการจมน้ำตามที่กำหนด ร้อยละ 50 ของอำเภอในจังหวัด ดำเนินการได้ 17 อำเภอ คิดเป็น 100% (ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด) ผลประเมินผ่านระดับทอง 9 แห่ง เงิน 11 แห่ง ทองแดง 24 แห่ง (ผลงานสูงสุดในเขต9) จังหวัดมีจำนวนการเสียชีวิตจากเด็กจมน้ำลดตามเกณฑ์ที่กำหนด (ไม่เกิน 32 ราย) พบเสียชีวิต 15 ราย โรงเรียนมีการดำเนินงานป้องกันการจมน้ำ มีการจัดอบรมให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยทางน้ำ ทักษะการเอาชีวิตรอดทางน้ำ ดำเนินการได้ครอบคลุมทุกเขต (เขตปฐมศึกษา3เขต ,มัธยม1เขต)ฝึกทักษะได้จำนวนมากที่สุดของเขต9 (ผ่านเกณฑ์ตัวชี้วัด) วัคซีน เด็กจมน้ำ สสจ.มีการตรวจประเมินทีมผู้ก่อการดีป้องกันการจมน้ำระดับทองแดง เงิน ทอง โดยบูรณาการร่วมกับ สคร.5

12 ประเด็นการตรวจราชการ : การแก้ปัญหาการเสียชีวิตของเด็กอายุ
กลุ่มวัยเรียน ประเด็นการตรวจราชการ : การแก้ปัญหาการเสียชีวิตของเด็กอายุ ต่ำกว่า 15 ปี จากการจมน้ำเสียชีวิต ข้อเสนอแนะ : -ควรเพิ่มการจัดการสิ่งแวดล้อมบริเวณแหล่งน้ำเสี่ยง ติดป้ายเตือน และควรจัดให้มีอุปกรณ์ช่วยคนตกน้ำให้ครอบคลุม เพราะจังหวัดสุรินทร์มีแหล่งท่องเที่ยวทางน้ำหลายแห่ง -ควรสนับสนุนให้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กมีการดำเนินงานป้องกันเด็กจมน้ำ ช่วงอายุ 3-5 ปี เพราะยังพบการเสียชีวิตในช่วง3-5ปี

13 ประเด็นการตรวจราชการ : การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
กลุ่มวัยรุ่น ประเด็นการตรวจราชการ : การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น และการตั้งครรภ์ซ้ำ สิ่งที่ค้นพบ : อัตราการคลอด 29.2 ต่อพันปชก.ลดลงจากปี 57 (49.9 ) ตั้งครรภ์ซ้ำ 2.61% (แยกกลุ่ม นร./นศ. & กลุ่มทำงาน) ขับเคลื่อนผ่าน DHS (กำหนดเป็นนโยบายหลัก) และ FCT โดยเพิ่มการเข้าถึงบริการผ่าน YFHS ใน รพ.สต. & ระบบส่งต่อ อบรมยาฝังถึงระดับ รพ.สต.(2 คน : อำเภอ) คุมกำเนิดหลังคลอด 31% เป็นแบบกึ่งถาวร 12% จุดเด่นที่พบ Mobile Clinic (รพ.สร. และ สนม) ตลาดนัดคลองถม & ทุกวันศุกร์ ใน รร.มัธยม + ขยายโอกาสประจำอำเภอ ข้อเสนอแนะ ใน รร.ดำเนินงานผ่านแกนนำเยาวชนและครู ให้คำปรึกษาคุมกำเนิดกึ่งถาวรตั้งแต่ ANC LR ร่วมกับ ผปค.

