งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต
บทความวิจัย เรื่อง การหาประสิทธิภาพสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

2 ปัญหาการวิจัย ผู้วิจัยต้องการสร้างและหาประสิทธิภาพสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อสร้างสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2.เพื่อหาประสิทธิภาพสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

4 ผังสรุปสำคัญ ประชากร กลุ่มตัวอย่าง
นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต ประจำปีการศึกษา จำนวน 27 คน กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต จำนวน 27 คน ตัวแปรที่ศึกษา ตัวแปรอิสระ -สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) ตัวแปรตาม -ประสิทธิภาพของสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)

5 ผังสรุปสำคัญ เครื่องมือที่ใช้เก็บข้อมูล
สื่อการสอนแบบโปรแกรม Power-Pointและโปรแกรม Microsoft Visual Basic 6.0 ที่ผู้วิจัยสร้าง แผนการสอน เอกสารประกอบคำสอน และใช้แบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนและผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเป็นข้อสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก เป็นแบบทดสอบในหน่วยการเรียนแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียนเป็นแบบ 4 ตัวเลือก จำนวนหน่วยละ 10 ข้อ รวม ข้อ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์หลังเรียนเป็นแบบ 4 ตัวเลือก จำนวน ข้อ ซึ่งผู้สอนได้สร้างขึ้นเอง และได้ผ่านการตรวจสอบคุณภาพมาแล้ว สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ใช้ค่าร้อยละ(Percentage)ในการหาประสิทธิภาพสื่อ โดยใช้ค่าเปรียบเทียบ E1/E2 ซึ่งกำหนดให้ค่าประสิทธิภาพเท่ากับ 70/70

6 ผังสรุปสำคัญ ผลการทดสอบหาประสิทธิภาพของการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) สำหรับนักเรียนชั้น ปวส. ผลการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) โดยการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กำหนด(70/70) โดยใช้ E1/E2 การทดลอง มีรายละเอียดดังนี้ นำสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)ไปใช้สอนกับนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต จังหวัดภูเก็ต แล้วนำผลการทดลองไปวิเคราะห์หาประสิทธิภาพ( E1/E2 ) พบว่าประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนดไว้ คือมีประสิทธิภาพ 87.03/ รายละเอียดดังตารางที่ 1

7 ผังสรุปสำคัญ

8 สรุปผลการวิจัย ตารางที่ 1 จากการทดสอบหาค่าประสิทธิภาพของการใช้สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI) วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 สำหรับนักเรียนระดับ ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ชั้นปีที่ 2 สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554 วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต จำนวน 27 คน พบว่า ร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่ผู้เรียนทำแบบทดสอบท้ายหน่วยการเรียน(E1) มีค่าเท่ากับ และร้อยละของคะแนนเฉลี่ยที่นักเรียนทำแบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน(E2) มีค่าเท่ากับ แสดงว่าประสิทธิภาพของสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 มีค่าเท่ากับ 87.03/ เมื่อเทียบกับเกณฑ์ 70/70 ปรากฏว่าสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)วิชาวิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 มีประสิทธิภาพสูงกว่าเกณฑ์ 70/70

9 สรุปผลการวิจัย จากการทดสอบการหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเอง วิชาการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2 ผลจากการทดสอบหาประสิทธิภาพของสื่อการเรียนรู้ด้วยตนเองเรียน โดยใช้วิธีสอนด้วยการ ประยุกต์ใช้วิธีสอน โดยการใช้สื่อ ปรากฏว่าผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของสื่อ(E1/E2) ซึ่งพบว่าสูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด(70/70) คือมีประสิทธิภาพ /75.62

10 ประโยชน์ที่ได้จากการศึกษาวิจัย
นำไปพัฒนาสื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน(CAI)สำหรับในรายวิชาต่างๆเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน


ดาวน์โหลด ppt ผู้วิจัย นายไพรัตน์ ศิลปสาตร์ สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีภูเก็ต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google