งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ 12 3. ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ 19 4. ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ 12 3. ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ 19 4. ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ 12 3. ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ 19 4. ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/1

2 เสียง (Sound) หรือ ออดิโอ (Audio)

3 เสียง (Sound) เสียงเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ งานด้านมัลติมีเดีย ซึ่งสามารถถ่ายทอดอารมณ์ไปยังผู้ชมได้ เช่น การใช้เสียงระทึกใจเพื่อทำให้เกิดความตื่นเต้น หรือเสียงนกร้องเพื่อสร้างบรรยากาศตาม ธรรมชาติ

4 เสียง เสียง อยู่ในรูปแบบของพลังงาน เหมือนกับพลังงานความร้อนและพลังงาน แสง ที่สามารถถ่ายทอดจากที่หนึ่งไปยังอีก ที่หนึ่งผ่านตัวกลางที่เกิดจากการสั่น ของ วัตถุ และแปลงพลังงานที่อยู่ในรูปแบบคลื่น ที่ประกอบด้วยแอมพลิจูด และความถี่ของ คลื่นเสียง ตัวอย่างเช่น เมื่อสั่นกระดิ่งจะ เกิดเป็นพลังงานเดินทางผ่านตัวกลางที่เป็น อากาศเพื่อถ่ายทอดพลังงานดังกล่าว และ สะท้อนมายังหูของมนุษย์ เป็นต้น โดยปกติ มนุษย์สามารถได้ยินเสียงที่มีความถี่อยู่ ระหว่าง 20 ถึง 20,000 เฮิรซต์

5 ระดับเสียงที่มนุษย์สามารถได้ยิน ความดังของ เสียง ( เดซิเบล ) ชนิดของเสียง 0 เสียงที่แผ่วเบาที่สุดที่หูมนุษย์ได้ยิน 30 เสียงกระซิบ หรือเสียงในห้องสมุดที่เงียบสงัด 60 เสียงพูดคุยตามปกติ เสียงจักรเย็บผ้า หรือเสียง พิมพ์ดีด 85 เสียงตะโกนข้ามเขา หรือพื้นที่โล่งกว้าง เพื่อให้ ได้ยินเสียงสะท้อนของตนเองกลับมา 90 เสียงเครื่องตัดหญ้า เสียงเครื่องจักรในโรงงาน หรือเสียงรถบรรทุก 100 เลื่อยไฟฟ้าหรือเครื่องเจาะที่ใช้ลม 115 เสียงระเบิดหิน เสียงในร็อคคอนเสิร์ต หรือเสียง แตรรถยนต์ 140 เสียงยิงปืน เสียงเครื่องบินเจ็ต ซึ่งเป็นเสียงที่ทำ ให้ปวดหู และอาจทำให้หูเสื่อมได้

6 เสียงจากธรรมชาติที่สามารถนำมาใช้บน คอมพิวเตอร์ ด้วยกระบวนการบันทึก (Record) จัดการ (Manipulate) และเล่นเสียง (Playback) แต่ก่อนที่จะผ่านกระบวนการเหล่านี้ จำเป็นต้องแปลงเสียงให้อยู่ในรูปแบบที่ เหมาะสมโดยใช้เครื่องมือสำหรับแปลงคลื่น เสียงกับสัญญาณทางไฟฟ้า ได้แก่ ไมโครโฟน (Microphone) ลำโพง (Speaker) เครื่องขยาย เสียง (Amplifier) และอุปกรณ์ปรับแต่งเสียง (Audio Mixer) คลื่นเสียงประกอบด้วยคุณสม บัติทางฟิสิกส์ ได้แก่ แอมพลิจูด (Amplitude) ความถี่ (Frequency) รูปแบบคลื่น (Waveform) และ ความเร็ว (Speed) ที่ใช้สำหรับถ่ายทอดเสียง

7 อุปกรณ์สำคัญที่ควบคุมสำหรับการทำงานและ เล่นไฟล์เสียง ได้แก่ การ์ดเสียง (Sound Card) อุปกรณ์ถ่ายทอด สัญญาณเสียง (Audio Transmission) และ อุปกรณ์บันทึกเสียง (Audio Mixer) การจัดเก็บไฟล์เสียงในมัลติมีเดีย สามารถ จัดเก็บได้หลากหลายรูปแบบได้แก่ WAV, MID(MIDI), AU(Audio),MP3(MPEG Layer III) เป็นต้น ซอฟต์แวร์ใช้งานเกี่ยวกับภาพและเสียงมีอยู่ มากมายได้แก่ Window Media Player,Winamp, XmultidiaSystem (XMMS),Real player, Musicmatch, Jukebox, JetAudio, Tunes เป็นต้น

8 การนำเสียงมาประยุกต์ใช้งานกับมัลติมีเดีย มี วัตถุประสงค์หลัก คือ ทำให้สามารถเข้าใจถึง เนื้อหาที่ต้องการนำเสนอได้ดีขึ้น และลดการ สื่อสารในรูปแบบที่ซ้ำซ้อน (Redundancy) รวมทั้งเพิ่มโอกาสการสื่อสารข้อมูลผ่านช่องทาง ที่หลากหลายยิ่งขึ้น เสียงที่นำมาใช้กับงาน มัลติมีเดียมีหลายประเภท ได้แก่ เสียงพูด (Speech) เสียงเพลง (Music) และเสียงเอฟ เฟ็กต์ (Sound Efffet)

9


ดาวน์โหลด ppt 1. ด. ช. ปิยวัฒน์ หมื่นเกี๋ยง เลขที่ 7 2. ด. ช. ศิรวิทย์ กิติ เลขที่ 12 3. ด. ญ. กรกมล ตุ้ยเปง เลขที่ 19 4. ด. ญ. กัลญารัตน์ เสาร์แก้ว เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google