14 ประเด็นการตรวจราชการ : การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
กลุ่มวัยรุ่น (ต่อ) ประเด็นการตรวจราชการ : การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น และการตั้งครรภ์ซ้ำ สิ่งที่ค้นพบ : มีมาตรการเชิงรุกสู่สถานศึกษา และมาตรการจัดระบบบริการที่เป็นมิตรอย่างชัดเจน มีโรงเรียนต้นแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้เพศศึกษารอบด้านตามเกณฑ์มาตรฐานจนสามารถเป็นศูนย์การเรียนรู้และได้รับรางวัลระดับชาติ มีการประกาศเป็นนโยบายระดับจังหวัด ครอบคลุมทุกพื้นที่

15 ประเด็นการตรวจราชการ : การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น
กลุ่มวัยรุ่น (ต่อ) ประเด็นการตรวจราชการ : การป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมในวัยรุ่น และการตั้งครรภ์ซ้ำ ข้อเสนอแนะ: สร้างกระบวนการเรียนรู้เพื่อการปรับเปลี่ยนทัศนคติ ผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้องจากหน่วยงานต่างๆให้เอื้อต่อการดำเนินงานเพื่อลดอัตราการตั้งครรภ์และการตั้งครรภ์ซ้ำ ความท้าทายที่จะต้องทำให้อปท และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเห็นความสำคัญให้การสนับสนุนการดำเนินงานต่อเนื่อง ทั้งการเข้าถึงบริการ การสอนเพศศึกษาในรร และนอกระบบการศึกษา เสนอให้เป็นตัวชี้วัดร่วมระหว่างก.สาธารณสุขและก.ศึกษา

16 การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มวัยรุ่น
ประเด็นการตรวจราชการ : การแก้ปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่น (เหล้า บุหรี่) ข้อสังเกต/ข้อค้นพบ 1.สสจ.มีการจัดทำสถานการณ์ความชุกการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ โดยใช้ข้อมูลการคัดกรองจาก 43 แฟ้ม ครบทั้ง 17 อำเภอ 2.สสจ.ให้ความสำคัญการบังคับใช้กฎหมาย โดยมีการดำเนินคดีปรับเทียบปรับตามกฎหมายบุหรี่ สุรา ที่สูงมากขึ้นและมอบงานร้องเรียนบุหรี่ สุรา มาอยู่กลุ่มงานนิติการ ทำให้การบังคับใช้มีประสิทธิภาพ 3.สสจ.ส่งเสริมให้ชุมชน มีมาตรการงานบุญ ศพ กฐิน ปลอดเหล้า และงดเหล้าทุกวันพระ 4.สสจ.ผลักดันให้สถานศึกษา เป็นสถานศึกษา ปลอดเหล้า บุหรี่ โดยมีการ MOU กับ สพม.31 และ สพป.สุรินทร์ ให้สถานศึกษาปลอดบุหรี่ สุรา และรอบสถานศึกษา 300 เมตร ปลอดการกระทำผิดกฎหมายบุหรี่ สุรา ข้อเสนอแนะ - การคัดกรองยังไม่ครอบคลุม หากคัดกรองครอบคลุมความชุกการบริโภคเครื่องดื่มแอลกอฮอล์และยาสูบ จะเพิ่มมากขึ้น สสจ.ควรขยายชุมชนปลอดเหล้า ให้มากขึ้นจากชุมชนให้เป็นระดับตำบลปลอดเหล้า เพื่อต้นแบบต่อพื้นที่อื่นๆ -สสจ.ควรประชาสัมพันธ์กฎหมายบุหรี่ สุรา ให้ร้านค้าทราบถึงข้อห้ามกฎหมายต่างๆ

17 การพัฒนาสุขภาพ : กลุ่มวัยทำงาน
ประเด็นการตรวจราชการ : การป้องกันควบคุมโรค NCD และปัจจัยเสี่ยง ข้อสังเกต/ข้อค้นพบ - ปี อัตราป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูงพบแนวโน้มเพิ่มขึ้นน้อยลง - อัตราป่วยรายใหม่ด้วยโรคเบาหวาน ลดลงจากปี 57 ร้อยละ 24.5 (ปี 57 n=4,987; ปี 58 เหลือ n= 3,056) และความดันโลหิตสูงลดลงร้อยละ 6.9 (ปี 57 n=8,884; ปี 58 เหลือ n= 5,508) (ข้อมูล พ.ค. 58 คัดกรองได้ 60%) - การ control ระดับน้ำตาลในผู้ป่วยเบาหวาน (HbA1c≤7) ได้ร้อยละ 29 - การ control ระดับความดันโลหิตในผู้ป่วย HT ได้ร้อยละ 34.7 - การประเมิน CVD Risk ได้ร้อยละ 41 (เกณฑ์ร้อยละ 60) ข้อเสนอแนะ - ควรมีการ mapping พื้นที่ที่ยังพบปัญหา เพื่อวิเคราะห์ถึงรากปัญหา และถอดบทเรียนพื้นที่ที่มีการดำเนินงานได้ดี เพื่อเป็นพื้นที่ต้นแบบ - ควรมีการวางแผนการดูแลรักษาร่วมกับผุ้ป่วย เพื่อให้เกิดการ self care ได้ดีขึ้น - ควรแยกวิเคราะห์กลุ่มเสี่ยงสูงมากและสูงอันตราย (risk score>30%)เพื่อดำเนินการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างเข้มข้น และหรือได้รับยาในการรักษาเพื่อลด risk

