งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

พ.ร.บ. การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "พ.ร.บ. การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 พ.ร.บ. การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) : กระทรวงการคลัง STATE ENTERPRISE LAW FOCUS : รายแห่ง การไฟฟ้านครหลวง (กฟน.) ข้อมูลทั่วไป พระราชบัญญัติคุณสมบัติมาตรฐานสำหรับกรรมการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ พ.ศ และที่แก้ไขเพิ่มเติม สังกัด : กระทรวงมหาดไทย ประธานกรรมการ : นายมงคล สุระสัจจะ กรรมการผู้แทน กค. : นายสมชัย สัจจพงษ์ Website : โทร , คุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของบุคลากรรัฐวิสาหกิจ ประกอบด้วย กรรมการ (ม.5) ผู้บริหารสูงสุด (ม. 8 ตรี) พนักงาน (ม. 9) จำนวนกรรมการ ไม่เกิน 11 คน แต่ถ้ารัฐวิสาหกิจใดมีข้อกำหนดให้มีกรรมการน้อยกว่า 11 คน ก็ให้เป็นไปตามที่กำหนดไว้ แต่ถ้าจำเป็นต้องมีกรรมการเกินกว่า 11 คน ให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัด ขออนุมัติจาก ครม. แต่รวมแล้วต้องไม่เกิน 15 คน (ม. 6) การนับจำนวนการดำรงตำแหน่งของกรรมการในรัฐวิสาหกิจ ไม่เกิน 3 แห่ง นับรวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่ง การได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติราชการแทน แต่ไม่รวมการเป็นกรรมการโดยตำแหน่งที่ได้มีการมอบหมายให้ผู้อื่นปฏิบัติราชการแทน (ม. 7) วาระการดำรงตำแหน่ง 3 ปี กรณีกรรมการที่มิใช่กรรมการโดยตำแหน่ง แต่อาจได้รับแต่งตั้งใหม่ (ม. 8) การแต่งตั้งกรรมการอื่น ผู้มีอำนาจพิจารณาแต่งตั้งจากบุคคลในบัญชีรายชื่อกรรมการที่ กระทรวงการคลังจัดทำขึ้น ไม่น้อยกว่า 1 ใน 3 ของจำนวนกรรมการอื่นของรัฐวิสาหกิจนั้น (ม. 12/1 วรรค 1) การกำหนดค่าตอบแทนและร่างสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการรัฐวิสาหกิจกำหนด โดยความเห็นชอบของกระทรวงการคลัง (ม. 8 จัตวา วรรคเจ็ด) ข้อมูลเกี่ยวกับสัญญาจ้างผู้บริหารสูงสุด ผู้ว่าการ (CEO) : นายอาทร สินสวัสดิ์ สัญญาจ้างลงวันที่ : 15 พ.ย. 2553 ระยะเวลาจ้าง : 15 พ.ย. 53 – 23 ม.ค. 57  วาระที่ 1  วาระที่ 2 ที่มาของ CEO :  Board  รอง CEO  บุคคลภายนอก ตำแหน่งเดิมก่อนเป็น CEO (รองผู้ว่าการ กฟน.) รอง CEO  พนักงาน  สัญญาจ้าง CFO  พนักงาน  สัญญาจ้าง พ.ร.บ. การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501 วัตถุประสงค์ (ม. 6 ประกอบม. 13) 1) ผลิตพลังงานไฟฟ้าไปพลางก่อนในระหว่างที่ยังไม่ได้มีการโอนตาม พ.ร.บ การไฟฟ้ายันฮี พ.ศ. 2500 2) จัดให้ได้มาและจำหน่ายพลังงานไฟฟ้า 3) ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับพลังงานไฟฟ้าและธุรกิจอื่นที่เกี่ยวเนื่อง หรือที่เป็นประโยชน์ แก่ กฟน. เงินเดือนพนักงาน กลุ่มโครงสร้างเงินเดือน บอร์ดกำหนดโครงสร้างเงินเดือนได้เอง  มีบัญชีโครงสร้างเงินเดือนของตนเอง ใช้บัญชีโครงสร้างเงินเดือน 58 ขั้น (Min – Max ของเงินเดือน = 7,014 – 224,640 บาท) ป.ตรี (4 ปี) = 10,810 บาท / 11,430 บาท (วิศวกร) จำนวนพนักงาน 8,470 คน (31 พ.