ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยปรีดา สโตเกอร์ ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4 กับ มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ. ศ
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4 กับ มาตรฐานการอาชีวศึกษา พ.ศ (ปรับปรุง พ.ศ. 2558) ดร. ธีรวรรค์ วระพงษ์สิทธิกุล ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
2
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 3
ตัวบ่งชี้ พิจารณาจาก 1 กลุ่มพื้นฐาน (1-30) คะแนน - ผลการจัดการศึกษา (1-6) (ชี้ผลลัพธ์ผลกระทบที่เกิดจากภารกิจสถานศึกษา) การจัดการเรียนการสอน ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (7) การบริหารจัดการศึกษา (8.1,8.2-11) - การประกันคุณภาพภายใน (12-13) 2 กลุ่มอัตลักษณ์ (14) คะแนน - ผลการจัดการศึกษา ( ) (ชี้ผลผลิตตามปรัชญา ปณิธานวิสัยทัศน์ พันธกิจและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษา รวมถึงความสำเร็จตามจุดเน้นจุดเด่นที่สะท้อนเป็นเอกลักษณ์ของสถานศึกษา) 3 กลุ่มมาตรการส่งเสริม (15-18) 20 คะแนน - ผลการจัดการศึกษา (15-16) (ชี้ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา ในการเป็นผู้นำและแก้ปัญหาสังคม) - การบริหารจัดการศึกษา (17-18)
3
การประเมินคุณภาพภายนอกรอบ 4
รอบ 3 จำนวนตัวบ่งชี้ กลุ่ม 1 กลุ่มตัวบ่งชี้พื้นฐาน 1-13 กลุ่ม 2 กลุ่มตัวบ่งชี้อัตลักษณ์ 14 กลุ่ม 3 กลุ่มตัวบ่งชี้มาตรการส่งเสริม 15-18 รวม 18 รอบ 4 จำนวนตัวบ่งชี้ ด้านที่ 1 ด้านคุณภาพศิษย์ 4 ด้านที่ 2 ด้านคุณภาพครู/อาจารย์ ด้านที่ 3 ด้านการบริหารธรรมา ภิบาลของสถานศึกษา ด้านที่ 4 ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม 2 ด้านที่ 5 ด้านการบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ด้านที่ 6 ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ ด้านที่ 7 ด้านมาตรการส่งเสริม รวม 20
4
ด้านคุณภาพศิษย์ ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนเป็นคนดี ตัวบ่งชี้ที่ 2 ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ที่ 4 ศิษย์เก่าที่ทำประโยชน์ให้กับสถานศึกษา
5
ด้านคุณภาพศิษย์ ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบ 4 ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม
ด้านคุณภาพศิษย์ ตัวบ่งชี้ที่ 1 ผู้เรียนเป็นคนดี -ทำงาน ตบช.2.5 ระดับคุณภาพในการฝึกงาน ระดับคุณภาพในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (นอกหลักสูตร) -ทำกิจกรรม ตบช.6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้าน การรักชาติฯ ตบช.6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตบช.6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ ตบช.6.4 ระดับคุณภาพปลูกจิตสำนึกด้านปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง -บำเพ็ญประโยชน์ ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ การบริการวิชาการและวิชาชีพ
6
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม
ตัวบ่งชี่ที่ 2 ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามหลักสูตร -ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ICT -ไม่มี- ร้อยละของผู้เรียนชั้นปีสุดท้ายที่มีความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ตามมาตรฐาน ICT -ด้านการทดสอบระดับชาติ V-net ตบช.1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจาก การทดสอบการศึกษาระดับชาติ ตบช.1.5 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจาก ภาษาอังกฤษ -ด้านมาตรฐานวิชาชีพ VQ ตบช.1.3 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ตบช.1.6 ร้อยละของผู้เรียนที่ผ่านเกณฑ์ การทดสอบมาตรฐานอาชีพฯ
7
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม
-ด้านผู้สำเร็จการศึกษามี งานทำ/ทุนการศึกษาต่อ ตบช.1.8 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาได้งานทำ หรือประกอบอาชีพอิสระฯ ตบช ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการฯ ต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา -อัตราการออกกลางคัน Dropout ตบช.1.7 ร้อยละของผู้สำเร็จการศึกษาตามหลักสูตรกับ แรกเข้า ตัวบ่งชี้ที่ 3 ผู้เรียนมีผลงานที่นำไปใช้ ประโยชน์ ตบช.5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการโครงการ สิ่งประดิษฐ์ฯ ของผู้เรียน
8
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ศิษย์เก่าทำประโยชน์ให้กับสถานศึกษา - กิจกรรมพัฒนา วิชาการ/วิชาชีพ ตบช.5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ โครงการ สิ่งประดิษฐ์ฯ ของผู้เรียน ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ -กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตบช.6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึก ด้านการรักชาติฯ ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการพัฒนาผู้เรียน ตบช.6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึก ด้านการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตบช.6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้าน การกีฬาและนันทนาการ
