งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

อาหารพื้นบ้านประจำภาคเหนือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "อาหารพื้นบ้านประจำภาคเหนือ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 อาหารพื้นบ้านประจำภาคเหนือ

2 สารบัญ 1 แกงอ่อม -8 ไส้อั่ว 2 ข้าวซอย -9 แกงขนุน
1 แกงอ่อม ไส้อั่ว 2 ข้าวซอย แกงขนุน 3 แกงฮังเล น้ำพริกปราร้า 4 น้ำพริกอ่อง 5 แกงโฮะ 6 ขนมจีนน้ำเงี้ยว - 7 น้าพริกหนุ่ม

3 ประวัติของอาหารภาคเหนือ
สภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้ำลำคลองหลายสายไหลผ่าน จึงเป็นแหล่งเพาะปลูกข้าวชั้นเลิศแห่งหนึ่งของโลก ชีวิตคนไทยในอดีตล้วนผูกพันกับสายน้ำ อีกทั้งยังมี ชายฝั่งทะเลเหยียดยาวทั้งด้านอ่าวไทยและฝั่งทะเลอันดามัน อันเป็นแหล่งอาหารประเภทปลานานาชนิด ซึ่งเป็นที่มาของคำพังเพยเปรียบเปรยถึงความอุดมสมบูรณ์ของแหล่งอาหารการกินของไทยว่า "ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว"  

4 1 แกงอ่อม ถือเป็นอาหารยอดนิยมอย่างหนึ่งในบรรดาอาหารเหนือทั้งหลาย โดยเฉพาะในเทศกาลงานเลี้ยงโอกาสพิเศษต่าง ๆ แกงอ่อมเป็นแกงที่ใช้เนื้อได้ทุกประเภท เช่น เนื้อวัว เนื้อควาย เนื้อไก่

5 2 ข้าวซอย เป็นอาหารของไทลื้อ ที่นำมาเผยแพร่ในล้านนาหรือภาคเหนือ ตามตำรับเดิมจะใช้พริกป่นผัด โรยหน้าด้วยน้ำมัน เมื่อมาสู่ครัวไทยภาคเหนือก็ประยุกต์ใช้พริกแกงคั่วใส่กะทิลงไกลายเป็นเคี่ยวให้ข้น ราดบนเส้นบะหมี่ ใส่เนื้อหรือไก่ กินกับผักกาดดอง หอมแดงเป็นเครื่องเคียง

6 3 แกงฮังเล คำว่า โฮะ แปลว่า รวม แกงโฮะก็คือแกงที่นำเอาอาหารหลายอย่างมารวมกันสมัยก่อนแกงโฮมักจะทำจากอาหารหลายอย่างที่เหลือจากงานบุญมาผัดรวมกันแต่ปัจจุบันใช้เครื่องปรุงใหม่ทำก็ได้หรือจะเป็นของที่ค้างคืนและนำมาปรุงใหม่อีกครั้งหนึ่งแกงโฮะเป็นอาหารที่นิยมแพร่หลายมีขายกันแทบทุกร้านอาหารพื้นเมืองในภาคเหนือ

7 4 น้ำพริกอ่อง เป็นน้ำพริกขึ้นชื่อของภาคเหนือ ลักษณะเด่นของน้ำพริกอ่องคือ มีสีส้มของมะเขือเทศ และพริกแห้ง การกินน้ำพริกอ่องต้องมีผักจิ้ม เช่น มะเขือเปราะ ถั่วฝักยาว ผักกาดขาวแตงกวา

8 5 แกงโฮะ คำว่า โฮะ แปลว่า รวม แกงโฮะก็คือแกงที่นำเอาอาหารหลายอย่างมารวมกัน สมัยก่อแกงโฮะมักจะทำจากอาหารหลายอย่างที่เหลือจากงานบุญมาผัดรวมกันแต่ปัจจุบันใช้เครื่องปรุงใหม่ทำก็ได้หรือจะเป็นของที่ค้างคืนและนำมาปรุงใหม่อีกครั้งหนึ่งแกงโฮะเป็นอาหารที่นิยมแพร่หลายมีขายกันแทบทุกร้านอาหารพื้นเมืองในภาคเหนือ

9 6 ขนมจีนน้ำเงี้ยว หรือขนมเส้นหมากเขือส้ม เป็นอาหารพื้นเมืองของชาวไทใหญ่ เดิมใช้เส้นก๋วยเตี๋ยว เป็นหลัก ต่อมาคนพื้นเมืองดัดแปลงมาใช้เส้นขนมจีนแทน กินกับถั่วงอก ผักกาดดอง เพิ่มรสชาติความอร่อยยิ่งขึ้น

10 7 น้าพริกหนุ่ม พริกหนุ่ม คือพริกสดที่ยังไม่แก่จัด น้ำพริกหนุ่ม เป็นน้ำพริกที่มีลักษณะข้น เป็นอาหารพื้นบ้านล้านนาที่รู้จักกันทั่วไป มีจำหน่ายแพร่หลายแก่นักท่องเที่ยว นิยมซื้อเป็นของฝาก รับประทานกับแคบหมู บางสูตรใส่ปลาร้าสับ

11 8 ไส้อั่ว ไส้อั่วเป็นอาหารที่รับประทานได้ทุกเวลา และดูจะเป็นอาหารที่มีรสชาติที่ปรับบทบาทได้ทุกสถานการณ์ เช่น ใช้เป็นอาหารกล่องเวลาเดินทางไกลก็ได้ ซึ่งชาวเหนือใช้เป็นกับข้าวรับประทานกับข้าวเหนียว หรือชาวภาคกลางจะรับประทานกับข้าวสวยก็ไม่แปลก นอกจากเป็นกับข้าวแล้วก็สามารถดัดแปลงเป็นกับแกล้ม

12 9 แกงขนุน แกงขนุน หรือ แกงบ่าหนุน ถือว่าเป็นแกงที่มีชื่อเป็นมงคล บางท่านนิยมแกงกินในงานแต่งงาน เพื่อเป็นเคล็ดว่าให้คู่แต่งงานนั้นมีความเกื้อหนุนจุนเจือต่อกัน

13 10 น้ำพริกปราร้า แซ่บอย่างมีคุณค่า หากจะถามถึงผู้คิดค้นสูตรการทำปลาร้าซึ่งเป็นตำรับอาหารอันลือชื่อของชาวเหนือคงไม่สามารถหาคำตอบได้คาดเดาได้เพียงว่าด้วยเหตุที่ปลาทางภาคอีสานมักมีมากในฤดูฝนเท่านั้น

14 จัดทำโดย เด็กชาย ชนะศักดิ์ แก้วคำ เสนอ ครู วันทนีน์ จิกยอง โรงเรียน จักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน


ดาวน์โหลด ppt อาหารพื้นบ้านประจำภาคเหนือ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google