ค. 54) จำนวนและองค์ประกอบคณะกรรมการ ประกอบด้วย ประธานกรรมการ 1 คน ผู้ว่าการ เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง กรรมการอื่นอีกไม่น้อยกว่า 5 คนแต่ไม่เกิน 9 คน ในกรณีที่มีความจำเป็นต้องมีจำนวนกรรมการเพิ่ม ให้เสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้นได้ แต่ต้องไม่เกิน 15 คน (รวมประธานด้วยแล้ว) (ม.20) วาระการดำรงตำแหน่ง : ให้ประธานกรรมการ และกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งดำรงตำแหน่ง 6 ปี แต่สำหรับกรรมการนั้นในวาระเริ่มแรกเมื่อครบกำหนด 3 ปี ให้ออกจากตำแหน่งกึ่งหนึ่งโดยวิธีจับสลาก ประธานกรรมการและกรรมการที่พ้นจากตำแหน่งตามวาระ จะแต่งตั้งให้เป็นประธานกรรมการ และกรรมการอีกก็ได้ (ม. 24) ผู้มีอำนาจแต่งตั้งผู้บริหารสูงสุด คณะกรรมการเป็นผู้แต่งตั้งผู้ว่าการโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี (ม. 27) ค่าตอบแทนผู้บริหารสูงสุด การแต่งตั้ง การกำหนดเงินเดือนและการให้ออกจากตำแหน่งของผู้ว่าการจะต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี (ม. 27 วรรค 3) มติ ครม. ที่ยกเว้นการปฏิบัติเรื่องต่าง ๆ  ยกเว้นการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ และมติคณะรัฐมนตรีที่ใช้บังคับกับรัฐวิสาหกิจทั่วไป  ยกเว้นการปฏิบัติตามม. 13 (2) พ.ร.บ.แรงงานรัฐวิสาหกิจสัมพันธ์ พ.ศ. 2543 การดำเนินการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานหรือดำเนินการในกิจการของรัฐ พ.ศ. 2535 อำนาจพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง เดินสายส่งข้ามที่ดินของผู้อื่น (ม. 35) เวนคืนอสังหาริมทรัพย์เพื่อประโยชน์ในการระบบการส่งหรือจำหน่ายไฟฟ้า (ม.35ทวิ) ตัดต้นไม้ กิ่ง หรือรากที่อยู่ใกล้สายส่ง (ม. 36) รื้อถอนป้าย โครงป้าย หรือโครงสร้าง (ม. 36 ทวิ) อำนาจเข้าไปสถานที่ต่างๆ ของ พนักงาน กฟน. (ม. 37)  ไม่มีบทกำหนดว่า พนักงาน กฟน. เป็นเจ้าพนักงานตาม ป.อาญา แต่มีบทกำหนดโทษผู้ขัดขวางการปฏิบัติงานของพนักงานตามอำนาจข้างต้น ปัจจุบันไม่ปรากฏโครงการตาม พ.ร.บ. ว่าด้วยการให้เอกชนเข้าร่วมงานฯ หมายเหตุ ในการพิจารณาคุณสมบัติบุคลากรรัฐวิสาหกิจจะต้องพิจารณา พ.ร.บ. คุณสมบัติมาตรฐานฯ กฎหมายจัดตั้งรัฐวิสาหกิจและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องประกอบกัน สิทธิพิเศษตามกฎหมายจัดตั้ง กรณีที่ รายได้ของ กฟน. ไม่พอกับรายจ่าย และนอกจากเงินสำรองและ กฟน.ไม่สามารถหาเงินจากทางอื่นได้ รัฐพึงจ่ายเงินให้แก่ กฟน. เท่าที่ขาด (ม. 43) ที่มาของข้อมูล  สัญญาจ้างผู้บริหาร   มติคณะรัฐมนตรี  ประสานงานกับเจ้าหน้าที่รัฐวิสาหกิจ สิทธิพิเศษตามมติคณะรัฐมนตรีเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้าง สำนักกฎหมาย ส่วนกฎหมาย 3 ผู้อำนวยการส่วน : นายณัฐวุฒ ไพศาลวัฒนา ผู้จัดทำ : นายณัฐวุฒ ไพศาลวัฒนา โทร ต่อ 6721 วันที่จัดทำ : 31 พ.ค. 54 (Update) คำสั่งนายกรัฐมนตรี ตามหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีที่ สร 0203/ว 171 ลงวันที่ 23 กันยายน 2523 เห็นชอบให้ กฟน. ได้รับสิทธิพิเศษในการรับจ้างให้บริการภายในตัวอาคารที่เป็นงานการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแก่ส่วนราชการ โดยไม่ต้องประกวดราคา หรือสอบราคา ความเห็นคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เกี่ยวข้อง เรื่องเสร็จที่ 369/2553 เรื่อง การประกอบกิจการโทรคมนาคมของ กฟน. ตามพ.ร.บ. การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ (กฟน.สามารถนำสายใย แก้วนำแสงส่วนที่เหลือจากการใช้งานไปให้เช่าใช้ประโยชน์ในกิจการโทรคมนาคมได้)


ดาวน์โหลด ppt พ.ร.บ. การไฟฟ้านครหลวง พ.ศ. 2501

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google