ดาวน์โหลดงานนำเสนอ
งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ
ได้พิมพ์โดยPanyarachun Sukbunsung ได้เปลี่ยน 9 ปีที่แล้ว
1
นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู www.mbk.ac.th
วิจัยเรื่อง การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเลขยกกำลังของนักศึกษาระดับชั้น ปวส. 1 สาขางานเทคนิคยานยนต์ โดยให้นักศึกษาสรุปบทเรียนด้วยการทำบทเรียนสำเร็จรูป วิชา คณิตศาสตร์ 2 วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู ปีการศึกษา 2556 นายวิระ หนูราช วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
2
ปัญหาการวิจัย เนื่องจากหลังจากเรียนจบในแต่ละคาบ นักศึกษาไม่สามารถสรุปเนื้อหาที่เรียนได้ ขาดทักษะด้านการคิด การเขียน ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะแก้ปัญหาดังกล่าว โดยการจัดการเรียนการสอนที่เกิดผลสัมฤทธิ์สูง เพื่อให้นักศึกษามีความกระตือรือร้นในการเรียน
3
วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาการสรุปเนื้อหา ยกตัวอย่าง ตั้งใจแก้ปัญหาและตอบปัญหาเรื่องเลขยกกำลัง 2.เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเลขยกกำลัง ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขางานเทคนิคยานยนต์
4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
6
จากตาราง พบว่า คะแนนทดสอบสอบก่อนเรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส
จากตาราง พบว่า คะแนนทดสอบสอบก่อนเรียนของนักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 มีค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนหลังทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนมีค่า ∑ D = 73 และ ∑ D2 = 241
7
ผลการวิเคราะห์คะแนนทดสอบก่อนเรียนและการทดสอบหลังเรียน
การประเมินผล N ∑ D ∑ D2 T-test ทดสอบก่อนเรียน 34 73 241 4.2908** ทอสอบหลังเรียน จากตารางแสดงความแตกต่างของคะแนนการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย T-test พบว่า T= มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %
8
สรุปผลการวิจัย ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนจากการทอสอบก่อนเรียนและหลังเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 2 เรื่องเลขยกกำลัง ของนักศึกษาระดับ ปวส.1 สาขางานยานยนต์ พบว่าการทดสอบก่อนเรียนและการทกสอบหลังเรียนมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.1 นอกจากนี้ยังพบว่าการทดสอบก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย ในการทดสอบหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย จากค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานหลังเรียน ได้ตรวจสอบประสิทธิภาพการสอนของครูด้วยค่าสัมประสิทธิ์การกระจาย (C.V.) = 34.79% ซึ่งต้องปรับปรุงประสิทธิภาพทางการสอนอาจต้องลดจำนวนนักศึกษาเพื่อให้การสอนมีประสิทธิภาพและสามารถควบคุมได้มากกว่านี้ ความแตกต่างของคะแนนการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนด้วย T-test พบว่า T= มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 กล่าวได้ว่า ผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียนและหลังเรียนแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่น 99 %
9
จบการนำเสนอ ขอบคุณครับ
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
© 2024 SlidePlayer.in.th Inc.
All rights reserved.