18 ประเด็นการตรวจราชการ: อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง
กลุ่มวัยทำงาน ประเด็นการตรวจราชการ: อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง (ลดลงร้อยละ 14 จากค่าตั้งต้น 3 yrs median ปี 53-55) สิ่งที่ค้นพบ : 1. อัตราการเสียชีวิตจาก Head injury ปี มีแนวโน้มสูงขึ้น และอัตราตายผู้บาดเจ็บทางสมองที่มีค่า PS >0.75 ปี เท่ากับ 2.16 ม 2.86และ 3.71 ข้อเสนอแนะ : 1. การตายที่สามารถป้องกันได้มีแนวโน้มสูงขึ้น จึงควรวางแผนจัดประชุมผู้เกี่ยวข้องเพื่อทบทวนแนวทางการดำเนินงานและการดูแลผู้ป่วยตั้งแต่ระดับปฐมภูมิถึงตติยภูมิ

19 ประเด็นการตรวจราชการ: อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง
กลุ่มวัยทำงาน ประเด็นการตรวจราชการ: อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง (ลดลงร้อยละ 14 จากค่าตั้งต้น 3 yrs median ปี 53-55) สิ่งที่ค้นพบ : 2.อัตราการเสียชีวิตจาก Multiple injury ปี 2558 มีแนวโน้มลดลงจากปี 2557 ข้อเสนอแนะ : 2. ควรทบทวนแนวทางการดูแลผู้ป่วย จัด Dead case conference พัฒนาศักยภาพในการดูแลผู้ป่วยแก่บุคลากรทุกระดับที่เกี่ยวข้องอย่างต่อเนื่องต่อไป

20 กลุ่มวัยทำงาน ประเด็นการตรวจราชการจังหวัดสุรินทร์ : อัตราตายจากอุบัติเหตุทางถนนลดลง(ลดลงร้อยละ 14 จากค่าตั้งต้น 3 yrs median ปี 53-55) สิ่งที่ค้นพบ : 3. มีการความเข้มแข็งด้านทีมทำงาน และการประสานงานเครือข่ายที่มีความต่อเนื่องตั้งแต่ปี 56 ข้อเสนอแนะ : 3. จังหวัดสุรินทร์ มีทีม MERT ที่เข้มแข็งคือทีม โรงพยาบาลสุรินทร์ และได้จัดอบรมทีม Mini MERT ให้ทุกอำเภอตั้งปี 2556 โดยในปี 2557ทีม Mini MERT จากทุกอำเภอร่วมซ้อมแผนC-MEX 2014 และประชุมสรุปผลการซ้อมแผนเพื่อวางแผนพัฒนาที่ต่อเนื่อง โดยทีม Mini – MERTเป็นทีมปฏิบัติการฉุกเฉินด้านการแพทย์ 5 – 6 คน คือแพทย์(1), พยาบาล (2), ผู้ช่วยเหลือ(2-3) ที่พร้อมออกปฏิบัติการช่วยเหลือทีมแพทย์ในพื้นที่ เพื่อดูแลผู้ป่วยในพื้นที่ของตนและทำหน้าที่อื่นตามที่ได้รับมอบหมาย จังหวัดสุรินทร์มีทีม Mini MERT ที่มีคุณภาพ พร้อมปฏิบัติงาน 100%