9
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม
ตัวบ่งชี้ที่ 4 ศิษย์เก่าทำประโยชน์ให้กับสถานศึกษา -กิจกรรมพัฒนาวิชาการ/ วิชาชีพ ตบช.5.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ โครงการ สิ่งประดิษฐ์ฯ ของผู้เรียน ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการพัฒนานวัตกรรมสิ่งประดิษฐ์ -กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตบช.6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้าน การรักชาติฯ ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการพัฒนาผู้เรียน ตบช.6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้าน การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ตบช.6.3 ระดับคุณภาพในการส่งเสริมด้านการกีฬา และนันทนาการ
10
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม
-กิจกรรมพัฒนา สถานศึกษา ตบช.3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของ สถานศึกษาฯ -งานสร้างสรรค์สังคม ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ การบริการวิชาการและวิชาชีพ ร้อยละของศิษย์เก่าที่กลับมาช่วยเหลือและร่วมมือในการบริการวิชาการ/วิชาชีพ -การสนับสนุน ทรัพยากร ตบช.3.12 ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรใน การจัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายฯ -การสนับสนุนการศึกษา
11
2. ด้านคุณภาพครู/อาจารย์
ตัวบ่งชี้ที่ 5 ครู/อาจารย์มีความรู้ความสามารถ ตัวบ่งชี้ที่ 6 ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ ตัวบ่งชี้ที่ 7 ครู/อาจารย์มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ตัวบ่งชี้ที่ 8 ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์
12
ด้านคุณภาพครู/อาจารย์
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านคุณภาพครู/อาจารย์ ตัวบ่งชี้ที่ 5 ครู/อาจารย์มีความรู้ความสามารถ ตบช.3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและ บุคลากรการศึกษา ตบช.1.4 ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจาก การทดสอบการศึกษาระดับชาติ ตัวบ่งชี้ที่ 6 ครู/อาจารย์สร้างสรรค์ห้องเรียน/แหล่งเรียนรู้คุณภาพ ตบช.3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของ สถานศึกษาฯ ตบช.3.9 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และคอมพิวเตอร์
13
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ตัวบ่งชี้ที่ 7 ครู/อาจารย์มีผลงานที่นำไปใช้ประโยชน์ ตบช.5.2 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ นวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ฯ งานวิจัย ของครู ตัวบ่งชี้ที่ ๘ ครู/อาจารย์ได้รับการเพิ่มพูนความรู้/ประสบการณ์ ตบช.3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและ บุคลากรการศึกษา ตบช.5.2 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการ
14
3. ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ที่ 9 การดำเนินการของคณะกรรมการสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 10 การดำเนินงานของผู้อำนวยการ ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารความเสี่ยง ตัวบ่งชี้ที่ 12 การพัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
15
ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ 9 การดำเนินการของคณะกรรมการสถานศึกษา - การบริหารจัดการที่ดี ตบช.3.1 ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการสถานศึกษาฯ - รายงานประจำปี ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผน การบริหารจัดการสถานศึกษา - ระบบข้อมูล สารสนเทศ ตบช.3.5 ระดับคุณภาพในการบริหารจัด การระบบฐานข้อมูล สารสนเทศ ของสถานศึกษาฯ
16
ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านการบริหารธรรมาภิบาลของสถานศึกษา ตัวบ่งชี้ที่ ๑๐ การดำเนินงานของผู้อำนวยการ -รายงานงบการเงิน ตบช.3.11 ระดับคุณภาพในการบริหารการเงินและ งบประมาณ -ระบบฐานข้อมูล สารสนเทศ ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการบริหาร จัดการสถานศึกษา ตบช.3.5 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการระบบ ฐานข้อมูล สารสนเทศของสถานศึกษาฯ -การประเมินการ ปฏิบัติงาน ตบช.3.1 ระดับคุณภาพในการปฏิบัติงานของ คณะกรรมการสถานศึกษาฯ ตบช.3.4 ระดับคุณภาพในการบริหารงานและภาวะผู้นำ ของผู้บริหารสถานศึกษา
17
