งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทบาทแพทย์ทหาร ในสถานการณ์ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทบาทแพทย์ทหาร ในสถานการณ์ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทบาทแพทย์ทหาร ในสถานการณ์ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้
นพ. สุวัจน์ เฑียรทอง ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

2 แผนที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
จังหวัดสงขลา อ่าวไทย ประเทศมาเลเซีย ประเทศมาเลเซีย

3 สถานการณ์ความไม่สงบ ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

4 สรุปสถานการณ์ความไม่สงบ
ตั้งแต่ 4 มค. 47 ถึง ปัจจุบัน จำนวนทั้งสิ้น 2,553 ครั้ง ปัตตานี ครั้ง ยะลา ครั้ง นราธิวาส ,243 ครั้ง

5 สถานการณ์ความไม่สงบ จำนวนผู้บาดเจ็บ รวม 1,481 ราย
จำนวนผู้บาดเจ็บ รวม 1,481 ราย ปี จำนวน ราย ปี จำนวน ราย(ตค.) จำนวนผู้เสียชีวิต รวม ราย ปี 2547 จำนวน ราย ปี 2548 จำนวน ราย(ตค.)

6 ระเบิดวันที่ 12 พ.ค. 2548 (ยะลาและสงขลา)
ระเบิดวันที่ 12 พ.ค (ยะลาและสงขลา)

7

8 - เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเสียชีวิต 5 ราย - เผาบ้านพัก ยิงป้อมยาม ขู่ / วางระเบิด

9 ผลกระทบ ทางตรง ทางอ้อม
- ปริมาณงานที่เพิ่มมากขึ้น - เจ้าหน้าที่ขาดแคลนมากขึ้น - ทำงานเชิงรุกน้อยลง ผลกระทบ ทางตรง ทางอ้อม

10 สถานการณ์กำลังคนในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร พยาบาลวิชาชีพ ควรมี มีจริง ควรมี มีจริง ควรมี มีจริง ควรมี มีจริง ปัตตานี 163 71 80 25 73 49 1,186 802 นราธิวาส 165 82 84 25 76 49 1,188 1,010 ยะลา 219 85 60 18 53 48 1,270 995 5 อำเภอ สงขลา 54 30 35 11 30 25 441 282

11 สถานการณ์แพทย์จำแนกตามระดับโรงพยาบาล
รพศ./รพท. ยะลา ปัตตานี นราธิวาส สุไหงโก-ลก เบตง ความต้องการแพทย์ 151 66 48 34 25 จำนวนที่มี 58 28 32 17 21 43/15 21/7 26/6 11/6 16/5 ที่ทำงาน/ลาศึกษา ลาออก/ย้าย 5/5 0/0 0/3 1/1 0/1 ศัลยฯ ทั่วไป 2 1 1 ศัลยฯ กระดูก 2 2 1 1 3 ศัลยฯ สาขาอื่น 7 1 1 รพช. ยะลา ปัตตานี นราธิวาส ความต้องการแพทย์ 43 97 83 จำนวนที่มี 22 42 32

12 สถานการณ์การโอน ย้าย ลาออกจากพื้นที่ ของเจ้าหน้าที่สายหลัก
ปี นราธิวาส ปัตตานี ยะลา รวม 2547 58 20 21 99 2548 90 41 43 174 2549 กำลังจัดเก็บข้อมูลรายละเอียด

13 การแก้ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ในพื้นที่
จัดแพทย์อาสา Gen. Surg./Ortho ต่อเนื่อง ตั้งแต่ 2547 (จากส่วนราชการอื่น ๆ กรมการแพทย์ และเขตต่าง ๆ ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข) ชุดละ 1 สัปดาห์ 2. ให้โอกาสในการศึกษาฝึกอบรม Resident เร็วขึ้น กว่าแพทย์ที่ปฏิบัติงานใช้ทุนในพื้นที่ อื่น ๆ โดยแพทยสภา ให้การสนับสนุนการจัดหาสถาบันฝึกอบรมให้ 3. ให้โอกาสแพทย์ที่เลือกไปปฏิบัติงานใช้ทุนในพื้นที่ ได้โยกย้าย เป็นกลุ่มแรก

14 การแก้ปัญหาการขาดแคลนแพทย์ในพื้นที่(ต่อ)
4. ปรับด้านขวัญกำลังใจ โดยปรับเพิ่มค่าตอบแทน และสวัสดิการต่าง ๆ 5. ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ให้นักเรียนในพื้นที่เข้าเรียนแพทย์ ปีละ 30 คน เริ่มปี2548 โดย รพศ. ยะลา เป็นสถาบันร่วมในชั้น Clinic

15 บทบาทของแพทย์ทหาร 1. แพทย์ทหาร (ทหารเรือ และทหารบก) มีแพทย์ประจำ ในพื้นที่ เกือบ 20 นาย เป็นกำลังสำคัญในการสนับสนุนด้านการรักษาพยาบาล และการสร้างสุขภาพ 2. แพทย์ทหาร ดำเนินการปฏิบัติการจิตวิทยา ในชุมชน ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งในการดูแลสุขภาพในชุมชนอย่างได้ผล 3. สนับสนุนงานบางด้าน เช่น งานด้านการชันสูตรพลิกศพ

16 บทบาทของแพทย์ทหาร(ต่อ)
4. แพทย์ทหารนอกพื้นที่ ขณะนี้ กองทัพบก ได้จัดส่งศัลยแพทย์ทั่วไป จำนวน 3 นาย ไปปฏิบัติงานประจำที่รพ. ยะลา นราธิวาสฯ และปัตตานี จึงขอให้จัดสรรศัลยแพทย์ อาสาไปปฏิบัติงานประจำระยะยาว เพิ่มเติม เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนศัลยแพทย์ และความต่อเนื่องในการดูแลผู้ป่วย 5. ขอการสนับสนุนจาก รพ. ค่ายอิงคยุทธบริหาร ในการ Refer ทางอากาศ เพื่อแก้ปัญหาการส่งต่อกลางคืน 6. ขอการสนับสนุนจากหน่วยเหนือของเหล่าทัพ ทั้งด้านนโยบาย งบประมาณ ยาและเวชภัณฑ์ เพื่อให้ทหารดำเนินการในพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้น

17 การจัดทำแผนซ้อมรับอุบัติเหตุหมู่
ความร่วมมือ จาก กองทัพ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และ สภากาชาดไทย รวมทั้งโรงพยาบาลต่าง ๆ ในพื้นที่ จัดทำแผนซ้อมรับอุบัติเหตุหมู่ ในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้


ดาวน์โหลด ppt บทบาทแพทย์ทหาร ในสถานการณ์ 3 จังหวัด ชายแดนภาคใต้

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google