21 กลุ่มผู้สูงอายุ ประเด็นการตรวจราชการ : ผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพผู้สูงอายุที่พึงประสงค์ สิ่งที่ค้นพบ : มี พท.นำร่อง LTC ของ สปสช. 2 อำเภอ (รัตนบุรี/สนม) ส่งอบรมCM อำเภอละ 5 คน ร่วมกับกรมอนามัย หลักสูตร 2 สัปดาห์ CM : CG (1 : 5-7 คน), CG : ผู้สูงอายุ (1 : 5-7 คน) สำหรับอำเภออื่นๆ มีการอบรมพยาบาลฟื้นฟู ในรพ. ทุกแห่ง (2 คน/แห่ง) และมีทีม FCT ครอบคลุมทุกพื้นที่ รพศ. จัดตั้ง ศูนย์ LTC (จัดอบรมพยาบาลฟื้นฟู/CG) และศูนย์ COC เชื่อมโยงระบบการส่งต่อ พฤติกรรมสุขภาพที่พึงประสงค์ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 45.92 (จากการสำรวจ Rapid Survey ปี57 สุรินทร์ผ่านร้อยละ 44.2 (ภาพรวมเขต ร้อยละ 46.6)

22 กลุ่มผู้สูงอายุ (ต่อ)
ประเด็นการตรวจราชการ : ผู้สูงอายุได้รับการคัดกรอง/ประเมินสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจ สิ่งที่ค้นพบ : การคัดกรองครอบคลุมทุกเรื่อง ส่วนใหญ่ทำได้เกินเป้าหมาย ยกเว้นเรื่องการคัดกรองการหกล้ม,สมอง,กลั้นปัสสาวะ และเข่าเสื่อม การดำเนินงาน DHS งานผู้สูงอายุ ครอบคลุมทุกอำเภอ ข้อเสนอแนะ/จุดเด่นที่พบ : การคัดกรอง/ประเมินสุขภาพร่างกายและจิตใจ มีหลายรายการ บางเรื่องมีความยุ่งยากและต้องใช้ทักษะในการประเมิน ซึ่งผู้ประเมินไม่เคยได้รับการฝึกอบรม ควรมีการวางแผนการบริการรองรับผู้สูงอายุที่เป็นกลุ่มเสี่ยง ควรพัฒนาโปรแกรมการคัดกรองสุขภาพผู้สูงอายุให้เป็นแนวทางเดียวกัน เชื่อมในฐาน Hos-XP วางระบบการคัดกรอง & ประสานงานได้ดีมาก

23 กลุ่มผู้สูงอายุ (ต่อ)
ประเด็นการตรวจราชการ : สถานบริการมีระบบการดูแลผู้สูงอายุที่ครบวงจร สิ่งที่ค้นพบ : รพท./รพศ. มีหน่วยบริการผู้สูงอายุ ร้อยละ100 รพช. มีหน่วยบริการผู้สูงอายุ ร้อยละ13.33 รพ. ที่มีระบบการดูแลผู้สูงอายุที่ครบวงจร 4 แห่ง รพศ.สุรินทร์ ระดับดีเลิศ รพ. ปราสาท ระดับดีมาก รพ.รัตนบุรี ระดับคุณภาพ รพ. สังขะ ระดับคุณภาพ ข้อเสนอแนะ/จุดเด่นที่พบ : รพช. ควรมีการปรับปรุงให้ผ่านเกณฑ์ตามแบบประเมินคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ ในระดับคุณภาพ

24 คนพิการทางการเคลื่อนไหว (ขาขาด) ได้รับบริการครบถ้วน 96.91%
กลุ่มผู้พิการ : ประเด็นการตรวจราชการ : บูรณาการระบบการดูแลสุขภาพคนพิการทางการ เคลื่อนไหว/ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองที่พ้นระยะวิกฤติ สิ่งที่ค้นพบ : รพ.ใน จ.สุรินทร์มีการดำเนินงานบูรณาการระบบดูแลสุขภาพคนพิการทางการเคลื่อนไหว/ผป.หลอดเลือดสมองที่พ้นระยะวิกฤตผ่านเกณฑ์ระดับ 3 สถานบริการเป้าหมายมีการปรับสิ่งแวดล้อม มีสิ่งอำนวยความสะดวกให้คนพิการ/ผู้สูงอายุเข้าถึงและใช้ประโยชน์ได้ 1 แห่งจาก 2 แห่ง (รพ.สุรินทร์ และรพ.ปราสาท) คุณภาพชีวิตของผู้พิการ กำลังดำเนินการโดยศูนย์สิรินธร โดยเก็บข้อมูลใน นม. และ บร. คนพิการทางการเคลื่อนไหว (ขาขาด) ได้รับบริการครบถ้วน 96.91%

