ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
1
อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี อนันต์ สิทธิวัฒนานนท์
รัฐประศาสนศาสตร์ อาจารย์ ว่าที่ร้อยตรี อนันต์ สิทธิวัฒนานนท์
2
หัวข้อในการบรรยาย ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์
ความแตกต่างระหว่างการบริหารภาครัฐและการบริหารภาคเอกชน สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์ ขอบเขตของรัฐประศาสนศาสตร์
3
1.ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ = Public Administration การบริหาร = Administration สาธารณะ,รัฐกิจ = Public
4
1.ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์
“การบริหาร” คือ กระบวนการอย่างหนึ่งที่มีคนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปร่วมมือกระทำกิจกรรมใดกิจกรรมหนึ่งให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดขึ้น (อุทัย เลาหวิเชียร, 2543) โดยการบริหารประกอบไปด้วยองค์ประกอบที่สำคัญ 5 ประการ ดังนี้ (อุทัย เลาหวิเชียร, 2543) 1. มีคนรวมอยู่ด้วย 2. มีการกระทำ 3. มีการปฏิสัมพันธ์ 4. มีกิจกรรมร่วมกัน 5. เพื่อบรรลุเป้าหมายอย่างหนึ่งอย่างใดที่กำหนด
5
1.ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์
การบริหาร มีลักษณะเป็นกระบวนการซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนต่างๆ ดังนี้ 1. การวางแผน (Planning) 2. การจัดองค์การ (Organizing) 3. การเป็นผู้นำ (Leading) 4. การควบคุม (Controlling)
6
1.ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์
ปัจจัยพื้นฐานทางการบริหารที่สำคัญ ได้แก่ 1. คน (Man) 2. เงิน (Money) 3. วัสดุ อุปกรณ์ (Leading) 4. การจัดการ (Management)
7
1.ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์
“สาธารณะ” ราชบัณฑิตยสถาน (2538: 826) ให้ความหมายคำว่า สาธารณะ หมายถึง ทั่วไปเกี่ยวกับประชาชน และสาธารณะสมบัติทรัพย์สินส่วนรวมของประชาชน สอ เสถบุตร (2530: 592) ได้แปลความหมายคำว่า Public เป็นภาษาไทยว่าสาธารณะซึ่งหมายถึง ที่สาธารณะ ชุมชน เปิดเผย การเผยแพร่ สิ่งที่เป็นของทั่วไป เช่น ถนนหลวง สิ่งที่เป็นของรัฐบาล และสิ่งที่เป็นของประชาชน
8
1.ความหมายของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์/สาธารณบริหารศาสตร์ = Public Administration [ในแง่ของสาขาวิชา (Discipline) หรือการศึกษา (Study)] การบริหารรัฐกิจ/การบริหารงานสาธารณะ = public administration [ในแง่ กิจกรรม(Activity) หรือกระบวนการของการบริหารงาน สาธารณะ]
9
2.ความแตกต่างระหว่างการบริหารภาครัฐ และการบริหารภาคเอกชน
ธรรมชาติของสินค้า ความเป็นเจ้าของทรัพยากร ลักษณะของผู้นำ เป้าหมายที่ต้องการบรรลุ
10
3.สถานภาพของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์ เป็น “ศาสตร์ (Science) และศิลป์ (Art)” รัฐประศาสนศาสตร์ เป็น “สหวิทยาการ (Interdisciplinary)” รัฐประศาสนศาสตร์ เป็น “สังคมศาสตร์ประยุกต์ (Applied Socail Sciences)”
11
4.ขอบเขตของรัฐประศาสนศาสตร์
รัฐประศาสนศาสตร์มีขอบเขตที่กว้างขวางมากจนแทบหาจุดจบไม่ได้ ทำให้เกิดลักษณะของการขาดเอกลักษณ์หรือวิกฤติการณ์ทางเอกลักษณ์ (Identity Crisis) (สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ, 2540) อุทัย เลาหวิเชียร (2543) เสนอว่ารัฐประศาสนศาสตร์มีขอบข่ายอยู่ ขอบข่าย ได้แก่ 1. การเมืองและนโยบายสาธารณะ 2. ทฤษฎีองค์การ 3. เทคนิคการบริหาร
12
4.ขอบเขตของรัฐประศาสนศาสตร์
วิชา PPA1102 หลักรัฐประศาสนศาสตร์ ของหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารงานตำรวจ แบ่งขอบข่ายรัฐประศาสนศาสตร์เป็น 6 ขอบข่าย ดังนี้ 1. การบริหารกับสภาพแวดล้อม 2. การบริหารกับการเมือง 3. นโยบายสาธารณะและการวางแผน 4. องค์การและการจัดการ 5. การบริหารงานบุคคล 6. การบริหารการคลังและงบประมาณ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.