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ตัวบ่งชี้ที่ 11 การบริหารความเสี่ยง ตบช.3.6 ระดับคุณภาพในการบริหารความเสี่ยง ตบช.3.7 ระดับคุณภาพในการจัดระบบดูแลผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 12 การพัฒนาบุคลากรสายสนันสนุน ตบช.3.10 ระดับคุณภาพในการพัฒนาครูและ บุคลากรการศึกษา
18
ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านความสัมพันธ์กับชุมชน/สังคม ตัวบ่งชี้ที่ 13 การให้บริการวิชาการ/วิชาชีพที่ส่งผลต่อชุมชน/สังคม ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหาร จัดการการบริการวิชาการและ วิชาชีพ ตัวบ่งชี้ที่ ๑๔ การให้บริการวิชาการ/วิชาชีพที่ส่งผลต่อสถานศึกษา -ด้านเอกสารคำสอน ตำรา หนังสือ ตบช.2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำ แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา -ด้านสิ่งประดิษฐ์ โครงงาน นวัตกรรม ตบช.5.2 ระดับคุณภาพในการบริหาร จัดการนวัตกรรม สิ่งประดิษฐ์ฯ งานวิจัยของครู
19
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม
- แผนงาน ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการบริหาร จัดการสถานศึกษา - รายงานแสดงระบบและกลไก ตบช.7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพ ภายใน -ประเมินความพึงพอใจของชุมชน ต่อสถานศึกษา ตบช.1.2 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการฯ ต่อคุณภาพของผู้เรียน ตบช.1.9 ระดับความพึงพอใจของสถานประกอบการฯ ต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา -เอกสารคำสอน/รายวิชา/ตำรา ตบช.2.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการจัดการ เรียนรู้รายวิชา -หลักสูตรใหม่ ตบช.2.1 ระดับคุณภาพในการใช้และพัฒนาหลักสูตร ฐานสมรรถนะ -ปัจจัยความสำเร็จในการบริหาร วิชาการ/วิชาชีพ ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการการบริการ วิชาการและวิชาชีพ
20
5. ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้ที่ 15 การส่งเสริมที่สนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 16 การพัฒนาสุนทรียภาพ
21
ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านการทำนุบำรุงศิลปะและวัฒนธรรม ตัวบ่งชี้ที่ 15 การส่งเสริมที่สนับสนุนศิลปะและวัฒนธรรม ตบช.3.11 ระดับคุณภาพในการบริหารการเงินและ งบประมาณ ตบช.6.1 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้านการรักชาติฯ ตัวบ่งชี้ที่ 16 การพัฒนาสุนทรียภาพ -แผนพัฒนา ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการบริหารจัดการ สถานศึกษา -อาคารสถานที่ ภูมิสถาปัตย์ สะอาด สวยงาม ตบช.3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาฯ -สืบสานประเพณีท้องถิ่น ตบช.6.2 ระดับคุณภาพในการปลูกจิตสำนึกด้านการ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
22
6. ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์
ตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตลักษณ์ผู้เรียน ตัวบ่งชี้ที่ 18 เอกลักษณ์สถานศึกษา
23
ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านอัตลักษณ์/เอกลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 17 อัตลักษณ์ผู้เรียน -ปรัชญา ปณิธาน และ พันธกิจของสถานศึกษา ตบช.3.2 ระดับคุณภาพในการจัดทำแผนการบริหาร จัดการสถานศึกษา -ระบบและกลไก ตบช.7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพ ภายใน ตบช.3.3 ระดับคุณภาพในการพัฒนาสถานศึกษา ตามอัตลักษณ์ ตัวบ่งชี้ที่ 18 เอกลักษณ์สถานศึกษา -การมีส่วนร่วม -แหล่งเรียนรู้ ตบช.3.8 ระดับคุณภาพในการพัฒนาและดูแล สภาพแวดล้อมและภูมิทัศน์ของสถานศึกษาฯ
24
7. ด้านมาตรการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 19 มาตรการส่งเสริม (ภายในสถานศึกษา) ตัวบ่งชี้ที่ 20 มาตรการส่งเสริม (ภายนอกสถานศึกษา)
25
ด้านมาตราการส่งเสริม
ตัวบ่งชี้ สมศ. รอบสี่ ตัวบ่งชี้ สอศ. สิ่งที่ต้องทำเพิ่ม ด้านมาตราการส่งเสริม ตัวบ่งชี้ที่ 19 มาตราการส่งเสริม(ภายในถานศึกษา) -ไม่มี- ร้อยละของผู้เรียนที่มีคะแนนเฉลี่ยจากการทดสอบภาษาอังกฤษ ที่เทียบเท่า CEFR* ตัวบ่งชีที่ 20 มาตราการส่งเสริม(ภายนอกสถานศึกษา) -ระบบและกลไก ตบช.7.1 ระดับคุณภาพในระบบการประกันคุณภาพ ภายใน -การมีส่วนร่วม ตบช.3.12 ระดับคุณภาพในการระดมทรัพยากรในการ จัดการอาชีวศึกษากับเครือข่ายฯ ตบช.4.1 ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการการบริการ วิชาการและวิชาชีพ CEFR* : The Common European Framework of Reference for Languages “กรอบอ้างอิงความสามารถทางภาษาอังกฤษที่เป็นสากล”
26
กลุ่มส่งเสริมวิชาการ หน่วยศึกษานิเทศก์ สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โทรศัพท์/โทรสาร ต่อ 119,121
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.