25 Best practice เป็นสิ่งสำคัญ
ข้อเสนอแนะ การใช้ area based ในการจัดทำแผนงานตามลำดับความสำคัญ ร่วมกับ การใช้ program based เนื่องจากขาดนำข้อมูล มาวิเคราะห์ ทำให้จัดลำดับความสำคัญยังไม่ถูกต้อง Best practice เป็นสิ่งสำคัญ การมีส่วนร่วมของ ชุมชน และองค์กรภายนอกเป็นสิ่งสำคัญ ที่ทำให้งานประสบความสำเร็จ และยั่งยืน โดยงบประมาณของชุมชน

26 ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย
-การบูรณาการของกรม วิชาการ -การบูรณาการ ข้ามกระทรวง -มาตรฐานการประเมินของกรมวิชาการไม่ได้ตอบโจทย์เรื่องตัวชี้วัด -การจัดการข้อมูล การรายงาน และการเก็บข้อมูล ของประเด็นตรวจราชการ ในบางประเด็น ควรสมบูรณ์ก่อนลงพื้นที่

27 การพัฒนาระบบควบคุมโรค
ศักยภาพทีม SRRT SRRT สามารถดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรคได้ ครบวงจร ระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน มีระบบข้อมูล Real time พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ ภาวะฉุกเฉิน พัฒนาระบบสนับสนุนการปฏิบัติการ ระบบเฝ้าระวัง บูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 กลุ่มโรค 5 มิติ) Situation Awareness พยากรณ์โรค IHR 2005 ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ ระบบควบคุมโรคและภัย ช่องทางเข้าออก ระบบเฝ้าระวังช่องทาง เข้าออกประเทศ ระบบบริหารจัดการ สมรรถนะ สุขภาวะชายแดน พัฒนาสุขภาวะชายแดนตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ ประชากรต่างด้าว พัฒนาระบบมูลประชากรต่างด้าว จัดให้ประชากรต่างด้าวเข้าถึงบริการป้องกันควบคุมโรคขั้นพื้นฐาน

28 ความพร้อมในการตอบโต้สถานการณ์ หรือภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข
ร้อยละ 50 ของอำเภอสามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ ไข้เลือดออก : ร้อยละ100 หัด: ร้อยละ 100 ร้อยละ50 ของอำเภอชายแดน(กาบเชิง พนมดงรัก สังขะ บัวเชด)สามารถควบคุมโรคติดต่อสำคัญของพื้นที่ชายแดน มือ เท้าปาก :ร้อยละ 100 อาหารเป็นพิษ : ร้อยละ 100 ความพร้อมในการตอบโต้สถานการณ์ หรือภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุข การป้องกันควบคุมโรค ในพื้นที่จังหวัดชายแดนและช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศ จังหวัดชายแดนที่เป็นเป้าหมายผ่านเกณฑ์การประเมินที่กำหนด สิ่งแวดล้อม โครงสร้าง การซ้อมแผนเตรียมการ MERS

29 การพัฒนาระบบเฝ้าระวังบูรณาการระบบเฝ้าระวังโรค (5 ระบบ 5 มิติ)
ระบบเฝ้าระวังโรคติดต่อทั่วไป (CD) Health determinant, Behavior, Program response, Morbidity/Mortality, Event 17 อำเภอผ่านเกณฑ์คุณลักษณะระบบระบาดวิทยาที่ดีระดับอำเภอ และผลสำเร็จการควบคุมโรค Area Based - การพยากรณ์โรค 5 โรค (ธค.) ระบบควบคุมโรคและภัย ให้ได้ตามมาตรฐาน ตรวจจับเร็ว ระบบเฝ้าระวังโรค SALT วิเคราะห์โรคและภัยสุขภาพ 5 ระบบ 5 มิติให้ชัดและดำเนินมาตรการ (program response) ตามประเด็นปัจจัยต้นเหตุ (determinant) และ พฤติกรรมเสี่ยง (Behavioral risk) ระบบเฝ้าระวังโรค NATI ระบบเฝ้าระวัง Env.-occ ระบบเฝ้าระวัง Area based

30 การตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
มาตรฐาน SRRT ระดับอำเภอ 1. ระดับดี 13 อำเภอ (76.5) 2. ระดับพื้นฐาน 4 อำเภอ (23.5) - ยกระดับ SRRT ระดับดีสู่ระดับดี เยี่ยม: จอมพระ รัตนบุรี สังขะ ลำดวน : แรงจูงใจ บูรณาการเป็น โครงสร้าง การปฏิบัติงานในสถานการฉุกเฉินทุกกลุ่มงาน วิเคราะห์สถานการณ์ ทีมปฏิบัติการ การมีส่วนร่วมจากภาคเอกชน (รพ.เอกชน องค์กรฯลฯ) คุณภาพของการสอบสวนโรคและการเขียนรายงานการสอบสวนโรค ระบบควบคุมโรคและภัย ให้ได้ตามมาตรฐาน ตอบโต้ทัน แผนงาน/โครงการพัฒนาระบบเฝ้าระวังเหตุการณ์ผิดปกติทางสาธารณสุขที่เชื่อมโยงระดับเขตและจังหวัด ประเมินพื้นที่เสี่ยงโรคและภัยสุขภาพ มาตรการเตรียมความพร้อมรับการระบาด MERS และภัยสุขภาพ

31 พัฒนาระบบควบคุมโรคในช่องทางเข้าออกระหว่างประเทศและจังหวัดชายแดนให้ได้ตาม IHR 2005
จัดการประชุมเตรียมความพร้อมพัฒนาระบบเฝ้าระวัง ป้องกันควบคุมโรค และตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ช่องทางเข้าออก (24 กค.) เตรียมการจัดการซ้อมแผนเตรียมความพร้อมรับการระบาดของ MERS มีการวางแผนประสานภาคีที่เกี่ยวข้องในการดำเนินงานประชากรต่างด้าว มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ พัฒนาสิ่งแวดล้อมและโครงสร้างตามกรอบกฎอนามัยระหว่างประเทศ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ระบบควบคุมโรคและภัย ให้ได้ตามมาตรฐาน ประชากรต่างด้าว 1. ข้อมูลประชากรต่างด้าว 2. มาตรการควบคุมโรค 3. ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ

32 นวัตกรรมที่เป็นแบบอย่าง ระบบควบคุมโรคและภัย ให้ได้ตามมาตรฐาน
สุรินทร์ ต้นแบบ IVM ใน อปท.6 ตำบล (อบต.สำโรงทาบ อ.สำโรงทาบ อบต.ไพรขลา อ.ชุมพลบุรี อบต.ปราสาททนง อ.ปราสาท อบต.หนองบัว อ.ศีขรภูมิ อบต.เมืองลิง อ.จอมพระ อบต.เทนมีย์ อ.เมือง) แผนยุทธศาสตร์อำเภอ (อ.รัตนบุรี) นวัตกรรม “แขกมาเยี่ยม เตรียมบ้านไว้รอ” ไข้เลือดออก (รพสต.บ้านดินแดง อ.รัตนบุรี) หมู่บ้านต้นแบบปลอดเหล้า (บ้านโพนแคน ม.7 รพสต.บ้านดินแดง อ.รัตนบุรี) ทุกอำเภอผลิตสื่อ เพื่อสื่อสารความเสี่ยง MERS รพ.ค่ายฯ+ เอกชนผลิตสื่อ มาตรฐานกฎอนามัยระหว่างประเทศ ตรวจจับเร็ว ตอบโต้ทัน ระบบควบคุมโรคและภัย ให้ได้ตามมาตรฐาน 3. ควบคุมโรคและภัยในพื้นที่และกลุ่มเป้าหมายพิเศษ


ดาวน์โหลด ppt จังหวัดสุรินทร์ ระหว่างวันที่ 1-3 ก.ค. 58

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google